SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 39
เอกสารประกอบการสอน วิชา  427-302 Methods of Social Sciences Research เรื่อง ตัวชี้วัดและมาตราการผันแปรของตัวแปร
1.  ความหมายของ สถิติ 1.1  ข้อมูลสถิติ  หมายถึง ตัวเลขแทนข้อเท็จจริง 1.2  สถิติศาสตร์  หมายถึง ศาสตร์เกี่ยวกับวิธีการที่ใช้ในการศึกษาข้อมูล  / ระเบียบวิธีทางสถิติ ประกอบด้วย  -  วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล  -  การนำเสนอข้อมูล  -  การวิเคราะห์ข้อมูล  -  การตีความหมายข้อมูล
1.3  ค่าสถิติ  หมายถึง ค่าตัวเลขที่คำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง  (Sample Data) 1.4  วิชาสถิติ  หมายถึง วิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีเนื้อหาและรากฐานมาจากวิชาคณิตศาสตร์ และตรรกวิทยา
2.  นิยามศัพท์ 2.1  ประชากร   (Population or Universe)  หมายถึง ส่วนทั้งหมดของทุกหน่วยที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่เราต้องการศึกษา 2.2  กลุ่มตัวอย่าง  (Sample)  หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่ถูกสุ่มหรือเลือกขึ้นมาใช้ในการศึกษาแทนประชากร
2.3  ค่าพารามิเตอร์   (Parameters)  เป็นค่าที่คำนวณได้จากข้อมูลประชากร  (Population Data)  เช่น  , ,   เป็นต้น 2.4  ค่าสถิติ  (Statistic)  เป็นค่าที่คำนวณได้จาก ข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง (Sample Data)  เช่น  X, S.D., r  เป็นต้น
3.1  สถิติเชิงบรรยาย   (Descriptive Statistics) 3.  ประเภทของสถิติ 3.2  สถิติเชิงสรุปอ้างอิง   (Inferential or Inductive Statistics)
มุ่งศึกษาหาคำตอบเชิงตัวเลขเพื่อบรรยายลักษณะ ข้อมูลหรือการแจกแจงข้อมูลเฉพาะของประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างตามข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ โดย ไม่นำไปใช้อธิบายหรือสรุปอ้างอิง ไปยังประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างอื่นๆ  3.1  สถิติเชิงบรรยาย   (Descriptive Statistics)
ประกอบด้วย 3.1.1  การแจกแจงความถี่ 3.1.2  การจัดตำแหน่งเปรียบเทียบ เช่น แสดงความถี่ ร้อยละ สัดส่วน อัตราส่วน เปอร์เซนต์ไทล์ 3.1.3  การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง  3.1.4  การวัดการกระจาย  3.1.5  การวัดการแจกแจง เช่น ความโด่ง ความเบ้ 3.1.6  การวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ข้อควรคำนึงในการเลือกใช้สถิติบรรยาย ต้องคำนึงถึงสเกลการวัดของข้อมูล  (Scale of measurements)  หรือคุณลักษณะพื้นฐานของค่าตัวเลขที่ได้จากการวัด เพื่อเลือกใช้สูตรให้ตรงตามข้อตกลง และการแปลความหมายให้ถูกต้อง
มุ่งศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง  (Sample Data)  เพื่อประมาณ  (estimate)  คาดคะเน  (prediction)  สรุปอ้างอิง  (generalization)  หรือนำสู่การตัดสินใจ  (reaching decision)  ไปยังประชากรเป้าหมาย 3.2  สถิติเชิงสรุปอ้างอิง   (Inferential or Inductive Statistics)
ประกอบด้วย 3.2.1  ทฤษฎีความน่าจะเป็นและการสุ่มตัวอย่าง  (Probability Sampling Techniques) 3.2.2  การประมาณค่าของประชากร  (Estimation) 3.2.3  การทดสอบสมมติฐาน  (Testing of Hypotheses)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
4.1  วางแผนการวิจัย 4.  ขั้นตอนการวิจัย 4.3  เสนอผลการวิจัย 4.2  ดำเนินการวิจัย
1)   สังเกตสภาพปัญหาและกำหนดแนวทางหัวข้อวิจัย 2)   ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเพื่อเขียนโครงร่าง -  กำหนดประเด็นปัญหาการวิจัย -  กำหนดกรอบแนวคิดของการวิจัย 3 )   ตั้งสมมติฐานเพื่อการวิจัย 4)   ออกแบบการวิจัย  (Research Design) -  ออกแบบการสุ่มตัวอย่าง -  ออกแบบเครื่องมือวัดตัวแปร -  ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 4.1  วางแผนการวิจัย
1)   สร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 2 )  เก็บรวบรวมข้อมูล 3)   วิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย 4.2  ดำเนินการวิจัย 1)  สรุปผลการวิจัย 2)  รายงานผลการวิจัย -  เขียนรายงานการวิจัย -  เสนอผลการวิจัย 4.3  เสนอผลการวิจัย
5.1  ช่วยในการวางแผนการสำรวจและการทดลอง 5.2  ช่วยการออกแบบการวิเคราะห์และทำการวิเคราะห์ข้อมูล 5.3  ช่วยการสรุปผลที่น่าเชื่อถือ 5.4  ช่วยในการตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน 5.  ประโยชน์ของสถิติ
6.1  ความหมาย ตัวคงที่  (Constant)   หมายถึง สิ่งที่มีค่าคงตัวแน่นอนตลอดเวลา ตัวแปร   (Variable)   หมายถึง คุณลักษณะร่วมกันของหน่วยที่ได้จากการสังเกต โดยคุณลักษณะ ดังกล่าวมีความผันแปรไปตามหน่วย  (unit)   และเวลา  (time) 6.  ตัวแปร
6.2.1  แบ่งตามความเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน 1)  ตัวแปรอิสระ  (Independent Variable)   หมายถึง ตัวแปรที่เกิดขึ้นก่อนและเป็นเหตุของตัวแปรอื่น 2)  ตัวแปรตาม   (Dependent Variable)   หมายถึง ตัวแปรที่เกิดขึ้นตามมาและถือว่าเป็นผลจากตัวแปรอื่น 6.2  ประเภทของตัวแปร
6.2.2  แบ่งตามการจัดกระทำ 1)  ตัวแปรที่สามารถจัดกระทำได้   (Active Variable)   หมายถึง ตัวแปรที่ผู้วิจัยสามารถดำเนินการให้มีการแปรค่าตามที่ต้องการได้ 2)  ตัวแปรที่ไม่สามารถจัดกระทำได้   (Attribute Variable)   หมายถึง ตัวแปรที่ผู้วิจัยไม่สามารถสร้างลักษณะนั้นขึ้นมาได้ เป็นคุณลักษณะภายในของตัวแปรนั้นอยู่แล้ว เช่น เพศ เชื้อชาติ สีผิว เป็นต้น 6.2  ประเภทของตัวแปร  ( ต่อ )
6.2.3  แบ่งตามภาวะแทรกซ้อน ตัวแปรแทรกซ้อน  (Extraneous Variables)   เป็นตัวแปรอิสระที่ไม่อยู่ในข่ายของการศึกษาแต่มีผลต่อตัวแปรตามที่มุ่งศึกษา แบ่งเป็น 6.2  ประเภทของตัวแปร  ( ต่อ )
1)  ตัวแปรปรับ   (Moderator Variable) 6.2  ประเภทของตัวแปร  ( ต่อ ) ตัวแปรที่มีปฏิสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระ โดยที่ตัวแปรอิสระจะส่งผลต่อตัวแปรตามแตกต่างกันไปตามระดับของตัวแปรปรับ X Y Z
2)  ตัวแปรสอดแทรก   (Intervening Variable) 6.2  ประเภทของตัวแปร  ( ต่อ ) ตัวแปรแทรกเข้ามาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ถ้าตัวแปรสอดแทรกไม่ปรากฏขึ้น ตัวแปรอิสระอาจไม่ส่งผลต่อตัวแปรตามเลย X  Z  Y
3)  ตัวแปรกดดัน   (Suppressor Variable) 6.2  ประเภทของตัวแปร  ( ต่อ ) ตัวแปรที่กดดันให้ตัวแปรอิสระมีผลต่อตัวแปรตาม หากไม่นำตัวแปรกดดันมาศึกษาด้วย จะไม่พบอิทธิพลของตัวแปรอิสระที่มีต่อตัวแปรตาม Z   X Y
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],6.3  มาตราการวัด   (Measurement Scale)
7.   ข้อมูล  7. 1   ความหมาย  7. 2   ประเภท  7. 3   แหล่งที่มาของข้อมูล  7. 4   การประมวลผลข้อมูล  7. 5   คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
7. 1   ความหมายของข้อมูล  ข้อมูล  (Data)   หมายถึง ข้อเท็จจริง  (fact)  เกี่ยวกับเรื่องที่เราสนใจ แบ่งเป็น  1)  ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข  ได้แก่ ค่า จำนวนหรือปริมาณของสิ่งที่เราสนใจ  2)  ข้อเท็จจริงที่ไม่ใช่ตัวเลข  ได้แก่ ลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งที่เราสนใจ
7. 2   ประเภทของข้อมูล  ,[object Object]
7. 2   ประเภทของข้อมูล  ( ต่อ ) 2.  แบ่งตามคุณลักษณะของข้อมูล   2.1  ข้อมูลเชิงปริมาณ  (Quantitative Data)   ข้อมูลที่อยู่ในลักษณะของตัวเลข  2.2  ข้อมูลเชิงคุณภาพ  (Qualitative Data)   ข้อมูลที่บรรยายลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งที่เราสนใจ ไม่อยู่ในลักษณะของตัวเลข
7. 2   ประเภทของข้อมูล  ( ต่อ ) 3.  แบ่งตามความเป็นตัวแทนของข้อมูล   3.1  ข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง  (Sample Data)   ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่าง  3.2  ข้อมูลประชากร  (Population Data)   ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากทุกหน่วยของประชากร ผลที่ได้จึงเป็นค่าที่ถูกต้องแท้จริง
7. 3   แหล่งที่มาของข้อมูล ,[object Object]
7. 3   แหล่งที่มาของข้อมูล  ( ต่อ ) 2.  การตรวจสอบข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ  2.1  ความเหมาะสมที่จะนำมาใช้  2 .2  ความเพียงพอและความครอบคลุม  2.3  ความเชื่อถือได้
7. 4   การประมวลผลข้อมูล ความหมาย  กระบวนการจัดกระทำต่อข้อมูลดิบให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย กระชับ อันจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้หรือเผยแพร่ให้ผู้สนใจได้ รับทราบ
กระบวนการประมวลผลข้อมูล ข้อมูลดิบ สารสนเทศ กระบวนการประมวลผล -  จัดประเภท  -  เรียงลำดับ  -  คำนวณ  -  บันทึกผล  -  สรุปผล
กระบวนการประมวลผลข้อมูล  5  ขั้นตอน 1.  ศึกษาข้อมูลดิบ  (Data Origination)  2.  เตรียมข้อมูล  (Data Input)  3.  จัดกระทำข้อมูล  (Data Manipulation)   -  จัดประเภท  -  เรียงลำดับ  -  คำนวณ  -  บันทึกผล  -  สรุปผล  4.  ได้ผลผลิต  (Data Output)  5.  เก็บรักษาระบบข้อมูล  (Data Storage)
7.5   คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี 1)   ถูกต้องแม่นยำ   (accuracy) 2)  สมบูรณ์ครบถ้วน   (completeness) 3)  กระทัดรัด   (conciseness) 4)  ทันเวลา  (timeliness) 5)  ตรงกับความต้องการของผู้ใช้   (relevancy)
8.  ระเบียบวิธีทางสถิติ   8. 1   การเก็บรวบรวมข้อมูล  (Collection of data) 8.2  การจัดระบบนำเสนอข้อมูล  (Organization of data) 8.3  การวิเคราะห์ข้อมูล  (Analysis of data) 8.4  การตีความหมายข้อมูล  (Interpretation of data)
8 .1  การเก็บรวบรวมข้อมูล   เป็นการเก็บรวบรวมผลที่ได้จากการวัดหรือการนับ โดยอาจจะแจงนับเองหรือเก็บรวบรวมจากที่ผู้อื่นบันทึกไว้แล้ว ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงมาจาก  2  แหล่ง ได้แก่ -  แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ   -  แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ
8.2  การจัดระบบและนำเสนอข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมมาจัดระเบียบเป็นกลุ่มหรือเป็นพวก เพื่อสะดวกแก่การนำเสนอข้อมูลหรือการวิเคราะห์ข้อมูล วิธีนำเสนอข้อมูลทำได้ดังนี้  -  นำเสนอแบบข้อความ  -  นำเสนอแบบตาราง  -  นำเสนอแบบกราฟแท่ง   (Bar chart)  -  นำเสนอแบบกราฟเส้น   (Broken-line graph)  -  นำเสนอแบบกราฟวงกลม   (Pie chart)
8 .3  การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมมาวิเคราะห์ เพื่อใช้ตอบจุดประสงค์หรือสมมติฐานในการศึกษา 8.4   การตีความหมายข้อมูล เป็นการนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาแปลผลหรือ ตีความหมาย เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
Chapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลChapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลsaisuneesaibit
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้างเทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้างTwatchai Tangutairuang
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เพ็ญพร พิเภก
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์ อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์ บังอร บัวพิทักษ์
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัยNitinop Tongwassanasong
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1wilailukseree
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพAimy Blythe
 

Was ist angesagt? (20)

วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Chapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลChapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูล
 
4
44
4
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้างเทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
 
Epi info unit08
Epi info unit08Epi info unit08
Epi info unit08
 
My topic
My topicMy topic
My topic
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์ อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัดSpss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
 

Ähnlich wie Week 5 scale_and_measurement

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattanan Rassameepak
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือRut' Np
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysiskhuwawa2513
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
Mis ความหมาย
Mis ความหมายMis ความหมาย
Mis ความหมายNiwat Dawloy
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 

Ähnlich wie Week 5 scale_and_measurement (20)

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
test
testtest
test
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
Research10 sample selection
Research10 sample selectionResearch10 sample selection
Research10 sample selection
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
SA Chapter 5
SA Chapter 5SA Chapter 5
SA Chapter 5
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
Mis ความหมาย
Mis ความหมายMis ความหมาย
Mis ความหมาย
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 

Mehr von Sani Satjachaliao

สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssSani Satjachaliao
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10Sani Satjachaliao
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11Sani Satjachaliao
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Sani Satjachaliao
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysisSani Satjachaliao
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysisSani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาSani Satjachaliao
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkSani Satjachaliao
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_reportSani Satjachaliao
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Sani Satjachaliao
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsSani Satjachaliao
 

Mehr von Sani Satjachaliao (20)

สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
 
Week 9 research_design
Week 9 research_designWeek 9 research_design
Week 9 research_design
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
Week 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_frameworkWeek 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_framework
 
Week 6 hypothesis
Week 6 hypothesisWeek 6 hypothesis
Week 6 hypothesis
 
Week 4 variable
Week 4 variableWeek 4 variable
Week 4 variable
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methods
 
Research4
Research4Research4
Research4
 
Research3
Research3Research3
Research3
 
Research2
Research2Research2
Research2
 
Week 11 collecting_data
Week 11 collecting_dataWeek 11 collecting_data
Week 11 collecting_data
 

Week 5 scale_and_measurement

  • 1. เอกสารประกอบการสอน วิชา 427-302 Methods of Social Sciences Research เรื่อง ตัวชี้วัดและมาตราการผันแปรของตัวแปร
  • 2. 1. ความหมายของ สถิติ 1.1 ข้อมูลสถิติ หมายถึง ตัวเลขแทนข้อเท็จจริง 1.2 สถิติศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์เกี่ยวกับวิธีการที่ใช้ในการศึกษาข้อมูล / ระเบียบวิธีทางสถิติ ประกอบด้วย - วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล - การนำเสนอข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูล - การตีความหมายข้อมูล
  • 3. 1.3 ค่าสถิติ หมายถึง ค่าตัวเลขที่คำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง (Sample Data) 1.4 วิชาสถิติ หมายถึง วิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีเนื้อหาและรากฐานมาจากวิชาคณิตศาสตร์ และตรรกวิทยา
  • 4. 2. นิยามศัพท์ 2.1 ประชากร (Population or Universe) หมายถึง ส่วนทั้งหมดของทุกหน่วยที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่เราต้องการศึกษา 2.2 กลุ่มตัวอย่าง (Sample) หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่ถูกสุ่มหรือเลือกขึ้นมาใช้ในการศึกษาแทนประชากร
  • 5. 2.3 ค่าพารามิเตอร์ (Parameters) เป็นค่าที่คำนวณได้จากข้อมูลประชากร (Population Data) เช่น  , ,  เป็นต้น 2.4 ค่าสถิติ (Statistic) เป็นค่าที่คำนวณได้จาก ข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง (Sample Data) เช่น X, S.D., r เป็นต้น
  • 6. 3.1 สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) 3. ประเภทของสถิติ 3.2 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง (Inferential or Inductive Statistics)
  • 7. มุ่งศึกษาหาคำตอบเชิงตัวเลขเพื่อบรรยายลักษณะ ข้อมูลหรือการแจกแจงข้อมูลเฉพาะของประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างตามข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ โดย ไม่นำไปใช้อธิบายหรือสรุปอ้างอิง ไปยังประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างอื่นๆ 3.1 สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics)
  • 8. ประกอบด้วย 3.1.1 การแจกแจงความถี่ 3.1.2 การจัดตำแหน่งเปรียบเทียบ เช่น แสดงความถี่ ร้อยละ สัดส่วน อัตราส่วน เปอร์เซนต์ไทล์ 3.1.3 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3.1.4 การวัดการกระจาย 3.1.5 การวัดการแจกแจง เช่น ความโด่ง ความเบ้ 3.1.6 การวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
  • 9. ข้อควรคำนึงในการเลือกใช้สถิติบรรยาย ต้องคำนึงถึงสเกลการวัดของข้อมูล (Scale of measurements) หรือคุณลักษณะพื้นฐานของค่าตัวเลขที่ได้จากการวัด เพื่อเลือกใช้สูตรให้ตรงตามข้อตกลง และการแปลความหมายให้ถูกต้อง
  • 10. มุ่งศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง (Sample Data) เพื่อประมาณ (estimate) คาดคะเน (prediction) สรุปอ้างอิง (generalization) หรือนำสู่การตัดสินใจ (reaching decision) ไปยังประชากรเป้าหมาย 3.2 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง (Inferential or Inductive Statistics)
  • 11. ประกอบด้วย 3.2.1 ทฤษฎีความน่าจะเป็นและการสุ่มตัวอย่าง (Probability Sampling Techniques) 3.2.2 การประมาณค่าของประชากร (Estimation) 3.2.3 การทดสอบสมมติฐาน (Testing of Hypotheses)
  • 12.
  • 13. 4.1 วางแผนการวิจัย 4. ขั้นตอนการวิจัย 4.3 เสนอผลการวิจัย 4.2 ดำเนินการวิจัย
  • 14. 1) สังเกตสภาพปัญหาและกำหนดแนวทางหัวข้อวิจัย 2) ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเพื่อเขียนโครงร่าง - กำหนดประเด็นปัญหาการวิจัย - กำหนดกรอบแนวคิดของการวิจัย 3 ) ตั้งสมมติฐานเพื่อการวิจัย 4) ออกแบบการวิจัย (Research Design) - ออกแบบการสุ่มตัวอย่าง - ออกแบบเครื่องมือวัดตัวแปร - ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 4.1 วางแผนการวิจัย
  • 15. 1) สร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 2 ) เก็บรวบรวมข้อมูล 3) วิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย 4.2 ดำเนินการวิจัย 1) สรุปผลการวิจัย 2) รายงานผลการวิจัย - เขียนรายงานการวิจัย - เสนอผลการวิจัย 4.3 เสนอผลการวิจัย
  • 16. 5.1 ช่วยในการวางแผนการสำรวจและการทดลอง 5.2 ช่วยการออกแบบการวิเคราะห์และทำการวิเคราะห์ข้อมูล 5.3 ช่วยการสรุปผลที่น่าเชื่อถือ 5.4 ช่วยในการตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน 5. ประโยชน์ของสถิติ
  • 17. 6.1 ความหมาย ตัวคงที่ (Constant) หมายถึง สิ่งที่มีค่าคงตัวแน่นอนตลอดเวลา ตัวแปร (Variable) หมายถึง คุณลักษณะร่วมกันของหน่วยที่ได้จากการสังเกต โดยคุณลักษณะ ดังกล่าวมีความผันแปรไปตามหน่วย (unit) และเวลา (time) 6. ตัวแปร
  • 18. 6.2.1 แบ่งตามความเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน 1) ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) หมายถึง ตัวแปรที่เกิดขึ้นก่อนและเป็นเหตุของตัวแปรอื่น 2) ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง ตัวแปรที่เกิดขึ้นตามมาและถือว่าเป็นผลจากตัวแปรอื่น 6.2 ประเภทของตัวแปร
  • 19. 6.2.2 แบ่งตามการจัดกระทำ 1) ตัวแปรที่สามารถจัดกระทำได้ (Active Variable) หมายถึง ตัวแปรที่ผู้วิจัยสามารถดำเนินการให้มีการแปรค่าตามที่ต้องการได้ 2) ตัวแปรที่ไม่สามารถจัดกระทำได้ (Attribute Variable) หมายถึง ตัวแปรที่ผู้วิจัยไม่สามารถสร้างลักษณะนั้นขึ้นมาได้ เป็นคุณลักษณะภายในของตัวแปรนั้นอยู่แล้ว เช่น เพศ เชื้อชาติ สีผิว เป็นต้น 6.2 ประเภทของตัวแปร ( ต่อ )
  • 20. 6.2.3 แบ่งตามภาวะแทรกซ้อน ตัวแปรแทรกซ้อน (Extraneous Variables) เป็นตัวแปรอิสระที่ไม่อยู่ในข่ายของการศึกษาแต่มีผลต่อตัวแปรตามที่มุ่งศึกษา แบ่งเป็น 6.2 ประเภทของตัวแปร ( ต่อ )
  • 21. 1) ตัวแปรปรับ (Moderator Variable) 6.2 ประเภทของตัวแปร ( ต่อ ) ตัวแปรที่มีปฏิสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระ โดยที่ตัวแปรอิสระจะส่งผลต่อตัวแปรตามแตกต่างกันไปตามระดับของตัวแปรปรับ X Y Z
  • 22. 2) ตัวแปรสอดแทรก (Intervening Variable) 6.2 ประเภทของตัวแปร ( ต่อ ) ตัวแปรแทรกเข้ามาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ถ้าตัวแปรสอดแทรกไม่ปรากฏขึ้น ตัวแปรอิสระอาจไม่ส่งผลต่อตัวแปรตามเลย X Z Y
  • 23. 3) ตัวแปรกดดัน (Suppressor Variable) 6.2 ประเภทของตัวแปร ( ต่อ ) ตัวแปรที่กดดันให้ตัวแปรอิสระมีผลต่อตัวแปรตาม หากไม่นำตัวแปรกดดันมาศึกษาด้วย จะไม่พบอิทธิพลของตัวแปรอิสระที่มีต่อตัวแปรตาม Z X Y
  • 24.
  • 25. 7. ข้อมูล 7. 1 ความหมาย 7. 2 ประเภท 7. 3 แหล่งที่มาของข้อมูล 7. 4 การประมวลผลข้อมูล 7. 5 คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
  • 26. 7. 1 ความหมายของข้อมูล ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริง (fact) เกี่ยวกับเรื่องที่เราสนใจ แบ่งเป็น 1) ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ได้แก่ ค่า จำนวนหรือปริมาณของสิ่งที่เราสนใจ 2) ข้อเท็จจริงที่ไม่ใช่ตัวเลข ได้แก่ ลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งที่เราสนใจ
  • 27.
  • 28. 7. 2 ประเภทของข้อมูล ( ต่อ ) 2. แบ่งตามคุณลักษณะของข้อมูล 2.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) ข้อมูลที่อยู่ในลักษณะของตัวเลข 2.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) ข้อมูลที่บรรยายลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งที่เราสนใจ ไม่อยู่ในลักษณะของตัวเลข
  • 29. 7. 2 ประเภทของข้อมูล ( ต่อ ) 3. แบ่งตามความเป็นตัวแทนของข้อมูล 3.1 ข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง (Sample Data) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่าง 3.2 ข้อมูลประชากร (Population Data) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากทุกหน่วยของประชากร ผลที่ได้จึงเป็นค่าที่ถูกต้องแท้จริง
  • 30.
  • 31. 7. 3 แหล่งที่มาของข้อมูล ( ต่อ ) 2. การตรวจสอบข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ 2.1 ความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ 2 .2 ความเพียงพอและความครอบคลุม 2.3 ความเชื่อถือได้
  • 32. 7. 4 การประมวลผลข้อมูล ความหมาย กระบวนการจัดกระทำต่อข้อมูลดิบให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย กระชับ อันจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้หรือเผยแพร่ให้ผู้สนใจได้ รับทราบ
  • 33. กระบวนการประมวลผลข้อมูล ข้อมูลดิบ สารสนเทศ กระบวนการประมวลผล - จัดประเภท - เรียงลำดับ - คำนวณ - บันทึกผล - สรุปผล
  • 34. กระบวนการประมวลผลข้อมูล 5 ขั้นตอน 1. ศึกษาข้อมูลดิบ (Data Origination) 2. เตรียมข้อมูล (Data Input) 3. จัดกระทำข้อมูล (Data Manipulation) - จัดประเภท - เรียงลำดับ - คำนวณ - บันทึกผล - สรุปผล 4. ได้ผลผลิต (Data Output) 5. เก็บรักษาระบบข้อมูล (Data Storage)
  • 35. 7.5 คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี 1) ถูกต้องแม่นยำ (accuracy) 2) สมบูรณ์ครบถ้วน (completeness) 3) กระทัดรัด (conciseness) 4) ทันเวลา (timeliness) 5) ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (relevancy)
  • 36. 8. ระเบียบวิธีทางสถิติ 8. 1 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data) 8.2 การจัดระบบนำเสนอข้อมูล (Organization of data) 8.3 การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data) 8.4 การตีความหมายข้อมูล (Interpretation of data)
  • 37. 8 .1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมผลที่ได้จากการวัดหรือการนับ โดยอาจจะแจงนับเองหรือเก็บรวบรวมจากที่ผู้อื่นบันทึกไว้แล้ว ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงมาจาก 2 แหล่ง ได้แก่ - แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ - แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ
  • 38. 8.2 การจัดระบบและนำเสนอข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมมาจัดระเบียบเป็นกลุ่มหรือเป็นพวก เพื่อสะดวกแก่การนำเสนอข้อมูลหรือการวิเคราะห์ข้อมูล วิธีนำเสนอข้อมูลทำได้ดังนี้ - นำเสนอแบบข้อความ - นำเสนอแบบตาราง - นำเสนอแบบกราฟแท่ง (Bar chart) - นำเสนอแบบกราฟเส้น (Broken-line graph) - นำเสนอแบบกราฟวงกลม (Pie chart)
  • 39. 8 .3 การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมมาวิเคราะห์ เพื่อใช้ตอบจุดประสงค์หรือสมมติฐานในการศึกษา 8.4 การตีความหมายข้อมูล เป็นการนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาแปลผลหรือ ตีความหมาย เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด