SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 58
ตอนที่ ١
                     ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
๑. ข้ อ มู ล ทั ่ ว ไป
   ๑.๑) ชื่อ สถานศึกษา โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ ตั้งอยู่เลขที่ - หมู่ที่ 6
หมู่บ้านซ่อมดู่ ถนน -                 ตำาบลดงหม้อทอง อำาเภอบ้านม่วง
จังหวัดสกลนคร รหัสไปรษณีย์ ๔๗๑๔๐ โทรศัพท์ - และ
โทรสาร        - e-mail                -              Website
-
   ๑.๒) สังกัด         ( / ) สพฐ.          ( ) สช. ( ) กทม. (            )
มท. ( ) อื่นๆ ระบุ...................
   ๑.๓) เขตพื้นที่การศึกษา สกลนคร เขต 3
   ๑.๔) เปิดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาลปีที่ ๑                 ถึงระดับ ประถม
ศึกษาปีที่ ๖
   ๑.๕) เขตพื้นที่บริการการศึกษา (ระบุ)..โรงเรียนบ้านโคกถาวร
            โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ รับผิดชอบจัดการศึกษาในพื้นที่เขตบริการ
1 หมู่บ้าน ดังนี้
             (๑) หมู่บ้านซ่อมดู่ หมู่ที่ ๖ ตำาบลดงหม้อทอง อำาเภอ
บ้านม่วง จังหวัดสกลนคร
๒. ข้ อ มู ล เกี ่ ย วกั บ การบริ ห ารสถานศึ ก ษา
   ๒.๑) ชื่อ-สกุลผู้บริหาร นายสมเดช สุขสาลี วุฒิการศึกษาสูงสุด
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (คม.) สาขา การบริหารการศึกษา ดำารง
ตำาแหน่งในโรงเรียนนี้ตั้งแต่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน
      ๒.๒) ผู้ช่วยผู้บริหาร(ที่ได้รับแต่งตั้ง)                 -    คน
      ๒.๓) ประวัติ คำาขวัญ
                         ประวั ต ิ โ รงเรี ย นบ้ า นซ่ อ มดู ่
       โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ จัดตั้งขึ้น เมื่อเดือน พฤษภาคม ๒๕๑๒ ตัง       ้
งอยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้านซ่อมดู่             หมู่ท6 ตำาบลดงหม้อทอง อำาเภอ
                                                  ี่
บ้านม่วง จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ทั้งหมด 59 ไร่ 3 งาน 65 ตารางวา
นายเทิดพงษ์ อุทัยสาง หัวหน้ากิ่งอำาเภอบ้านม่วงและชาวบ้านได้ร่วม
กันสร้างอาคารชั่วคราวเป็นที่เรียน ขนาด 6x 12 เมตร หลังคามุง
สังกะสีพื้นไม้กระดานสูง ไม่มีฝา จำานวนนักเรียน 50 คน ข้าราชการ
ครู จำานวน 2 คน คือ นายฝน ชาบรรทม รักษาการในตำาแหน่งครู
ใหญ่ เปิดทำาการสอนตั้งแต่ชั้น ป. 1 ถึง ป. 4
       พ.ศ. 2514 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ ป. 001 (
สมทบ ) ในจำานวนเงิน 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน ) ชาวบ้านหา
ไม้ยกโครงมุงหลังคา ในวงเงิน 25,000 บาท ( สองหมื่นห้าพันบาทถ้วน
) ขนาด 2 ห้องเรียน 6x 18 เมตร ใช้เป็นอาคารเรียนจนถึงปัจจุบัน
2
      พ.ศ. 2518 ได้รับงบประมาณ สร้างบ้านพักครู 1 หลัง ในวงเงิน
40,000 บาท ( สี่หมื่นบาทถ้วน )
      พ.ศ.2523 ได้รับงบประมาณ สร้างอาคราเรียนแบบ สปช. 102
จำานวน 1 หลัง มี 2 ห้องเรียนเป็นอาคารเรียนคอนกรีตเสริมเหล็กชั้น
เดียว
      พ.ศ. 2524 ได้รับงบประมาณ สร้างบ้านพักครูแบบองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด 1 หลัง 2 ห้องนอน ราคาประมาณ 150,000 บาท (หนึ่ง
แสนห้าหมื่นบาทถ้วน ) และได้รับงบประมาณสร้างส้วมแบบ 401
ขนาด 4 ที่นั่ง จำานวน 1 หลัง ในวงเงิน 12,000 ( หนึ่งหมื่นสองพัน
บาทถ้วน )


      8 มิถุนายน 2527 ได้รับบรรจุแต่งตั้งข้าราชารครู จำานวน 3
อัตรา คือ น.ส. มลรัตน์ เสถียรเขต อ.1 รับ 3 น.ส. พิสมัย งศ์บ้านดู่
ตำาแหน่ง อ. 1 ระดับ 3 และนายบุญมี ภมร ตำาแหน่ง ครู 2 ระดับ 2
      13 พฤษภาคม 2528 ได้รับย้ายข้าราชการครู มา 1 อัตรา คือนาย
สนิท โพธิราช ตำาแหน่ง อ.1 ระดับ 3
      17 มิถุนายน 2528 สปจ . สกลนคร ได้แต่งตั้งนายประมูล
ฝาดสนศรี มาดำารงตำาแหน่งครูใหญ่ ระดับ 3 แทนนายสุริยนต์ ศรี
สถาน
      25 ธันวาคม 2530 โรงเรียนได้รับเข้าสู่โครงการ กศ .พช. ได้รับ
งบประมาณ 10,000 บาท จัดซือวัสดุ 6,000 บาท ซื้อครุภัณฑ์
                              ้
4,000 บาท
      15 กันยายน 2530 ได้รับงบประมาณ สร้างอาคารอเนกประสงค์
แบบ สปช. 202/26 จำานวน 1 หลัง ราคา 200,000 บาท
      20 ตุลาคม 2530 คณะครูกรรมการศึกษา ได้จัดทำาประตูทาง
เข้าหน้าโรงเรียน ราคา 3,500 บาท โดยไม่ใช้จ่ายเงินงบประมาณ
ของทางราชการแต่อย่างใด
      13 พฤษภาคม 2531 ได้รับงบประมาณบ่อเลี้ยงปลา จำานวน 1
บ่อ เป็นเงิน 100,000 บาท
      15 มิถุนายน 2531       ได้รับงบประมาณจาก สปช . สร้าง
สนามฟุตบอล แบบ ฟ. 3 จำานวน 1 สนาม ในวงเงิน 100,000 บาท
      28 กันยายน 2532 ได้รับการปักเสาคอนกรีตเดินสายไฟฟ้า
และติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ภายในโรงเรียนจากงบประมาณ สปจ.
สกลนคร
3
       1 พฤษภาคม 2534 ได้รับการบรรจุแต่งตั้ง ลูกจ้างประจำา
ตำาแหน่งนักการภารโรง จำานวน 1 อัตรา ตำาแหน่ง เลขที่ 569 อัตรา
ค่าจ้าง 2,350 บาท
       7 กรกฎาคม 2535 ได้รับมอบห้องสมุดโรงเรียน 1 ห้อง ขนาด
3X 6 เมตร ราคาประมาณ 41,000 บาท โดยไม่ใช้จ่ายงบประมาณ
ของทางราชการแต่อย่างใด
       พ.ศ. 2540 คณะครูนักเรียน ผูปกครองชาวบ้านซ่อมดู่ ได้ร่วม
                                     ้
กับบริจาคทรัพย์เพื่อสร้างโรงอาหาร ขนาดกว้าง 0.45 เมตร ยาว 15
เมตร โดยไม่ใช้จ่ายงบประมาณของทางราชการ มูล 48,000 บาท
       1 มิถุนายน 2542 โรงเรียนได้รับการบรรจุแต่งตั้งดำารงตำาแหน่ง
ผู้บริหาร คือ นายปัญญา คนงาม มาแทนนายประมูล ฝาดแสนศรี
ที่ย้ายไป
       3 มิถุนายน 2542 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากโครงการช่วย
เหลือภาครัฐเพท่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ( มิยาซาวา) สร้างอาคารเรียนแบบ
สปช. 102/26 จำานวน 1 หลัง 3 ห้องเรียน งบประมาณ 815,937
บาท
       เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2545 โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ ได้แยกออก
กลุ่มโรงเรียนคำายาง มาขึ้นกลับกลุ่มโรงเรียนดงหม้อทอง ตามระเบียบ
คณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ ว่าด้วยกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา
พ.ศ. 2544 เพื่อให้สอดคล้อง กับการกระจายอำานาจตามพระราช
บัญญัติกำาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำานาจให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ตามหนังสือสั่งการ ที่ ศธ 1160.12/102 ลงวัน
ที่ 17 มกราคม 2545


      ปัจจุบันโรงเรียนบ้านซ่อมดู่ จัดการเรียนการสอน ตั้งแต่ ระดับชั้น
อนุบาล 1-2 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่1 - 6 ขึนตรงต่อ สำานักงาน
                                                 ้
เขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3

                       ทำ า เนี ย บผู ้ บ ริ ห าร
   ๑. นายฝน ชาบรรทม              ๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๒ - ๑
พฤษภาคม   ๒๕๑๓
   ๒. นายสุนทร ถาบุตร           ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๓ - ๑
พฤษภาคม    ๒๕๑๕
   ๓. นายประวัติ วรสาร           ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๕ - ๑
พฤษภาคม    ๒๕๑๗
4
     ๔. นายพิรัตยน์   หลวงราช ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๗ - ๑
พฤษภาคม    ๒๕๒๓
     ๕. นายสุริยนต์   ศรีสถาน ๑ พฤษภาคม ๒๕๒๓ - ๑๐
พฤษภาคม    ๒๕๒๘
     ๖. นายประมูล      ฝาดแสนศรี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๒๘ - ๑๗
ธันวาคม ๒๕๓๕
     ๗ นายประมูล      ฝาดแสนศรี๑๗ ธันวาคม ๒๕๓๕ - ๓๐
เมษายน ๒๕๔๒
     ๘. นายปัญญา        คนงาม     ๑ มิถุนายน ๒๕๔๒ - ๓๐
พฤษภาคม ๒๕๔๘
     ๙. นายกรนิตต์     กวานดา ๑๕ มิถุนายน ๒๕๔๘ - ๕
สิงหาคม   ๒๕๕๑
     ๑๐ นายสมเดช      สุขสาลี ๒๓ มกราคม ๒๕๕๑ - ปัจจุบัน




                          ตอนที ่ ٢
                      การบริ ห ารโรงเรี ย น

    ١. วิ ส ั ย ทั ศ น์
            โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ จัดการศึกษาให้นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มี
ความรู้ มีคุณธรรม
5

     ٢. พั น ธกิ จ
           1. พัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามหลักสูตร
           2. จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญและจัดให้มี
              แหล่งการเรียนรู้อย่างพอเพียง
           3. ส่งเสริมให้ครูได้ศึกษาค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษา
           4. จัดให้มีสอ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
                       ื่
           5. อบรมดูแลนักเรียนเสมือนลูก

     ٣. เป้ า ประสงค์
           นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความรู้และมีคุณธรรม

     ٤ คำ า ขวั ญ ของโรงเรี ย น
                        “ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม”

     ٥. ปรั ช ญาของโรงเรี ย น
               สุวิชาโน ภวำ โหติ : ผู้มีความรู้ดี เป็นผู้เจริญ

     ٦. หลั ก สู ต ร
                 โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 25 ٥١ และหลักสูตรสถานศึกษา พ.ศ. 25 ٥٣
     ٧. การบริ ห ารจั ด การ
                 โรงเรียนบริหารจัดการโดยเน้นการมีส่วนร่วมของ
บุคลากรในการดำาเนินงานทั้งด้าน               การวางแผนการดำาเนิน
งาน การประเมินผลและการปรับปรุงแก้ไขโดยมีโครงสร้างการบริหาร
งานที่ชัดเจน

     ٨. การพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู
              โรงเรียนมีการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง โดยการ
จัดประชุมอบรม การส่งครูเข้าร่วมประชุมอบรม การศึกษาดูงานตลอด
จนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

     ٨. ความร่ ว มมื อ จากชุ ม ชน
          - สภาพชุมชนโดยรอบโรงเรียน มีลักษณะเป็นทุ่งนาและป่าไม้
มีประชากรประมาณ 600 คน อาชีพหลักของชุมชน คือเกษตรกรรม
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณีวัฒนธรรมที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป
ได้แก่ ประเพณีบุญผาเวส บุญบั้งไป บุญเดือน 3 บุญเข้าพรรษา ออก
พรรษา
6
             - ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา
              - ฐานะทางเศรษฐกิจของชุมชน มีฐานะยากจน รายได้เฉลี่ย
  ต่อปี 9,000 บาท/ปี
             - โอกาสและข้อจำากัดของโรงเรียน อยู่ใกล้วัดและชุมชน ได้
  รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำาบลดงหม้อทองได้แก่อาหาร
  กลางวัน อาหารเสริมนม และสนับสนุนการจัดกิจกรรมในวันเด็ก ส่วนผู้
  ปกครองนักเรียนและชุมชนโรงเรียนมีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนเป็น
  อย่างมาก ชุมชนมีการส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียน ด้วยดีมาตลอด ทั้ง
  ด้านงบประมาณ และความร่วมมือช่วยเหลือโรงเรียนทุกๆด้าน
                - ข้อจำากัดของโรงเรียนมีหลายอย่าง เช่น แหล่งเรียนรู้ไม่พอ
  เพียง บุคลากรขาดความชำานาญเฉพาะด้านสื่อเทคโนโลยี และสื่อเทคโนโลยีไม่
                 เพียงพอในการจัดการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์




               แผนภู ม ิ โ ครงสร้ า งการบริ ห ารโรงเรี ย น

                              โรงเรี ย น
                             บ้ า นซ่ อ มดู ่
                              นายสมเดช
คณะกรรมการการ                                       เครือข่ายสถาน
                              สุขสาลี
ศึกษาขั้นพื้นฐาน
                              ผู้อำานวยการ
7




 การบริหารงาน       การบริหารงานงบ         การบริหารงา    การบริหารงาน
 วิชาการ           ประมาณ                   นบุคล            ทั่วไป

นายพิทักษ์ แสน     น.ส.นำ้าอ้อย ใน        นายสมเดช        นายศักดินนท์
พินิจ              เวียง              สุขสาลี             ภาคี
                                          นางประเวศ

1.งานพัฒนา         1.แผนปฏิบัติงาน    1.การวางแผน        1.แนะแนวการ
หลักสูตร           แผนงาน             อัตรากำาลัง        ศึกษา
2.งานพัฒนากา          งบประมาณ        2.การสรรหา         2.สำามะโนประชากร
ระบวนการเรียนรู้   2.การจัดสรรงบ      บรรจุ แต่งตั้ง     ผู้เรียน
3.การวัดผล         ประมาณ             3.งานเสริมสร้าง    3.การศึกษาภาค
ประเมินผลและ       3.ตรวจสอบติดตาม    ประสิทธิภาพบุค     บังคับการรับ
เทียบโอน           ประเมิน            คลากร              นักเรียน
4.การวิจัยเพื่อ        ผลรายงานงบ     4.งานวินัย/ส่ง     4.ส่งเสริมบริการ
การพัฒนา           4.บริหารการเงิน    เสริมวินัย         ความร่วมมือ
วิชาการ            5.บริหารบัญชี      5.ส่งเสริมเชิดชู   5.งานสารบรรณ
5.การพัฒนาสื่อ     6.บริหารพัสดุและ   มาตรฐานและ         6.งาน
นวัตกรรม           สินทรัพย์          จรรยา              ประชาสัมพันธ์
6.การพัฒนา         7.ระบบการควบคุม    6.อื่นๆ            7.ข้อมูลสารสนเทศ
แหล่งเรียนรู้      ภายใน                                 8.งานกิจการ
7.การนิเทศ         8.ประเมินผล                           นักเรียน
ติดตามผล           รายงานผลตาม                           9.งานอาคารสถาน
8.การพัฒนา             นโยบาย                            ที่
ระบบประกัน         9.อื่นๆ                               10.ติดต่อประสาร
        นโยบายสำ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน
                          ปี ง บประมาณ 2553
             1. ยกระดับคุณภาพการศึกษาของคนไทยอย่างบูรณาการและ
        สอดคล้องกันตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษาทั้งในและนอกระบบการ
        ศึกษา
             2. การเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต
             3. พัฒนาหลักสูตรปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูให้มีคุณภาพ
        และคุณธรรมอย่างทั่วถึง ต่อเนื่อง และก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในยุค
        โลกาภิวัติน์
8
      4. ส่งเสริมการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการเรียน การสอนและการเรียนรู้อย่างจริงจัง รวมทั้งการ
เข้าถึงระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงอย่างกว้างขวาง
      5. ดำาเนินการให้บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา 12 ปี
โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และให้ครอบคลุมผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือ
ทุพพลภาพ หรืออยู่ในภาวะลำาบากมากขึ้น
      6. เพิ่มโอกาสให้แก่เยาวชนในการศึกษาต่อผ่านกองทุนให้กู้ยืมที่
ผูกพันกับรายได้ในอนาคต และเชื่อมโยงกับนโยบายการผลิตบัณฑิตที่
ตอบสนองความต้องการของบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถของ
ประเทศ
      7. สนับสนุนการให้ทุนการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
สำาหรับผู้ด้อยโอกาส
      8. สนับสนุนการผลิตและพัฒนากำาลังคนให้สอดรับกับการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตและการบริการ
      9. เร่งผลิตกำาลังคนระดับอาชีวะให้มีคุณภาพสนับสนุนความ
สามารถในการแข่งขันของประเทศพร้อมทั้งพัฒนารับรองคุณวุฒิ
วิชาชีพตามระบบมาตรฐานสากล
      10. ขยายบทบาทของระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านองค์กร
ต่าง ๆ


กลยุ ท ธ์ ส ำ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน
                       ปี ง บประมาณ 2553
     1. พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ
          ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของนักเรียนที่มีปัญหาการอ่านไม่ออก
เขียนไม่ได้ลดลง
        ตัวชี้วัดที่ 2. ร้อยละของนักเรียนที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามหลักสูตรการศึกษา
                   ขั้นพื้นฐาน
        ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มวิชา
หลักได้แก่ วิทย์ คณิต
                   ภาษาไทย สังคมศึกษาและภาษาต่างประเทศเพิ่มขึ้น
                   3.1ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
                       วิทยาศาสตร์ ม.3 เพิ่มขึ้น
                   3.2ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
                       ม.3 เพิ่มขึ้น
9
                      3.3ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย
                         ม.3 เพิ่มขึ้น
                      3.4ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา
                         ม.3 เพิ่มขึ้น
                      3.5ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษา
                         อังกฤษ ม.3 เพิ่มขึ้น
           ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนให้
พัฒนาคุณภาพ
           ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของสถานศึกษาสังกัดสำานักบริหารงานการ
ศึกษาพิเศษที่ได้รับการ
                      สนับสนุนให้ พัฒนาคุณภาพ (169 แห่ง)
      2. ปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรม ความสำ า นึ ก ในความเป็ น ชาติ ไ ทย
และวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ตามปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
           ตัวชีวัดที่ 6 ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาให้มี
จิตสำานึก ความเป็นไทย
           ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการส่งเสริมและมี
การจัดกิจกรรมด้าน
                      ดนตรี นาฏศิลป์ไทย/พื้นบ้าน กีฬาไทย/พื้นบ้าน
           ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของโรงเรียนที่จัดกิจกรรมเสริมสร้าง
คุณธรรม
           ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการดำารง
ชีวิตที่มีคุณภาพตาม
                      หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
      3. ขยายโอกาสทางการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน
           ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของนักเรียนออกกลางคันลดลง
                      10.1ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาออกกลางคันลด
                          ลง
                      10.2ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นออกกลาง
                          คันลดลง
                      10.3ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายออก
                          กลางคันลดลง
                      10.4ร้อยละของนักเรียนการศึกษาพิเศษออกกลางคัน
                          ลดลง
           ตัวชี้วัดที่ 11 จำานวนเด็กพิการที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
      4. พั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาทั ้ ง ระบบ
           ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาตามระดับผลการ
ประเมินสมรรถนะ
10
        ตัวชี้วัดที่ 13 ร้อยละของครูมีผลการประเมินระดับสูงได้รับการ
พัฒนาตามหลักสูตร
                     เป็น Master Teacher และได้รับการศึกษาต่อปริญญา
โท
        ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาตามระดับ
สมรรถนะตามกลุ่มสาระ
                  การเรียนรู้
        ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาโดยระบบ E-
Training
        ตัวชี้วัดที่ 16 ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษามีความ
พึงพอใจในความมั่นคง
                  ของการประกอบอาชีพ
        ตัวชี้วัดที่ 17 ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพและ
สามารถปฏิบัติงานได้
                  ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่กำาหนด
        ตัวชี้วัดที่ 18 ร้อยละของศึกษานิเทศก์ได้รับการพัฒนาให้มี
คุณภาพและสามารถ

                     ปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่กำาหนด
           ตัวชี้วัดที่ 19 ร้อยละของโรงเรียนที่ครูสามารถกลับไปปฏิบัติ
หน้าที่การสอนเพิ่มขึ้น
       5. พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การศึ ก ษา
           ตัวชี้วัดที่ 20 ร้อยละของสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองได้รับ
การสนับสนุนเพื่อ
                     พัฒนาคุณภาพ
           ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการนิเทศ ติดตาม
ช่วยเหลือการดำาเนินงาน
                     จาก สพท.
       6. พั ฒ นาการศึ ก ษาในเขตพั ฒ นาพิ เ ศษเฉพาะกิ จ จั ง หวั ด
ชายแดนภาคใต้ และพื ้ น ที ่ ย ากลำ า บาก
           ตัวชี้วัดที่ 22 ร้อยละของนักเรียนได้รับการเสริมความรู้ให้มี
คุณภาพตามมาตรฐาน
                     การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพิ่มโอกาสในการศึกษาต่อระดับ
ที่สูงขึ้น
           ตัวชี้วัดที่ 23 ร้อยละของนักเรียนเข้ารับการศึกษาสายสามัญ
ควบอิสลามศึกษาเพิ่มขึ้น
           ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ
กิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ได้รับการส่งเสริมการเรียนพระพุทธศาสนา
11
         ตัวชี้วัดที่ 25 ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระ
ภาษาไทย ป. 3 เพิ่มขึ้น
         ตัวชี้วัดที่ 26 ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ
กิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนาคุณภาพในการปฏิบัติงาน
         ตัวชี้วัดที่ 27 ร้อยละขงครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขต
พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการ
พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้
         ตัวชี้วัดที่ 28 ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ
กิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพการ
จัดการเรียนรู้
         ตัวชี้วัดที่ 29 ร้อยละของนักเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่
                   มีโอกาสในการเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน
         ตัวชี้วัดที่ 30 ร้อยละของผู้ปกครองและชุมชนในเขตพัฒนา
พิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
                   ชายแดนภาคใต้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน

          แผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารประจำ า ปี ง บประมาณ 2553
       สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาสกลนคร เขต 3
วิ ส ั ย ทั ศ น์
         สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3 เป็นองค์กรหลักใน
การจัดและส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ประชากร
ในวัยเรียนอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติ


พั น ธกิ จ
       เพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรวัยเรียนทุกคน ให้ได้รัยการ
พัฒนาเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และคุณลักษณะมาตรฐาน
การศึกษาด้วยระบบการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
เป้ า หมาย
       การให้บริการของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3
       1. ด้านโอกาสทางการศึกษา
       2. ด้านคุณภาพการศึกษา
       3. ด้านประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
   กลยุ ท ธ์ แ ละตั ว ชี ้ ว ั ด สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาสกลนคร
                                           เขต 3
       สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3 เป็นหน่วยกำากับ
ประสาน ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้กับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็น
12
หน่วยปฏิบัติการจัดการศึกษา ในปีที่ผ่านมาได้กำาหนดการขับเคลื่อน 5
กลยุทธ์ ดังนี้
       กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
          1.1นักเรียนที่มีปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ลดลง
          1.2นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษา
             ขันพื้นฐานร้อยละ 90
               ้
          1.3นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ
             มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการเรียน 5 วิชาหลักเพิ่มขึ้น
          1.4นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ได้ทุกคน
          1.5โรงเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพทุกโรง
          กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำานึกในความเป็นไทยและ
วิถีชีวิตตามปรัชญา
                    เศรษฐกิจพอเพียง
             2.1นักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีจิตสำานึกความเป็นไทยทุก
                 คน
             2.2โรงเรียนได้รับการส่งเสริม และมีการจัดกิจกรรมการ
                 เรียนรู้ด้านดนตรี นาฏศิลป์ไทย และพื้นบ้าน กีฬาไทยและ
                 กีฬาพื้นบ้าน
             2.3โรงเรียนจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณภาพทุกโรงเรียน
             2.4นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการดำารงชีวิตที่มีคุณภาพ
                 ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทุกคน
          กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษา
             3.1นักเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นและ
                 มัธยมศึกษาตอนปลายออกกลางคันลดลง
             3.2นักเรียนพิการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน
          กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ


           4.1ครูมีความรู้และความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
              เพื่อจัดการเรียนการสอนร้อยละ 90
           4.2ผู้บริหารโรงเรียนมีความรู้และความสามารถใช้
              เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการการศึกษาทุกคน
           4.3ครูได้รับการพัฒนาตามระดับผลการประเมินสมรรถทุก
              คน
           4.4ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพอใจในความมั่นคง
              ของการประกอบอาชีพทุกคน
           4.5ครูสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานที่กำาหนดร้อยละ
              90
13
          4.6โรงเรียนมีครูที่สามารถกลับไปปฏิบัติการสอนร้อยละ 90
        กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
          5.1โรงเรียนที่ไม่ผ่านการรับรองได้รับการสนับสนุนเพื่อ
             พัฒนาคุณภาพทุกโรง
          5.2โรงเรียนได้รับการนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือการดำาเนิน
             งานจากสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกโรง
จุ ด เน้ น
       1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น ร้อยละ
           5
       2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สามารถใช้เทคโนโลยี
           สารสนเทศ (ICT) ได้ทุกคน
       3. ครูและผู้บริหารโรงเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
           จัดการเรียนการสอนและบริหารการศึกษาทุกคน
       4. สร้างความเข้มแข็งในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
       5. ปลูกฝังคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมสู่วิถีชีวิต เน้นจิตอาสา
       6. ส่งเสริมโครงการอาหารกลางวันแบบครบวงจร โดยนำาปรัชญา
           เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
       7. ส่งเสริมโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนสีเขียว (Green and Clean
           School)




1. ระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา


           มีกระบวนการและขั้นตอน/การปฏิบัติ ดังนี้




        กระบวนการ
                                         ขั้นตอน/การปฏิบัติ
14


1. สร้างความตระหนักและให้  1. ประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความ
ความรู้แก่คณะครู           ตระหนักและให้ความรู้เกี่ยวกับระบบ
                           ประกันคุณภาพการศึกษา
                           2. อบรมปฏิบัติการเรื่องระบบประกัน
                           คุณภาพภายในสถานศึกษา
                           3. ศึกษาดูงานโรงเรียนที่จัดระบบ
                           ประกันคุณภาพการศึกษาประสบผล
                           สำาเร็จ
2. กำาหนดมาตรฐานการศึกษา   1. ศึกษามาตรฐานการศึกษาเพื่อ
ของโรงเรียน                การประเมินภายนอกรอบสอง
                           (สมศ.)
                           2. ศึกษามาตรฐานการศึกษาของ
                           หน่วยงานต้นสังกัด
                           3. ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและ
                           ความต้องการพัฒนาของโรงเรียน/
                           ชุมชน
                           4. กำาหนดมาตรฐานการศึกษาของ
                           โรงเรียน
3. จัดทำาแผนพัฒนาคุณภาพการ 1. วิเคราะห์สภาพโรงเรียน
ศึกษาระยะ 3-5 ปี           2. กำาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้า
                           หมาย (มาตรฐานร.ร.) ตัวชี้วัด
                           ความสำาเร็จ (ตัวบ่งชี้)
                           3. กำาหนดยุทธศาสตร์
                           4. กำาหนดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
                           ในแต่ละปี
                           5. กำาหนดบทบาทหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
                           6. กำาหนดแหล่งวิทยาการภายนอก
                           7. กำาหนดการใช้งบประมาณ




        กระบวนการ
                             ขั้นตอน/การปฏิบัติ
4. จัดทำาแผนพัฒนาคุณภาพการ 1. ศึกษารายละเอียดแผนพัฒนา
ศึกษาประจำาปี              คุณภาพการศึกษาระยะ 3-5 ปี
15
                            2. จัดทำาแผนพัฒนาคุณภาพการ
                            ศึกษาประจำาปี ประกอบด้วย
                                  2.1 แผนปฏิบัติการประจำาปี
                                  2.2 แผนการจัดการเรียนการ
                            สอน
                                  2.3 แผนการนิเทศควบคุม
                            กำากับติดตาม
                                  2.4 แผนการประเมินคุณภาพ
                                  2.5 แผนการใช้งบประมาณ
5. นำาแผนพัฒนาคุณภาพการ     1. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ แผน แผน
ศึกษาประจำาปี ไปใช้         งาน โครงการ
                            2. ประชุมชี้แจงให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับ
                            ทราบ
                            3. ผู้รับผิดชอบดำาเนินการตามแผน
                            4.ส่งเสริมสนับสนุน จัดสิ่งอำานวย
                            ความสะดวก และสนับสนุน
                            ทรัพยากร
                            5. นิเทศ ควบคุม กำากับ ติดตาม
6. การตรวจสอบ และประเมิน    1. วางกรอบการประเมินคุณภาพให้
คุณภาพ                      ครอบคลุมมาตรฐานโรงเรียน
                            2. จัดทำาเครื่องมือประเมินคุณภาพ
                            3. เก็บข้อมูล
                            4. วิเคราะห์ข้อมูล
                            5. แปลความหมาย
7. การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อ   1. ศึกษาผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เนื่อง                      2. จัดทำาข้อมูลสารสนเทศ
                            3. นำาข้อมูลสารสนเทศไปพิจารณา
                            วางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการ
                            ศึกษาของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
8. การรายงานคุณภาพ          1. ศึกษารูปแบบการเขียนรายงาน
                            ตามที่หน่วยงานต้นสังกัดและ
                            สมศ.กำาหนด
                            2. จัดทำารายงานคุณภาพประจำาปี
                            เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วย
                            งานที่เกี่ยวข้อง และชุมชน
16

    มาตรฐานการศึ ก ษาโรงเรี ย นบ้ า นซ่ อ มดู ่
                         (ขั ้ น พื ้ น ฐาน)
                    18 มาตรฐาน 84 ตั ว บ่ ง ชี ้

มาตรฐานด้ า นคุ ณ ภาพนั ก เรี ย น
มาตรฐานที ่ 1 ผู ้ เ รี ย นมี ค ุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และค่ า นิ ย มที ่
พึ ง ประสงค์
ตั ว บ่ ง ชี ้
        1.1 มีวินัย มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติตนตามหลักธรรมเบื้องตน
               ของศาสนาที่ตนนับถือ
        1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต
        1.3 มีความกตัญญูกตเวที
        1.4 มีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละเพื่อส่วนรวม
        1.5 ประหยัด รู้จักใช้ทรัพย์สิ่งของส่วนตน และส่วนรวมอย่างคุ้ม
               ค่า
        1.6 ภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย นิยมไทย
               และดำารงไว้ซึ่งความเป็นไทย
มาตรฐานที ่ 2 ผู ้ เ รี ย นมี จ ิ ต สำ า นึ ก ในการอนุ ร ั ก ษ์ พ ั ฒ นาสิ ่ ง
แวดล้ อ ม
ตั ว บ่ ง ชี ้
        2.1 รู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจาก
               การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
        2.2 เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ง
               แวดล้อม
มาตรฐานที ่ 3 ผู ้ เ รี ย นมี ท ั ก ษะในการทำ า งาน รั ก การทำ า งาน
สามารถทำ า งานร่ ว มกั บ ผู ้ อ ื ่ น ได้ แ ละมี เ จตคติ ท ี ่ ด ี ต ่ อ อาชี พ
สุ จ ริ ต
ตั ว บ่ ง ชี ้
        3.1 มีทักษะในการจัดการและทำางานให้สำาเร็จ
        3.2 เพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบในการทำางาน
        3.3 ทำางานอย่างมีความสุข พัฒนางานและภูมิใจในผลงานของ
ตนเอง
        3.4 ทำางานร่วมกับผู้อื่นได้
        3.5 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาอาชีพเกี่ยวกับที่ตน
        สนใจ
17
มาตรฐานที ่ 4 ผู ้ เ รี ย นมี ค วามสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์ คิ ด
สั ง เคราะห์ มี ว ิ จ ารณญาณ มี ค วามคิ ด ริ เ ริ ่ ม สร้ า งสรรค์ คิ ด
ไตร่ ต รองและมี ว ิ ส ั ย ทั ศ น์
ตั ว บ่ ง ชี ้
      4.1สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปความคิดรวบยอด คิดอย่าง
          เป็นระบบและมีการคิดแบบองค์รวม
      4.2 สามารถคาดการณ์ กำาหนดเป้าหมาย และแนวทางการตัดสินใจ
          ได้

         4.3ประเมินและเลือกแนวทางในการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา
            อย่างมีสติ
              4.4 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมี
จินตนาการ
มาตรฐานที ่ 5 ผู ้ เ รี ย นมี ค วามรู ้ แ ละทั ก ษะจำ า เป็ น ตามหลั ก สู ต ร
ตั ว บ่ ง ชี ้
          5.1 มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยตามเกณฑ์
          5.2 มีผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์
          5.3 สามารถสื่อความคิดทางการพูด เขียน หรือนำาเสนอด้วยวิธี
ต่างๆ
          5.4 สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ทั้งภาษาไทย และภาษา
ต่างประเทศ
          5.5 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
มาตรฐานที ่ 6 ผู ้ เ รี ย นมี ท ั ก ษะในการแสวงหาความรู ้ ด ้ ว ย
ตนเองรั ก การเรี ย นรู ้ แ ละพั ฒ นาตนเองอย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง
ตั ว บ่ ง ชี ้
         6.1 มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน และการฟัง รู้จักตั้งคำาถามเพื่อ
หาเหตุผล
         6.2 สนใจแสวงหาความรู้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ใช้หองสมุด    ้
แหล่งความรู้และสื่อต่างๆได้ ทั้งในและนอกสถานที่
         6.3 มีวธีการเรียนรู้ของตนเอง เรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้ สนุกกับการ
                ิ
            เรียนรู้และชอบมาโรงเรียน
มาตรฐานที ่ 7 ผู ้ เ รี ย นมี ส ุ ข นิ ส ั ย สุ ข ภาพกาย และสุ ข ภาพจิ ต
ที ่ ด ี
ตั ว บ่ ง ชี ้
         7.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ
         7.2 มีนำ้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพตามเกณฑ์
         7.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงภาวะที่เสี่ยง
ต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ
18
           และปัญหาทางเพศ
     7.4 มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และให้เกียรติผู้อื่น
     7.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น
มาตรฐานที ่ 8 ผู ้ เ รี ย นมี ส ุ น ทรี ย ภาพและลั ก ษณะนิ ส ั ย ด้ า น
ศิ ล ปะ ดนตรี และกี ฬ า
ตั ว บ่ ง ชี ้
        8.1 ชื่นชมและร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านศิลปะ
        8.2 ชื่นชม ร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านดนตรี/นาฏศิลป์
        8.3 ชื่นชม ร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านกีฬา/นันทนาการ
มาตรฐานด้ า นการเรี ย นการสอน
มาตรฐานที ่ 9 ครู ม ี ค ุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม มี ว ุ ฒ ิ /ความรู ้ ค วาม
สามารถตรงกั บ งาน ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ หมั ่ น พั ฒ นาตนเอง เข้ า กั บ
ชุ ม ชนได้ ด ี และมี ค รู เ พี ย งพอตั ว บ่ ง ชี ้

        9.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
        9.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน
        9.3 มีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผู้เรียน
        9.4 มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟังความคิด
เห็น ใจกว้าง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง
        9.5 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่าขึ้น
ไป
        9.6 สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรือตรงตามความถนัด
        9.7 มีจำานวนเพียงพอ ( หมายรวมทั้งครูและบุคลากรที่สนับสนุน )
มาตรฐานที ่ 10 ครู ม ี ค วามสามารถในการจั ด การเรี ย นการ
สอนอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเน้ น ผู ้ เ รี ย นเป็ น สำ า คั ญ
ตั ว บ่ ง ชี ้
        10.1 มีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตร
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
        10.2 มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็น
รายบุคคล
        10.3 มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
เป็นสำาคัญ
        10.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียน
รู้ของตนเองและผู้เรียน
        10.5 มีผลการประเมินการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการ
เรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียน และอิง พัฒนาการของผู้เรียน
        10.6 มีการนำาผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อ
พัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
19
        10.7 มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและนำาผลไปใช้
พัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานด้ า นการบริ ห ารและการจั ด การศึ ก ษา
มาตรฐานที ่ 11 ผู ้ บ ริ ห ารมี ค ุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม มี ภ าวะผู ้ น ำ า
และมี ว ามสามารถในการบริ ห ารจั ด การศึ ก ษา
ตั ว บ่ ง ชี ้
        11.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของ
วิชาชีพ
        11.2 มีความคิดริเริ่มมีวิสัยทัศน์ และเป็นผู้นำาทางวิชาการ
        11.3 มีความสามารถในการบริหารงานวิชาการและการจัดการ
        11.4 มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลผู้เกี่ยวข้องพึง
พอใจ
มาตรฐานที ่ 12 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด องค์ ก ร โครงสร้ า ง ระบบ
การบริ ห ารและพั ฒ นาองค์ ก รอย่ า งเป็ น ระบบครบวงจร
ตั ว บ่ ง ชี ้
        12.1 มีการจัดองค์กร โครงสร้างและระบบการบริหารงานที่มี
ความคล่องตัวสูงและปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมกับสถานการณ์
        12.2 มีการจัดองค์การข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบครอบคลุม
ต่อการใช้งาน
        12.3 มีระบบประกันคุณภาพภายในที่ดำาเนินการอย่างต่อเนื่อง
        12.4 มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ
        12.5 มีผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจผลการบริหารงานและ
การพัฒนาผู้เรียน

มาตรฐานที ่ 13 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด บริ ห ารและการจั ด กา
ศึ ก ษาโดยใช้ ส ถานศึ ก ษาเป็ น ฐาน
ตั ว บ่ ง ชี ้
        13.1 มีการกระจายอำานาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดย
ใช้สถานศึกษาเป็นฐาน
        13.2 มีการบริหารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่วม
        13.3 มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมพัฒนาสถานศึกษา
        13.4 มีรูปแบบการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
        13.5 มีการตรวจสอบและถ่วงดุล
มาตรฐานที ่ 14 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด ลั ก สู ต ร และ
กระบวนการเรี ย นรู ้ ท ี ่ เ น้ น ผู ้ เ รี ย นเป็ น สำ า คั ญ
ตั ว บ่ ง ชี ้
        14.1 มีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น
20
        14.2 มีรายวิชากิจกรรมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนได้ตาม
ความสนใจ
        14.3 มีการส่งเสริมให้ครูมีการจัดทำาแผนการเรียนรู้ที่ตอบสนอง
        ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน
        14.4 มีการส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ และสื่อ
        อุปกรณ์การเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
        14.5 มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผล และการส่งต่อ
        ข้อมูล,ของนักเรียน
        14.6 มีระบบการนิเทศการสอนและนำาผลไปปรับปรุงการสอน
        อย่างสมำ่าเสมอ
        14.7 มีการนำาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการสอน
        มาตรฐานที ่ 15 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม
        คุ ณ ภาพผู ้ เ รี ย นอย่ า งหลากหลาย
ตั ว บ่ ง ชี ้
        15.1 มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเข้มแข็งและ
        ทั่วถึง
        15.2 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและตอบสนองความสามารถทาง
        วิชาการและความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน
        15.3 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและตลอดสนองความสามารถ
        พิเศษ และความถนัดของผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
        15.4 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมที่ดีงาม
        15.5 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านศิลปะ ดนตรี /นาฏศิลป์ และ
        กีฬา/นันทนาการ
        15.6 มีการจัดกิจกรรมสืบสานและสร้างสรรค์วัฒนธรรม ประเพณี
        และภูมิปัญญาไทย
        15.7 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย


มาตรฐานที ่ 16 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด สภาพแวดล้ อ มและการ
บริ ก ารที ่ ส ่ ง เสริ ม ให้ ผ ู ้ เ รี ย นพั ฒ นาตามธรรมชาติ เ ต็ ม ศั ก ยภาพ
ตั ว บ่ ง ชี ้
        16.1 มีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อการเรียน มีอาคารสถานที่ที่
        เหมาะสม
        16.2 มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน
        16.3 มีการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรูปแบบที่เอื้ออาทร
        ต่อการเรียนด้วยตัวเอง และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
        16.4 มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด พื้นที่ สีเขียวและสิ่งเอื้อ
        อำานวยความสะดวกเพียงพอ และอยู่ในสภาพใช้การได้ดี
21
            16.5 มีการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา
มาตรฐานที ่ 17 สถานศึ ก ษามี ก ารสนั บ สนุ น และใช้ แ หล่ ง
เรี ย นรู ้ แ ละภู ม ิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ ่ น
ตั ว บ่ ง ชี ้
        17.1 มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรียนรู้และ
        ภูมิปัญญาท้องถิ่น
        17.2 สนับสนุนให้แหล่งเรียนรู้ ถูมิปัญญา และชุมชน เข้ามาทีส่วน
        ร่วมในการจัดทำาหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานที ่ 18 สถานศึ ก ษามี ก ารร่ ว มมื อ ระหว่ า งบ้ า น
องค์ ก รทางศาสนา สถาบั น ทางวิ ช าการ และองค์ ก รภาครั ฐ
และภาคเอกชน เพื ่ อ พั ฒ นาวิ ช าการเรี ย นรู ้ ใ นชุ ม ชน
ตั ว บ่ ง ชี ้
        18.1 เป็นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู้และบริการชุมชน
        18.2 มีการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน




                              ตอนที ่ ٣
                        ข้ อ มู ล ครู นั ก เรี ย น

 1 ข้ อ มู ล จำ า นวนนั ก เรี ย น มีจำานวนนักเรียน จำานวนห้องเรียน
จำาแนกตามชั้นและเพศ ดังนี้
ตาราง 1 จำานวนนักเรียน จำานวนห้องเรียนจำาแนกตามชั้นและเพศ
ปีการศึกษา 2553
                   จำานวน                                จำานวน
        ชั้น      ห้องเรียน นักเรียน
                                      ชาย        หญิง           รวม
22
 อนุบาล 1                    1                 ٧        ٣             ١٠
 อนุบาล 2                    1                 ٥        ٤              ٩
        รวม                  2           ١٢             ٧             ١٩
 ชั้นประถมศึกษาปีที่         1            ٥             ٢              ٩
 1                           1            ٧             ٢              ٩
 ชั้นประถมศึกษาปีที่         1            ٤             ٥              ٩
 2                           1            ٧             ١              ٨
 ชั้นประถมศึกษาปีที่         1            ٦            ١٢             ١٨
 3                           1            ٥             ٢              ٧
 ชั้นประถมศึกษาปีที่
 4
 ชั้นประถมศึกษาปีที่
 5
 ชั้นประถมศึกษาปีที่
 6
        รวม                  6           ٣٤            ٢٤             ٥٨
      รวมทั ้ ง สิ ้ น       8           ٤٦            ٣١             ٧٧

         ٢ ข้ อ มู ล ข้ า ราชการครู แ ละลู ก จ้ า งฯ มีจำานวนข้าราชการครูและ
         ลูกจ้างฯ ดังนี้
         ตาราง 2 จำานวนข้าราชการครูและลูกจ้างประจำา จำาแนกตาม
         ตำาแหน่ง/ เงินเดือน วุฒ/วิชาเอก ปีการศึกษา 2553
                                ิ
ที่     ชื่อ -สกุล   ตำา     อัน  ตำาแ เงิน        วุฒิการศึกษา
                    แหน่     ดับ  หน่ง เดือน สามั ครู วิชาเอก              วัน
                       ง         เลขที่         ญ                          บรรจุ
1     นายสมเดช      ผอ.ร     คศ. ٢٦٤٩      ٣٢, ม.ศ ค.ม. การบริ                 8
.     สุขสาลี         ร.      3 ٢٦٥٠ ١٦٠٠ . 5          .   หารฯ              มิ.ย.
2     น.ส.วัฒนา จัน ครู      คศ. ٢٦٥٢      ١٢, ม.6 คบ. ภาษ                    27
.     สีโคตร         ครู      1 ٣٠٩٠      ٥٣٠ ม.6 ค.บ. อังกฤษ                  2
3     น.ส.นำ้าอ้อย   ครู     คศ. ٧٤٤٠       ٩, ม.ศ ค.บ. ประถม                มี.ค.
.     ในเวียง        ครู      1     -     ٤٨٠ .3 ค.บ. ศึกษา                   42
4     นางประเวศ     ลูกจ้า   คศ.           ٣٠, ม.6     - สุขศึกษา          7 ต.ค.
.     สร้อยปลิว      งฯ                   ٣٨٠ ม.6          สังคมศึก           20
                              3
      นางชุติมา                         1 ١,6 ٠            ษา
5                            คศ.                                           1 พ.ค.
.     พร้อมวงศ์               1              0                 -
                                                                              24
      นายรุ่งเรือง                          ٥,
6                             -                                            4 มี.ค.
      ซิวจำาปลา                           ٢٨٠
.                                                                             39
23
                                                                      10
                                                                     ก.พ.
                                                                      52




3 ข้ อ มู ล อาคารเรี ย นและสิ ่ ง ก่ อ สร้ า ง มีอาคารเรียนและสิ่ง
ก่อสร้าง ดังนี้
ตาราง 3 จำานวนอาคารเรียนและงบประมาณสิ่งก่อสร้าง
   อาคารเรียน/สิ่ง          แบบ        งบ      ปีที่ จำาน      สภาพจริง
      ก่อสร้าง                        ประมา    สร้า วน        ใช้  ชำารุด
                                        ณ       ง             การ
                                                              ได้
1. อาคารเรียน 1            ป.1 ฉ     60,000    251    1 หลั    /
2. อาคารเรียน 2            สปช       560,00     4       ง      /
3. อาคารเรียน 3           102/26        0      252    1 หลั    /
4. บ้านพักครู            สปช ١٠٢     ٨١٥٩٣٧     3       ง      /
5. บ้านพักครู               /٢٦      25,000    ٢٥٤      ١      /
6. เรือนแถวพักครู          อบจ.      ١50,00     ٢     หลัง     /
7. อาคารเอนกประสงค์        อบจ.         0      251    1 หลั    /
8. ส้วม 1                สปช.202        -       7       ง      /
9. ส้วม 2                   /26        ٢٠٠,    252    1 หลั    /
10.อาคารชั่วคราว(โรง     สปช.٢٠٢       ٠٠٠      4       ง      /
   อาหาร)                   /٢٦      ١٢,٠٠٠    253    1 หลั    /
11.อาคารชั่วคราว(           401         -       8       ง      -      /
   ห้องเก็บพัสดุ)        ปรับปรุง    ٤٨,٠٠٠    253       1     /
12.แท็งก์นำ้า            สปช.601        -       0       1      /
13.สนามฟุตบอล               /26      ٤١,٠٠٠    252      1      /
14.สนามวอลเลย์บอล            -         ١٠٠,     4       1      /
15.สนามตะกร้อ                -         ٠٠٠     252      1      /
                           ฝ.33      50,000     5       1
14. สนามเปตอง
                            ฟ.١      ٢٠,٠٠٠    ٢٥٤      1
15. ถังนำ้าประปา
                           อบต.       ٥,٠٠٠     ٠       1
                           อบต.      ١٥,٠٠٠    ٢٥٣      1
                           อบต                  ٥       2
24
                             -             253      ١
                                            5
                                           253
                                            ١
                                           254
                                            5
                                           255
                                            2
                                           255
                                            ٢
                                           254
                                            8




٤. รายชื ่ อ คณะกรรมการสถานศึ ก ษา โรงเรียนบ้านซ่อมดู่
         คณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน
  ที่       ชื่อ - สกุล      ตำาแหน่ง        ตัวแทน       หมายเหตุ
  1     นายคำาพันธ์ แก้ว   ประธาน       ผู้แทน อบต.
  .     วิเศษ              กรรมการ      ผู้แทนชุมชน
  2     นายบุญเชาว์ ปุ       กรรมการ    ผู้แทนองค์กร
  .     ราโส                 กรรมการ    ศาสนา
  3     นายอุดม โผด          กรรมการ    ผู้แทนผู้ทรง
  .     นอก                  กรรมการ    คุณวุฒิ
  4     นายเหรียญ            กรรมการ    ผู้แทนองค์กร
  .     กัณหา                กรรมการ    ชุมชน
        นายลือชัย ชู         กรรมการ    ผู้แทนศิษย์เก่า
  5
        นอก                กรรมการ/     ผู้แทนผู้
  .
        นายเพชร สังสะ      เลขานุการ    ปกครอง
  6
        นา                              ผู้แทนครู
25
  .   นายเหรียญชัย                      โดยตำาแหน่ง
  7   แก้วนำ้าคำา
  .   นางประเวศ
  8   สร้อยปลิว
  .   นายสมเดช สุข
  9   สาลี
  .




٥. งบประมาณปี ٢٥٥٣
          งานดำาเนินการก่อนประถมศึกษา และงานดำาเนินการประถม
ศึกษา
ข้อมูลจำานวนครู นักเรียน และงบประมาณ ปีงบประมาณ 255 ٣
                    ครู 5 คน นักเรียน จำานวน ……79….. คน
              ระดับก่อนประถมศึกษา ……1 ٧….. คน
                        ระดับประถมศึกษา     .……62…. คน
งบประมาณ           ระดับก่อนประถมศึกษา …..1 ٧…… x 1,700 =
٢٨,٩٠٠     บาท
                        ระดับประถมศึกษา      ……62 .........x
1,900 = 11 ٧,٨٠٠         บาท
              เงินค่าหนังสือแบบเรียน               ٣٢,٠٠٠
บาท
              ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
                                                รวม
١٤٦,٧٠٠     บาท




٦. จำ า นวนโครงการ     ที่ดำาเนินการในปีงบประมาณ ٢٥٥٣
ที่          รายการ                  งบ    กลยุทธ์
                                   ประมาณ          มาตรฐาน ตัวบงชี้
                                            สพฐ

-งบบริหารวิชาการ (ร้อยละ 60 )        87,000   บาท
26
ที่             รายการ                     งบ     กลยุทธ์
                                         ประมาณ            มาตรฐาน ตัวบงชี้
                                                    สพฐ
1. -โครงการนิเทศภายในโรงเรียน            500      ข้อที่  มตฐ.13.4,١٤.١,١٤
           (นายสมเดช     สุขสาลี)                 1,4, 5 .٣,١٤.٤,14.6
2. -จัดหาวัสดุการศึกษาระดับก่อน          500 ข้อที่    มตฐ.5.1,5.2,5.4,6
      ประถมศึกษา                             1,2,4,5 .1-6.3, ١٤.٤,15.2,١
              (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง)                   ٥.٣
٤.    โครงการจัดหาวัสดุการศึกษา       5,000 ข้อที่     มตฐ.5.1,5.2,5.4,6
      ระดับประถมศึกษา                        1,2,4,5 .1-6.3, ١٤.٤,15.2,١
              (นางชุติมา พร้อมวงศ์)                    ٥.٣
٥.    โครงการจัดหาหนังสือเรียน        ٣٢,٠٠٠ ข้อที่    มตฐ.٦.١,٦.٢,٦.٣,
           (นางชุติมา พร้อมวงศ์)             1,2,4,5 ١٤.١,١٤.٣,
                                                       ١٥.٢,١٥.٣
٦.    โครงการสนับสนุนนักเรียนไป       ١٠,٠٠٠ ข้อที่    มตฐ.٤.١,٤.٢,٤.٣,٤
      แข่งขันทางวิชาการ          (นาง        1,2       .٤٨.١,٨.٢
      ชุติมา พร้อมวงศ์)
٧.    โครงการประชุมอบรมสัมมนา         ١٠,٠0 ข้อที่     มตฐ.9.1-9.5,10.1
      ทางวิชาการ                        0    4,5       -10.7,11.1-11.4
             (นายสมเดช สุขสาลี)
٨.    โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์        ٤,٠٠٠ ข้อที่     มตฐ.٤.٤,٥.١-,٤.١
      (TM2SE)                                1,4
           (นางชุติมา พร้อมวงศ์)
٩.    โครงการห้องสมุดมีชีวิต          ٤٠,٠٠٠ ข้อที่    มตฐ.٦.٣-٦.١
           (นางชุติมา พร้อมวงศ์)             1,2
١     โครงการส่งเสริมนิสัยรักการ      ١,٠٠٠ ข้อที่     มตฐ.٦.٣-٦.١
٠     อ่าน                                   1,2
           (นางชุติมา พร้อมวงศ์)
١     โรงการจัดทำาหลักสูตรและ         ١٠,٠٠٠ ข้อที่ ٤, มตฐ..
١.    พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขัน              ٥
      พื้นฐาน พ.ศ. ٢٥٥١
1     โครงการพัฒนาการอ่าน เขียน       ٢,٠٠٠ ข้อที่     มตฐ.٦.٣-٦.١
٢     ภาษาไทย                                1,2
           (นางชุติมา พร้อมวงศ์)
١     โครงการสานสัมพันธ์บ้านและ       ١,٠٠٠ ข้อที่     มตฐ.١٧.١,١٧.٢,١٨.
٣.    โรงเรียน                               1,2,4,5 ١,١٨.٢
            (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง)
27
ที่               รายการ                    งบ   กลยุทธ์
                                          ประมาณ          มาตรฐาน ตัวบงชี้
                                                   สพฐ
١ -โครงการศึกษาดูงานการ                   ١٠,٠٠٠ ข้อที่  มตฐ.6.2,14.7,9.4,
٤. บริหารและการจัดการศึกษา                       4,5     12.1]12.416.5,17
      (นายสมเดช สุขสาลี)                                 .2
1٥    โครงการส่งเสริมการวิจัยในชั้น       ١,٠٠٠ ข้อที่   มตฐ 10.2 ,١٠.
.     เรียน                                      1,2,4,5 ٣,10.5,10.7
                (น.ส.วัฒนา จันสีโคตร
      )
1٦    -โครงการพัฒนาระบบประกัน             ٢,٠٠٠    ข้อที่  มตฐ.12.3,14.3,14
.     คุณภาพการศึกษา                               1,2,4,5 .4
            (นายสมเดช สุขสาลี)
1٧    โครงการห้องเรียนสีเขียว             ٤,٤٠٠    ข้อที่    มตฐ.١.٥,٢.١,٢.٢,
.     ประหยัดพลังงานไฟฟ้า                          1,2       ١٦.٤,١٦.٥
          (นางประเวศ สร้อย ปลิว)
1     -โครงการส่งเสริมกิจกรรมลูก          ٢,٠٠٠    ข้อที่  มตฐ.1.1-1.6,2.1,2
8.    เสือ                                         1,2,4,5 2,3.1,
           (น.ส.วัฒนา จันสีโคตร )                          3.4,4.1-4.4,15.4
١     -โครงการส่งเสริมการใช้สื่อ          ٢,٠٠٠    ข้อที่  มตฐ.١٠.٤,١٢.٢,١٢.
٩     เทคโนโลยีในการเรียนการสอน                    1,2,4,5 ٤,١٦.٣
                (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง )            ,
2     -โครงการดูแลและช่วยเหลือ            ٢,٠٠٠    ข้อที่  มตฐ.15.1-١٥.٣
0.    นักเรียน                                     1,2,4,5
               (นางชุติมา พร้อมวงศ์)
2     -โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ            ١,٠٠٠     ข้อที่   มตฐ.1.1-1.6,15.4
1.            (นางชุติมา พร้อมวงศ์ )               1,2       -١٥.٧
2 -โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข             ١,٠٠٠    ข้อที่    มตฐ. 7.1-7.5
2. ภาพ                                             1,2
             (นางประเวศ     สร้อยปลิว
      )
2     -โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย         ١,٠٠٠    ข้อที่    มตฐ.٧. ١.٦,٤.٣,٤.٤
3.    ในโรงเรียน                                   1,2,4     ٤,٧.٥,15.7
            (นางชุติมา พร้อมวงศ์)
2     -โครงการแข่งขันกีฬา                          ข้อที่  มตฐ.7.1-7.5,8.3,1
4.           -แข่งขันกีฬาภายใน            ٣,٠٠٠    1,2,4,5 5.5,16.2,
             -แข่งขันกีฬา กีฬากลุ่ม/      ٣,٠٠٠
      โซน/เขต
28
ที่                รายการ                     งบ     กลยุทธ์
                                            ประมาณ             มาตรฐาน ตัวบงชี้
                                                      สพฐ
              (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง)

2 โครงการอาหารกลางวัน                       อบต.สนั ข้อที่     มตฐ.7.1 -7.3 ,١٦.
5.       (นางประเวศ สร้อย                    บสนุน 1,2         ٢
      ปลิว)
2     โครงการอาหารเสริมนม                   อบต.สนั ข้อที่     มตฐ 7.1
6.              (นางประเวศ สร้อย             บสนุน 1,2         -7.3 ,١6.2
      ปลิว)
2     โครงการวันสำาคัญ                               ข้อที่  มตฐ.١.٦,٢.١,٢-١.١
7.         -วันเด็ก (น.ส.วัฒนา จันสี        ٣,٠٠٠    1,2,4,5 ٨.٣-.٢,٧.٥,٨.١
      โคตร)                                 1,٠٠٠
           -วันเข้าพรรษา(นางประเวศ          ٢,٠٠٠
      สร้อยปลิว)                              -
            -วันแม่ (นางชุติมา พร้อม
      วงศ์ )
            -วันขึ้นปีใหม่ (น.ส.นำ้าอ้อย
      ในเวียง)
2     โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้                    ข้อที่  มตฐ.٦.٢,١٤.٧,١٥.٢
8.           -ภายในโรงเรียนและใน            ١٠,٠٠٠ 1,2,3,4 ,١٦.٥,١٧.٢
      หมู่บ้าน                                     ,5
             -ภายในจังหวัดและต่าง
      จังหวัด
-งบบริ ห ารทั ่ ว ไป (ร้ อ ยละ 30 )                  43,500      บาท
٢ -โครงการบริหารการเงินและ                  ٣,000 ข้อที่       มตฐ.11.1,11.4
9. พัสดุ                                          4,5
           (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง)
٣     -โครงการจัดทำาข้อมูลและ               ١,٠٠٠    ข้อที่    มตฐ.12.2,12.5]13
٠     สารสนเทศ                                       4,5       .2]13.4
              (น.ส.วัฒนา จันสีโคตร)
٣     -โครงการพัฒนาอาคาร สถานที่            ١٠,00 ข้อที่  มตฐ.13.3,16.1,16
١.    บริเวณและสิ่งแวดล้อมให้                 0   1,2,4,5 .4,16.5
      สวยงาม
             (นายรุ่งเรือง ซิวจำาปลา)
٣     -โครงการสนับสนุนค่า                   ١٠,00 ข้อ          มตฐ.1.5,2.1
2.    สาธารณูปโภค                             0   ที่1,2
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53
สารสนเทศ  53

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
shaimat
 
8 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกหลัง
8 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกหลัง8 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกหลัง
8 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกหลัง
somdetpittayakom school
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
นายจักราวุธ คำทวี
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
teacherhistory
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
Nattapon
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
Montree Jareeyanuwat
 
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
somdetpittayakom school
 
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
rpg26
 
นำเสนอยางน้ำกลัดใต้
นำเสนอยางน้ำกลัดใต้นำเสนอยางน้ำกลัดใต้
นำเสนอยางน้ำกลัดใต้
gdowdeaw R
 
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
Notty Satiphabunsodakorn
 

Was ist angesagt? (20)

สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
 
แผ่นพับ Brochure3
แผ่นพับ Brochure3แผ่นพับ Brochure3
แผ่นพับ Brochure3
 
แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์
 
8 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกหลัง
8 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกหลัง8 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกหลัง
8 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกหลัง
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
วารสาร
วารสารวารสาร
วารสาร
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
Sar2553
Sar2553Sar2553
Sar2553
 
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
 
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
 
นำเสนอยางน้ำกลัดใต้
นำเสนอยางน้ำกลัดใต้นำเสนอยางน้ำกลัดใต้
นำเสนอยางน้ำกลัดใต้
 
นายสถาพร พานิช
นายสถาพร พานิชนายสถาพร พานิช
นายสถาพร พานิช
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
ข้อมูลพื้นฐาน1
ข้อมูลพื้นฐาน1ข้อมูลพื้นฐาน1
ข้อมูลพื้นฐาน1
 

Andere mochten auch

我的鳥鄰居們 志華
我的鳥鄰居們 志華我的鳥鄰居們 志華
我的鳥鄰居們 志華
ccit mate35
 
人與人的情境
人與人的情境人與人的情境
人與人的情境
ccit mate35
 
Colaboration Video Clip
Colaboration Video ClipColaboration Video Clip
Colaboration Video Clip
aidill
 
евстигнеев животные
евстигнеев животныеевстигнеев животные
евстигнеев животные
ilzinovev
 
Katarzyna Rogowiec Sochi 2014
Katarzyna Rogowiec Sochi 2014Katarzyna Rogowiec Sochi 2014
Katarzyna Rogowiec Sochi 2014
ComPressPR
 
Aandachtspunten schaalvergroting melkveehouderij_Dierenbescherming
Aandachtspunten schaalvergroting melkveehouderij_DierenbeschermingAandachtspunten schaalvergroting melkveehouderij_Dierenbescherming
Aandachtspunten schaalvergroting melkveehouderij_Dierenbescherming
deLynx
 
שירת דבורה2
שירת דבורה2שירת דבורה2
שירת דבורה2
gabiarad
 
การแทรกเสียง
การแทรกเสียงการแทรกเสียง
การแทรกเสียง
Supattar
 
Αβάκιο Εγχειρίδιο Ταξινομούμε
Αβάκιο Εγχειρίδιο ΤαξινομούμεΑβάκιο Εγχειρίδιο Ταξινομούμε
Αβάκιο Εγχειρίδιο Ταξινομούμε
makrib
 

Andere mochten auch (20)

我的鳥鄰居們 志華
我的鳥鄰居們 志華我的鳥鄰居們 志華
我的鳥鄰居們 志華
 
各縣市社區居住執行單位一覽表(10月底)9910
各縣市社區居住執行單位一覽表(10月底)9910各縣市社區居住執行單位一覽表(10月底)9910
各縣市社區居住執行單位一覽表(10月底)9910
 
Presentatie Radboud Sociale Innovatie
Presentatie Radboud Sociale InnovatiePresentatie Radboud Sociale Innovatie
Presentatie Radboud Sociale Innovatie
 
人與人的情境
人與人的情境人與人的情境
人與人的情境
 
Colaboration Video Clip
Colaboration Video ClipColaboration Video Clip
Colaboration Video Clip
 
การเขียนรายงานการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศในโรงเรียน
การเขียนรายงานการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศในโรงเรียนการเขียนรายงานการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศในโรงเรียน
การเขียนรายงานการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศในโรงเรียน
 
евстигнеев животные
евстигнеев животныеевстигнеев животные
евстигнеев животные
 
Кейнсіанство
КейнсіанствоКейнсіанство
Кейнсіанство
 
Folleto centro
Folleto centroFolleto centro
Folleto centro
 
Katarzyna Rogowiec Sochi 2014
Katarzyna Rogowiec Sochi 2014Katarzyna Rogowiec Sochi 2014
Katarzyna Rogowiec Sochi 2014
 
Aandachtspunten schaalvergroting melkveehouderij_Dierenbescherming
Aandachtspunten schaalvergroting melkveehouderij_DierenbeschermingAandachtspunten schaalvergroting melkveehouderij_Dierenbescherming
Aandachtspunten schaalvergroting melkveehouderij_Dierenbescherming
 
TUGAS ARTIKEL IBU TUTI
TUGAS ARTIKEL IBU TUTITUGAS ARTIKEL IBU TUTI
TUGAS ARTIKEL IBU TUTI
 
שירת דבורה2
שירת דבורה2שירת דבורה2
שירת דבורה2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การแทรกเสียง
การแทรกเสียงการแทรกเสียง
การแทรกเสียง
 
Αβάκιο Εγχειρίδιο Ταξινομούμε
Αβάκιο Εγχειρίδιο ΤαξινομούμεΑβάκιο Εγχειρίδιο Ταξινομούμε
Αβάκιο Εγχειρίδιο Ταξινομούμε
 
Menyambut ramadhan-1431-h
Menyambut ramadhan-1431-hMenyambut ramadhan-1431-h
Menyambut ramadhan-1431-h
 
somnis
somnissomnis
somnis
 
Αγία Γραφή, Holy Bible
Αγία Γραφή, Holy BibleΑγία Γραφή, Holy Bible
Αγία Γραφή, Holy Bible
 
Dec 29-2010
Dec 29-2010Dec 29-2010
Dec 29-2010
 

Ähnlich wie สารสนเทศ 53

ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
Montree Jareeyanuwat
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
Suwakhon Phus
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
Nattapon
 
Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753
Kasem S. Mcu
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
waranyuati
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
somdetpittayakom school
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
Nattapon
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattana
sakeenan
 

Ähnlich wie สารสนเทศ 53 (20)

แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556
 
Information kc school
Information kc schoolInformation kc school
Information kc school
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
 
Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753
 
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
 
Focus5
Focus5Focus5
Focus5
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattana
 

สารสนเทศ 53

  • 1. ตอนที่ ١ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ๑. ข้ อ มู ล ทั ่ ว ไป ๑.๑) ชื่อ สถานศึกษา โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ ตั้งอยู่เลขที่ - หมู่ที่ 6 หมู่บ้านซ่อมดู่ ถนน - ตำาบลดงหม้อทอง อำาเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร รหัสไปรษณีย์ ๔๗๑๔๐ โทรศัพท์ - และ โทรสาร - e-mail - Website - ๑.๒) สังกัด ( / ) สพฐ. ( ) สช. ( ) กทม. ( ) มท. ( ) อื่นๆ ระบุ................... ๑.๓) เขตพื้นที่การศึกษา สกลนคร เขต 3 ๑.๔) เปิดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาลปีที่ ๑ ถึงระดับ ประถม ศึกษาปีที่ ๖ ๑.๕) เขตพื้นที่บริการการศึกษา (ระบุ)..โรงเรียนบ้านโคกถาวร โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ รับผิดชอบจัดการศึกษาในพื้นที่เขตบริการ 1 หมู่บ้าน ดังนี้ (๑) หมู่บ้านซ่อมดู่ หมู่ที่ ๖ ตำาบลดงหม้อทอง อำาเภอ บ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ๒. ข้ อ มู ล เกี ่ ย วกั บ การบริ ห ารสถานศึ ก ษา ๒.๑) ชื่อ-สกุลผู้บริหาร นายสมเดช สุขสาลี วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (คม.) สาขา การบริหารการศึกษา ดำารง ตำาแหน่งในโรงเรียนนี้ตั้งแต่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน ๒.๒) ผู้ช่วยผู้บริหาร(ที่ได้รับแต่งตั้ง) - คน ๒.๓) ประวัติ คำาขวัญ ประวั ต ิ โ รงเรี ย นบ้ า นซ่ อ มดู ่ โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ จัดตั้งขึ้น เมื่อเดือน พฤษภาคม ๒๕๑๒ ตัง ้ งอยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้านซ่อมดู่ หมู่ท6 ตำาบลดงหม้อทอง อำาเภอ ี่ บ้านม่วง จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ทั้งหมด 59 ไร่ 3 งาน 65 ตารางวา นายเทิดพงษ์ อุทัยสาง หัวหน้ากิ่งอำาเภอบ้านม่วงและชาวบ้านได้ร่วม กันสร้างอาคารชั่วคราวเป็นที่เรียน ขนาด 6x 12 เมตร หลังคามุง สังกะสีพื้นไม้กระดานสูง ไม่มีฝา จำานวนนักเรียน 50 คน ข้าราชการ ครู จำานวน 2 คน คือ นายฝน ชาบรรทม รักษาการในตำาแหน่งครู ใหญ่ เปิดทำาการสอนตั้งแต่ชั้น ป. 1 ถึง ป. 4 พ.ศ. 2514 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ ป. 001 ( สมทบ ) ในจำานวนเงิน 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน ) ชาวบ้านหา ไม้ยกโครงมุงหลังคา ในวงเงิน 25,000 บาท ( สองหมื่นห้าพันบาทถ้วน ) ขนาด 2 ห้องเรียน 6x 18 เมตร ใช้เป็นอาคารเรียนจนถึงปัจจุบัน
  • 2. 2 พ.ศ. 2518 ได้รับงบประมาณ สร้างบ้านพักครู 1 หลัง ในวงเงิน 40,000 บาท ( สี่หมื่นบาทถ้วน ) พ.ศ.2523 ได้รับงบประมาณ สร้างอาคราเรียนแบบ สปช. 102 จำานวน 1 หลัง มี 2 ห้องเรียนเป็นอาคารเรียนคอนกรีตเสริมเหล็กชั้น เดียว พ.ศ. 2524 ได้รับงบประมาณ สร้างบ้านพักครูแบบองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด 1 หลัง 2 ห้องนอน ราคาประมาณ 150,000 บาท (หนึ่ง แสนห้าหมื่นบาทถ้วน ) และได้รับงบประมาณสร้างส้วมแบบ 401 ขนาด 4 ที่นั่ง จำานวน 1 หลัง ในวงเงิน 12,000 ( หนึ่งหมื่นสองพัน บาทถ้วน ) 8 มิถุนายน 2527 ได้รับบรรจุแต่งตั้งข้าราชารครู จำานวน 3 อัตรา คือ น.ส. มลรัตน์ เสถียรเขต อ.1 รับ 3 น.ส. พิสมัย งศ์บ้านดู่ ตำาแหน่ง อ. 1 ระดับ 3 และนายบุญมี ภมร ตำาแหน่ง ครู 2 ระดับ 2 13 พฤษภาคม 2528 ได้รับย้ายข้าราชการครู มา 1 อัตรา คือนาย สนิท โพธิราช ตำาแหน่ง อ.1 ระดับ 3 17 มิถุนายน 2528 สปจ . สกลนคร ได้แต่งตั้งนายประมูล ฝาดสนศรี มาดำารงตำาแหน่งครูใหญ่ ระดับ 3 แทนนายสุริยนต์ ศรี สถาน 25 ธันวาคม 2530 โรงเรียนได้รับเข้าสู่โครงการ กศ .พช. ได้รับ งบประมาณ 10,000 บาท จัดซือวัสดุ 6,000 บาท ซื้อครุภัณฑ์ ้ 4,000 บาท 15 กันยายน 2530 ได้รับงบประมาณ สร้างอาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช. 202/26 จำานวน 1 หลัง ราคา 200,000 บาท 20 ตุลาคม 2530 คณะครูกรรมการศึกษา ได้จัดทำาประตูทาง เข้าหน้าโรงเรียน ราคา 3,500 บาท โดยไม่ใช้จ่ายเงินงบประมาณ ของทางราชการแต่อย่างใด 13 พฤษภาคม 2531 ได้รับงบประมาณบ่อเลี้ยงปลา จำานวน 1 บ่อ เป็นเงิน 100,000 บาท 15 มิถุนายน 2531 ได้รับงบประมาณจาก สปช . สร้าง สนามฟุตบอล แบบ ฟ. 3 จำานวน 1 สนาม ในวงเงิน 100,000 บาท 28 กันยายน 2532 ได้รับการปักเสาคอนกรีตเดินสายไฟฟ้า และติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ภายในโรงเรียนจากงบประมาณ สปจ. สกลนคร
  • 3. 3 1 พฤษภาคม 2534 ได้รับการบรรจุแต่งตั้ง ลูกจ้างประจำา ตำาแหน่งนักการภารโรง จำานวน 1 อัตรา ตำาแหน่ง เลขที่ 569 อัตรา ค่าจ้าง 2,350 บาท 7 กรกฎาคม 2535 ได้รับมอบห้องสมุดโรงเรียน 1 ห้อง ขนาด 3X 6 เมตร ราคาประมาณ 41,000 บาท โดยไม่ใช้จ่ายงบประมาณ ของทางราชการแต่อย่างใด พ.ศ. 2540 คณะครูนักเรียน ผูปกครองชาวบ้านซ่อมดู่ ได้ร่วม ้ กับบริจาคทรัพย์เพื่อสร้างโรงอาหาร ขนาดกว้าง 0.45 เมตร ยาว 15 เมตร โดยไม่ใช้จ่ายงบประมาณของทางราชการ มูล 48,000 บาท 1 มิถุนายน 2542 โรงเรียนได้รับการบรรจุแต่งตั้งดำารงตำาแหน่ง ผู้บริหาร คือ นายปัญญา คนงาม มาแทนนายประมูล ฝาดแสนศรี ที่ย้ายไป 3 มิถุนายน 2542 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากโครงการช่วย เหลือภาครัฐเพท่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ( มิยาซาวา) สร้างอาคารเรียนแบบ สปช. 102/26 จำานวน 1 หลัง 3 ห้องเรียน งบประมาณ 815,937 บาท เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2545 โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ ได้แยกออก กลุ่มโรงเรียนคำายาง มาขึ้นกลับกลุ่มโรงเรียนดงหม้อทอง ตามระเบียบ คณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ ว่าด้วยกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ. 2544 เพื่อให้สอดคล้อง กับการกระจายอำานาจตามพระราช บัญญัติกำาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำานาจให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ตามหนังสือสั่งการ ที่ ศธ 1160.12/102 ลงวัน ที่ 17 มกราคม 2545 ปัจจุบันโรงเรียนบ้านซ่อมดู่ จัดการเรียนการสอน ตั้งแต่ ระดับชั้น อนุบาล 1-2 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่1 - 6 ขึนตรงต่อ สำานักงาน ้ เขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3 ทำ า เนี ย บผู ้ บ ริ ห าร ๑. นายฝน ชาบรรทม ๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๒ - ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๓ ๒. นายสุนทร ถาบุตร ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๓ - ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๕ ๓. นายประวัติ วรสาร ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๕ - ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๗
  • 4. 4 ๔. นายพิรัตยน์ หลวงราช ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๗ - ๑ พฤษภาคม ๒๕๒๓ ๕. นายสุริยนต์ ศรีสถาน ๑ พฤษภาคม ๒๕๒๓ - ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๒๘ ๖. นายประมูล ฝาดแสนศรี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๒๘ - ๑๗ ธันวาคม ๒๕๓๕ ๗ นายประมูล ฝาดแสนศรี๑๗ ธันวาคม ๒๕๓๕ - ๓๐ เมษายน ๒๕๔๒ ๘. นายปัญญา คนงาม ๑ มิถุนายน ๒๕๔๒ - ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ๙. นายกรนิตต์ กวานดา ๑๕ มิถุนายน ๒๕๔๘ - ๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ ๑๐ นายสมเดช สุขสาลี ๒๓ มกราคม ๒๕๕๑ - ปัจจุบัน ตอนที ่ ٢ การบริ ห ารโรงเรี ย น ١. วิ ส ั ย ทั ศ น์ โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ จัดการศึกษาให้นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มี ความรู้ มีคุณธรรม
  • 5. 5 ٢. พั น ธกิ จ 1. พัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามหลักสูตร 2. จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญและจัดให้มี แหล่งการเรียนรู้อย่างพอเพียง 3. ส่งเสริมให้ครูได้ศึกษาค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษา 4. จัดให้มีสอ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ื่ 5. อบรมดูแลนักเรียนเสมือนลูก ٣. เป้ า ประสงค์ นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความรู้และมีคุณธรรม ٤ คำ า ขวั ญ ของโรงเรี ย น “ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม” ٥. ปรั ช ญาของโรงเรี ย น สุวิชาโน ภวำ โหติ : ผู้มีความรู้ดี เป็นผู้เจริญ ٦. หลั ก สู ต ร โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 25 ٥١ และหลักสูตรสถานศึกษา พ.ศ. 25 ٥٣ ٧. การบริ ห ารจั ด การ โรงเรียนบริหารจัดการโดยเน้นการมีส่วนร่วมของ บุคลากรในการดำาเนินงานทั้งด้าน การวางแผนการดำาเนิน งาน การประเมินผลและการปรับปรุงแก้ไขโดยมีโครงสร้างการบริหาร งานที่ชัดเจน ٨. การพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู โรงเรียนมีการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง โดยการ จัดประชุมอบรม การส่งครูเข้าร่วมประชุมอบรม การศึกษาดูงานตลอด จนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ٨. ความร่ ว มมื อ จากชุ ม ชน - สภาพชุมชนโดยรอบโรงเรียน มีลักษณะเป็นทุ่งนาและป่าไม้ มีประชากรประมาณ 600 คน อาชีพหลักของชุมชน คือเกษตรกรรม ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณีวัฒนธรรมที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป ได้แก่ ประเพณีบุญผาเวส บุญบั้งไป บุญเดือน 3 บุญเข้าพรรษา ออก พรรษา
  • 6. 6 - ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา - ฐานะทางเศรษฐกิจของชุมชน มีฐานะยากจน รายได้เฉลี่ย ต่อปี 9,000 บาท/ปี - โอกาสและข้อจำากัดของโรงเรียน อยู่ใกล้วัดและชุมชน ได้ รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำาบลดงหม้อทองได้แก่อาหาร กลางวัน อาหารเสริมนม และสนับสนุนการจัดกิจกรรมในวันเด็ก ส่วนผู้ ปกครองนักเรียนและชุมชนโรงเรียนมีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนเป็น อย่างมาก ชุมชนมีการส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียน ด้วยดีมาตลอด ทั้ง ด้านงบประมาณ และความร่วมมือช่วยเหลือโรงเรียนทุกๆด้าน - ข้อจำากัดของโรงเรียนมีหลายอย่าง เช่น แหล่งเรียนรู้ไม่พอ เพียง บุคลากรขาดความชำานาญเฉพาะด้านสื่อเทคโนโลยี และสื่อเทคโนโลยีไม่ เพียงพอในการจัดการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ แผนภู ม ิ โ ครงสร้ า งการบริ ห ารโรงเรี ย น โรงเรี ย น บ้ า นซ่ อ มดู ่ นายสมเดช คณะกรรมการการ เครือข่ายสถาน สุขสาลี ศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อำานวยการ
  • 7. 7 การบริหารงาน การบริหารงานงบ การบริหารงา การบริหารงาน วิชาการ ประมาณ นบุคล ทั่วไป นายพิทักษ์ แสน น.ส.นำ้าอ้อย ใน นายสมเดช นายศักดินนท์ พินิจ เวียง สุขสาลี ภาคี นางประเวศ 1.งานพัฒนา 1.แผนปฏิบัติงาน 1.การวางแผน 1.แนะแนวการ หลักสูตร แผนงาน อัตรากำาลัง ศึกษา 2.งานพัฒนากา งบประมาณ 2.การสรรหา 2.สำามะโนประชากร ระบวนการเรียนรู้ 2.การจัดสรรงบ บรรจุ แต่งตั้ง ผู้เรียน 3.การวัดผล ประมาณ 3.งานเสริมสร้าง 3.การศึกษาภาค ประเมินผลและ 3.ตรวจสอบติดตาม ประสิทธิภาพบุค บังคับการรับ เทียบโอน ประเมิน คลากร นักเรียน 4.การวิจัยเพื่อ ผลรายงานงบ 4.งานวินัย/ส่ง 4.ส่งเสริมบริการ การพัฒนา 4.บริหารการเงิน เสริมวินัย ความร่วมมือ วิชาการ 5.บริหารบัญชี 5.ส่งเสริมเชิดชู 5.งานสารบรรณ 5.การพัฒนาสื่อ 6.บริหารพัสดุและ มาตรฐานและ 6.งาน นวัตกรรม สินทรัพย์ จรรยา ประชาสัมพันธ์ 6.การพัฒนา 7.ระบบการควบคุม 6.อื่นๆ 7.ข้อมูลสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ ภายใน 8.งานกิจการ 7.การนิเทศ 8.ประเมินผล นักเรียน ติดตามผล รายงานผลตาม 9.งานอาคารสถาน 8.การพัฒนา นโยบาย ที่ ระบบประกัน 9.อื่นๆ 10.ติดต่อประสาร นโยบายสำ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน ปี ง บประมาณ 2553 1. ยกระดับคุณภาพการศึกษาของคนไทยอย่างบูรณาการและ สอดคล้องกันตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษาทั้งในและนอกระบบการ ศึกษา 2. การเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3. พัฒนาหลักสูตรปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูให้มีคุณภาพ และคุณธรรมอย่างทั่วถึง ต่อเนื่อง และก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในยุค โลกาภิวัติน์
  • 8. 8 4. ส่งเสริมการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการเรียน การสอนและการเรียนรู้อย่างจริงจัง รวมทั้งการ เข้าถึงระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงอย่างกว้างขวาง 5. ดำาเนินการให้บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา 12 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และให้ครอบคลุมผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ หรืออยู่ในภาวะลำาบากมากขึ้น 6. เพิ่มโอกาสให้แก่เยาวชนในการศึกษาต่อผ่านกองทุนให้กู้ยืมที่ ผูกพันกับรายได้ในอนาคต และเชื่อมโยงกับนโยบายการผลิตบัณฑิตที่ ตอบสนองความต้องการของบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถของ ประเทศ 7. สนับสนุนการให้ทุนการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ สำาหรับผู้ด้อยโอกาส 8. สนับสนุนการผลิตและพัฒนากำาลังคนให้สอดรับกับการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตและการบริการ 9. เร่งผลิตกำาลังคนระดับอาชีวะให้มีคุณภาพสนับสนุนความ สามารถในการแข่งขันของประเทศพร้อมทั้งพัฒนารับรองคุณวุฒิ วิชาชีพตามระบบมาตรฐานสากล 10. ขยายบทบาทของระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านองค์กร ต่าง ๆ กลยุ ท ธ์ ส ำ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน ปี ง บประมาณ 2553 1. พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของนักเรียนที่มีปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ลดลง ตัวชี้วัดที่ 2. ร้อยละของนักเรียนที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มวิชา หลักได้แก่ วิทย์ คณิต ภาษาไทย สังคมศึกษาและภาษาต่างประเทศเพิ่มขึ้น 3.1ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 เพิ่มขึ้น 3.2ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ม.3 เพิ่มขึ้น
  • 9. 9 3.3ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ม.3 เพิ่มขึ้น 3.4ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ม.3 เพิ่มขึ้น 3.5ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษา อังกฤษ ม.3 เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนให้ พัฒนาคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของสถานศึกษาสังกัดสำานักบริหารงานการ ศึกษาพิเศษที่ได้รับการ สนับสนุนให้ พัฒนาคุณภาพ (169 แห่ง) 2. ปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรม ความสำ า นึ ก ในความเป็ น ชาติ ไ ทย และวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ตามปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ตัวชีวัดที่ 6 ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาให้มี จิตสำานึก ความเป็นไทย ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการส่งเสริมและมี การจัดกิจกรรมด้าน ดนตรี นาฏศิลป์ไทย/พื้นบ้าน กีฬาไทย/พื้นบ้าน ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของโรงเรียนที่จัดกิจกรรมเสริมสร้าง คุณธรรม ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการดำารง ชีวิตที่มีคุณภาพตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ขยายโอกาสทางการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของนักเรียนออกกลางคันลดลง 10.1ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาออกกลางคันลด ลง 10.2ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นออกกลาง คันลดลง 10.3ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายออก กลางคันลดลง 10.4ร้อยละของนักเรียนการศึกษาพิเศษออกกลางคัน ลดลง ตัวชี้วัดที่ 11 จำานวนเด็กพิการที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. พั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาทั ้ ง ระบบ ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาตามระดับผลการ ประเมินสมรรถนะ
  • 10. 10 ตัวชี้วัดที่ 13 ร้อยละของครูมีผลการประเมินระดับสูงได้รับการ พัฒนาตามหลักสูตร เป็น Master Teacher และได้รับการศึกษาต่อปริญญา โท ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาตามระดับ สมรรถนะตามกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาโดยระบบ E- Training ตัวชี้วัดที่ 16 ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษามีความ พึงพอใจในความมั่นคง ของการประกอบอาชีพ ตัวชี้วัดที่ 17 ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพและ สามารถปฏิบัติงานได้ ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่กำาหนด ตัวชี้วัดที่ 18 ร้อยละของศึกษานิเทศก์ได้รับการพัฒนาให้มี คุณภาพและสามารถ ปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่กำาหนด ตัวชี้วัดที่ 19 ร้อยละของโรงเรียนที่ครูสามารถกลับไปปฏิบัติ หน้าที่การสอนเพิ่มขึ้น 5. พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การศึ ก ษา ตัวชี้วัดที่ 20 ร้อยละของสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองได้รับ การสนับสนุนเพื่อ พัฒนาคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือการดำาเนินงาน จาก สพท. 6. พั ฒ นาการศึ ก ษาในเขตพั ฒ นาพิ เ ศษเฉพาะกิ จ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ และพื ้ น ที ่ ย ากลำ า บาก ตัวชี้วัดที่ 22 ร้อยละของนักเรียนได้รับการเสริมความรู้ให้มี คุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพิ่มโอกาสในการศึกษาต่อระดับ ที่สูงขึ้น ตัวชี้วัดที่ 23 ร้อยละของนักเรียนเข้ารับการศึกษาสายสามัญ ควบอิสลามศึกษาเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ กิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ได้รับการส่งเสริมการเรียนพระพุทธศาสนา
  • 11. 11 ตัวชี้วัดที่ 25 ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระ ภาษาไทย ป. 3 เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่ 26 ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ กิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนาคุณภาพในการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 27 ร้อยละขงครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 28 ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ กิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพการ จัดการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 29 ร้อยละของนักเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ มีโอกาสในการเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน ตัวชี้วัดที่ 30 ร้อยละของผู้ปกครองและชุมชนในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน แผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารประจำ า ปี ง บประมาณ 2553 สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาสกลนคร เขต 3 วิ ส ั ย ทั ศ น์ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3 เป็นองค์กรหลักใน การจัดและส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ประชากร ในวัยเรียนอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติ พั น ธกิ จ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรวัยเรียนทุกคน ให้ได้รัยการ พัฒนาเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และคุณลักษณะมาตรฐาน การศึกษาด้วยระบบการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เป้ า หมาย การให้บริการของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3 1. ด้านโอกาสทางการศึกษา 2. ด้านคุณภาพการศึกษา 3. ด้านประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ กลยุ ท ธ์ แ ละตั ว ชี ้ ว ั ด สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาสกลนคร เขต 3 สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3 เป็นหน่วยกำากับ ประสาน ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้กับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็น
  • 12. 12 หน่วยปฏิบัติการจัดการศึกษา ในปีที่ผ่านมาได้กำาหนดการขับเคลื่อน 5 กลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ 1.1นักเรียนที่มีปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ลดลง 1.2นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษา ขันพื้นฐานร้อยละ 90 ้ 1.3นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการเรียน 5 วิชาหลักเพิ่มขึ้น 1.4นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ได้ทุกคน 1.5โรงเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพทุกโรง กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำานึกในความเป็นไทยและ วิถีชีวิตตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 2.1นักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีจิตสำานึกความเป็นไทยทุก คน 2.2โรงเรียนได้รับการส่งเสริม และมีการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ด้านดนตรี นาฏศิลป์ไทย และพื้นบ้าน กีฬาไทยและ กีฬาพื้นบ้าน 2.3โรงเรียนจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณภาพทุกโรงเรียน 2.4นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการดำารงชีวิตที่มีคุณภาพ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทุกคน กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษา 3.1นักเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นและ มัธยมศึกษาตอนปลายออกกลางคันลดลง 3.2นักเรียนพิการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ 4.1ครูมีความรู้และความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อจัดการเรียนการสอนร้อยละ 90 4.2ผู้บริหารโรงเรียนมีความรู้และความสามารถใช้ เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการการศึกษาทุกคน 4.3ครูได้รับการพัฒนาตามระดับผลการประเมินสมรรถทุก คน 4.4ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพอใจในความมั่นคง ของการประกอบอาชีพทุกคน 4.5ครูสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานที่กำาหนดร้อยละ 90
  • 13. 13 4.6โรงเรียนมีครูที่สามารถกลับไปปฏิบัติการสอนร้อยละ 90 กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา 5.1โรงเรียนที่ไม่ผ่านการรับรองได้รับการสนับสนุนเพื่อ พัฒนาคุณภาพทุกโรง 5.2โรงเรียนได้รับการนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือการดำาเนิน งานจากสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกโรง จุ ด เน้ น 1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ (ICT) ได้ทุกคน 3. ครูและผู้บริหารโรงเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ จัดการเรียนการสอนและบริหารการศึกษาทุกคน 4. สร้างความเข้มแข็งในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ปลูกฝังคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมสู่วิถีชีวิต เน้นจิตอาสา 6. ส่งเสริมโครงการอาหารกลางวันแบบครบวงจร โดยนำาปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ 7. ส่งเสริมโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนสีเขียว (Green and Clean School) 1. ระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา มีกระบวนการและขั้นตอน/การปฏิบัติ ดังนี้ กระบวนการ ขั้นตอน/การปฏิบัติ
  • 14. 14 1. สร้างความตระหนักและให้ 1. ประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความ ความรู้แก่คณะครู ตระหนักและให้ความรู้เกี่ยวกับระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา 2. อบรมปฏิบัติการเรื่องระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา 3. ศึกษาดูงานโรงเรียนที่จัดระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาประสบผล สำาเร็จ 2. กำาหนดมาตรฐานการศึกษา 1. ศึกษามาตรฐานการศึกษาเพื่อ ของโรงเรียน การประเมินภายนอกรอบสอง (สมศ.) 2. ศึกษามาตรฐานการศึกษาของ หน่วยงานต้นสังกัด 3. ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและ ความต้องการพัฒนาของโรงเรียน/ ชุมชน 4. กำาหนดมาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน 3. จัดทำาแผนพัฒนาคุณภาพการ 1. วิเคราะห์สภาพโรงเรียน ศึกษาระยะ 3-5 ปี 2. กำาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้า หมาย (มาตรฐานร.ร.) ตัวชี้วัด ความสำาเร็จ (ตัวบ่งชี้) 3. กำาหนดยุทธศาสตร์ 4. กำาหนดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ในแต่ละปี 5. กำาหนดบทบาทหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 6. กำาหนดแหล่งวิทยาการภายนอก 7. กำาหนดการใช้งบประมาณ กระบวนการ ขั้นตอน/การปฏิบัติ 4. จัดทำาแผนพัฒนาคุณภาพการ 1. ศึกษารายละเอียดแผนพัฒนา ศึกษาประจำาปี คุณภาพการศึกษาระยะ 3-5 ปี
  • 15. 15 2. จัดทำาแผนพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาประจำาปี ประกอบด้วย 2.1 แผนปฏิบัติการประจำาปี 2.2 แผนการจัดการเรียนการ สอน 2.3 แผนการนิเทศควบคุม กำากับติดตาม 2.4 แผนการประเมินคุณภาพ 2.5 แผนการใช้งบประมาณ 5. นำาแผนพัฒนาคุณภาพการ 1. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ แผน แผน ศึกษาประจำาปี ไปใช้ งาน โครงการ 2. ประชุมชี้แจงให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับ ทราบ 3. ผู้รับผิดชอบดำาเนินการตามแผน 4.ส่งเสริมสนับสนุน จัดสิ่งอำานวย ความสะดวก และสนับสนุน ทรัพยากร 5. นิเทศ ควบคุม กำากับ ติดตาม 6. การตรวจสอบ และประเมิน 1. วางกรอบการประเมินคุณภาพให้ คุณภาพ ครอบคลุมมาตรฐานโรงเรียน 2. จัดทำาเครื่องมือประเมินคุณภาพ 3. เก็บข้อมูล 4. วิเคราะห์ข้อมูล 5. แปลความหมาย 7. การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อ 1. ศึกษาผลการวิเคราะห์ข้อมูล เนื่อง 2. จัดทำาข้อมูลสารสนเทศ 3. นำาข้อมูลสารสนเทศไปพิจารณา วางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง 8. การรายงานคุณภาพ 1. ศึกษารูปแบบการเขียนรายงาน ตามที่หน่วยงานต้นสังกัดและ สมศ.กำาหนด 2. จัดทำารายงานคุณภาพประจำาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วย งานที่เกี่ยวข้อง และชุมชน
  • 16. 16 มาตรฐานการศึ ก ษาโรงเรี ย นบ้ า นซ่ อ มดู ่ (ขั ้ น พื ้ น ฐาน) 18 มาตรฐาน 84 ตั ว บ่ ง ชี ้ มาตรฐานด้ า นคุ ณ ภาพนั ก เรี ย น มาตรฐานที ่ 1 ผู ้ เ รี ย นมี ค ุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และค่ า นิ ย มที ่ พึ ง ประสงค์ ตั ว บ่ ง ชี ้ 1.1 มีวินัย มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติตนตามหลักธรรมเบื้องตน ของศาสนาที่ตนนับถือ 1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีความกตัญญูกตเวที 1.4 มีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละเพื่อส่วนรวม 1.5 ประหยัด รู้จักใช้ทรัพย์สิ่งของส่วนตน และส่วนรวมอย่างคุ้ม ค่า 1.6 ภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย นิยมไทย และดำารงไว้ซึ่งความเป็นไทย มาตรฐานที ่ 2 ผู ้ เ รี ย นมี จ ิ ต สำ า นึ ก ในการอนุ ร ั ก ษ์ พ ั ฒ นาสิ ่ ง แวดล้ อ ม ตั ว บ่ ง ชี ้ 2.1 รู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม 2.2 เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ง แวดล้อม มาตรฐานที ่ 3 ผู ้ เ รี ย นมี ท ั ก ษะในการทำ า งาน รั ก การทำ า งาน สามารถทำ า งานร่ ว มกั บ ผู ้ อ ื ่ น ได้ แ ละมี เ จตคติ ท ี ่ ด ี ต ่ อ อาชี พ สุ จ ริ ต ตั ว บ่ ง ชี ้ 3.1 มีทักษะในการจัดการและทำางานให้สำาเร็จ 3.2 เพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบในการทำางาน 3.3 ทำางานอย่างมีความสุข พัฒนางานและภูมิใจในผลงานของ ตนเอง 3.4 ทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ 3.5 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาอาชีพเกี่ยวกับที่ตน สนใจ
  • 17. 17 มาตรฐานที ่ 4 ผู ้ เ รี ย นมี ค วามสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์ คิ ด สั ง เคราะห์ มี ว ิ จ ารณญาณ มี ค วามคิ ด ริ เ ริ ่ ม สร้ า งสรรค์ คิ ด ไตร่ ต รองและมี ว ิ ส ั ย ทั ศ น์ ตั ว บ่ ง ชี ้ 4.1สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปความคิดรวบยอด คิดอย่าง เป็นระบบและมีการคิดแบบองค์รวม 4.2 สามารถคาดการณ์ กำาหนดเป้าหมาย และแนวทางการตัดสินใจ ได้ 4.3ประเมินและเลือกแนวทางในการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา อย่างมีสติ 4.4 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมี จินตนาการ มาตรฐานที ่ 5 ผู ้ เ รี ย นมี ค วามรู ้ แ ละทั ก ษะจำ า เป็ น ตามหลั ก สู ต ร ตั ว บ่ ง ชี ้ 5.1 มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยตามเกณฑ์ 5.2 มีผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ 5.3 สามารถสื่อความคิดทางการพูด เขียน หรือนำาเสนอด้วยวิธี ต่างๆ 5.4 สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ทั้งภาษาไทย และภาษา ต่างประเทศ 5.5 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มาตรฐานที ่ 6 ผู ้ เ รี ย นมี ท ั ก ษะในการแสวงหาความรู ้ ด ้ ว ย ตนเองรั ก การเรี ย นรู ้ แ ละพั ฒ นาตนเองอย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง ตั ว บ่ ง ชี ้ 6.1 มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน และการฟัง รู้จักตั้งคำาถามเพื่อ หาเหตุผล 6.2 สนใจแสวงหาความรู้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ใช้หองสมุด ้ แหล่งความรู้และสื่อต่างๆได้ ทั้งในและนอกสถานที่ 6.3 มีวธีการเรียนรู้ของตนเอง เรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้ สนุกกับการ ิ เรียนรู้และชอบมาโรงเรียน มาตรฐานที ่ 7 ผู ้ เ รี ย นมี ส ุ ข นิ ส ั ย สุ ข ภาพกาย และสุ ข ภาพจิ ต ที ่ ด ี ตั ว บ่ ง ชี ้ 7.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ 7.2 มีนำ้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพตามเกณฑ์ 7.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงภาวะที่เสี่ยง ต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ
  • 18. 18 และปัญหาทางเพศ 7.4 มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และให้เกียรติผู้อื่น 7.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น มาตรฐานที ่ 8 ผู ้ เ รี ย นมี ส ุ น ทรี ย ภาพและลั ก ษณะนิ ส ั ย ด้ า น ศิ ล ปะ ดนตรี และกี ฬ า ตั ว บ่ ง ชี ้ 8.1 ชื่นชมและร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านศิลปะ 8.2 ชื่นชม ร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านดนตรี/นาฏศิลป์ 8.3 ชื่นชม ร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านกีฬา/นันทนาการ มาตรฐานด้ า นการเรี ย นการสอน มาตรฐานที ่ 9 ครู ม ี ค ุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม มี ว ุ ฒ ิ /ความรู ้ ค วาม สามารถตรงกั บ งาน ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ หมั ่ น พั ฒ นาตนเอง เข้ า กั บ ชุ ม ชนได้ ด ี และมี ค รู เ พี ย งพอตั ว บ่ ง ชี ้ 9.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 9.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน 9.3 มีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผู้เรียน 9.4 มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟังความคิด เห็น ใจกว้าง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง 9.5 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่าขึ้น ไป 9.6 สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรือตรงตามความถนัด 9.7 มีจำานวนเพียงพอ ( หมายรวมทั้งครูและบุคลากรที่สนับสนุน ) มาตรฐานที ่ 10 ครู ม ี ค วามสามารถในการจั ด การเรี ย นการ สอนอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเน้ น ผู ้ เ รี ย นเป็ น สำ า คั ญ ตั ว บ่ ง ชี ้ 10.1 มีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตร การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 10.2 มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็น รายบุคคล 10.3 มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น เป็นสำาคัญ 10.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียน รู้ของตนเองและผู้เรียน 10.5 มีผลการประเมินการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการ เรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียน และอิง พัฒนาการของผู้เรียน 10.6 มีการนำาผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
  • 19. 19 10.7 มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและนำาผลไปใช้ พัฒนาผู้เรียน มาตรฐานด้ า นการบริ ห ารและการจั ด การศึ ก ษา มาตรฐานที ่ 11 ผู ้ บ ริ ห ารมี ค ุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม มี ภ าวะผู ้ น ำ า และมี ว ามสามารถในการบริ ห ารจั ด การศึ ก ษา ตั ว บ่ ง ชี ้ 11.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของ วิชาชีพ 11.2 มีความคิดริเริ่มมีวิสัยทัศน์ และเป็นผู้นำาทางวิชาการ 11.3 มีความสามารถในการบริหารงานวิชาการและการจัดการ 11.4 มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลผู้เกี่ยวข้องพึง พอใจ มาตรฐานที ่ 12 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด องค์ ก ร โครงสร้ า ง ระบบ การบริ ห ารและพั ฒ นาองค์ ก รอย่ า งเป็ น ระบบครบวงจร ตั ว บ่ ง ชี ้ 12.1 มีการจัดองค์กร โครงสร้างและระบบการบริหารงานที่มี ความคล่องตัวสูงและปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมกับสถานการณ์ 12.2 มีการจัดองค์การข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบครอบคลุม ต่อการใช้งาน 12.3 มีระบบประกันคุณภาพภายในที่ดำาเนินการอย่างต่อเนื่อง 12.4 มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ 12.5 มีผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจผลการบริหารงานและ การพัฒนาผู้เรียน มาตรฐานที ่ 13 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด บริ ห ารและการจั ด กา ศึ ก ษาโดยใช้ ส ถานศึ ก ษาเป็ น ฐาน ตั ว บ่ ง ชี ้ 13.1 มีการกระจายอำานาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดย ใช้สถานศึกษาเป็นฐาน 13.2 มีการบริหารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่วม 13.3 มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมพัฒนาสถานศึกษา 13.4 มีรูปแบบการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 13.5 มีการตรวจสอบและถ่วงดุล มาตรฐานที ่ 14 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด ลั ก สู ต ร และ กระบวนการเรี ย นรู ้ ท ี ่ เ น้ น ผู ้ เ รี ย นเป็ น สำ า คั ญ ตั ว บ่ ง ชี ้ 14.1 มีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น
  • 20. 20 14.2 มีรายวิชากิจกรรมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนได้ตาม ความสนใจ 14.3 มีการส่งเสริมให้ครูมีการจัดทำาแผนการเรียนรู้ที่ตอบสนอง ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน 14.4 มีการส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ และสื่อ อุปกรณ์การเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 14.5 มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผล และการส่งต่อ ข้อมูล,ของนักเรียน 14.6 มีระบบการนิเทศการสอนและนำาผลไปปรับปรุงการสอน อย่างสมำ่าเสมอ 14.7 มีการนำาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการสอน มาตรฐานที ่ 15 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพผู ้ เ รี ย นอย่ า งหลากหลาย ตั ว บ่ ง ชี ้ 15.1 มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเข้มแข็งและ ทั่วถึง 15.2 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและตอบสนองความสามารถทาง วิชาการและความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน 15.3 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและตลอดสนองความสามารถ พิเศษ และความถนัดของผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ 15.4 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมที่ดีงาม 15.5 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านศิลปะ ดนตรี /นาฏศิลป์ และ กีฬา/นันทนาการ 15.6 มีการจัดกิจกรรมสืบสานและสร้างสรรค์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย 15.7 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย มาตรฐานที ่ 16 สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด สภาพแวดล้ อ มและการ บริ ก ารที ่ ส ่ ง เสริ ม ให้ ผ ู ้ เ รี ย นพั ฒ นาตามธรรมชาติ เ ต็ ม ศั ก ยภาพ ตั ว บ่ ง ชี ้ 16.1 มีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อการเรียน มีอาคารสถานที่ที่ เหมาะสม 16.2 มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน 16.3 มีการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรูปแบบที่เอื้ออาทร ต่อการเรียนด้วยตัวเอง และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 16.4 มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด พื้นที่ สีเขียวและสิ่งเอื้อ อำานวยความสะดวกเพียงพอ และอยู่ในสภาพใช้การได้ดี
  • 21. 21 16.5 มีการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา มาตรฐานที ่ 17 สถานศึ ก ษามี ก ารสนั บ สนุ น และใช้ แ หล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละภู ม ิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ ่ น ตั ว บ่ ง ชี ้ 17.1 มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 17.2 สนับสนุนให้แหล่งเรียนรู้ ถูมิปัญญา และชุมชน เข้ามาทีส่วน ร่วมในการจัดทำาหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานที ่ 18 สถานศึ ก ษามี ก ารร่ ว มมื อ ระหว่ า งบ้ า น องค์ ก รทางศาสนา สถาบั น ทางวิ ช าการ และองค์ ก รภาครั ฐ และภาคเอกชน เพื ่ อ พั ฒ นาวิ ช าการเรี ย นรู ้ ใ นชุ ม ชน ตั ว บ่ ง ชี ้ 18.1 เป็นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู้และบริการชุมชน 18.2 มีการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน ตอนที ่ ٣ ข้ อ มู ล ครู นั ก เรี ย น 1 ข้ อ มู ล จำ า นวนนั ก เรี ย น มีจำานวนนักเรียน จำานวนห้องเรียน จำาแนกตามชั้นและเพศ ดังนี้ ตาราง 1 จำานวนนักเรียน จำานวนห้องเรียนจำาแนกตามชั้นและเพศ ปีการศึกษา 2553 จำานวน จำานวน ชั้น ห้องเรียน นักเรียน ชาย หญิง รวม
  • 22. 22 อนุบาล 1 1 ٧ ٣ ١٠ อนุบาล 2 1 ٥ ٤ ٩ รวม 2 ١٢ ٧ ١٩ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ٥ ٢ ٩ 1 1 ٧ ٢ ٩ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ٤ ٥ ٩ 2 1 ٧ ١ ٨ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ٦ ١٢ ١٨ 3 1 ٥ ٢ ٧ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รวม 6 ٣٤ ٢٤ ٥٨ รวมทั ้ ง สิ ้ น 8 ٤٦ ٣١ ٧٧ ٢ ข้ อ มู ล ข้ า ราชการครู แ ละลู ก จ้ า งฯ มีจำานวนข้าราชการครูและ ลูกจ้างฯ ดังนี้ ตาราง 2 จำานวนข้าราชการครูและลูกจ้างประจำา จำาแนกตาม ตำาแหน่ง/ เงินเดือน วุฒ/วิชาเอก ปีการศึกษา 2553 ิ ที่ ชื่อ -สกุล ตำา อัน ตำาแ เงิน วุฒิการศึกษา แหน่ ดับ หน่ง เดือน สามั ครู วิชาเอก วัน ง เลขที่ ญ บรรจุ 1 นายสมเดช ผอ.ร คศ. ٢٦٤٩ ٣٢, ม.ศ ค.ม. การบริ 8 . สุขสาลี ร. 3 ٢٦٥٠ ١٦٠٠ . 5 . หารฯ มิ.ย. 2 น.ส.วัฒนา จัน ครู คศ. ٢٦٥٢ ١٢, ม.6 คบ. ภาษ 27 . สีโคตร ครู 1 ٣٠٩٠ ٥٣٠ ม.6 ค.บ. อังกฤษ 2 3 น.ส.นำ้าอ้อย ครู คศ. ٧٤٤٠ ٩, ม.ศ ค.บ. ประถม มี.ค. . ในเวียง ครู 1 - ٤٨٠ .3 ค.บ. ศึกษา 42 4 นางประเวศ ลูกจ้า คศ. ٣٠, ม.6 - สุขศึกษา 7 ต.ค. . สร้อยปลิว งฯ ٣٨٠ ม.6 สังคมศึก 20 3 นางชุติมา 1 ١,6 ٠ ษา 5 คศ. 1 พ.ค. . พร้อมวงศ์ 1 0 - 24 นายรุ่งเรือง ٥, 6 - 4 มี.ค. ซิวจำาปลา ٢٨٠ . 39
  • 23. 23 10 ก.พ. 52 3 ข้ อ มู ล อาคารเรี ย นและสิ ่ ง ก่ อ สร้ า ง มีอาคารเรียนและสิ่ง ก่อสร้าง ดังนี้ ตาราง 3 จำานวนอาคารเรียนและงบประมาณสิ่งก่อสร้าง อาคารเรียน/สิ่ง แบบ งบ ปีที่ จำาน สภาพจริง ก่อสร้าง ประมา สร้า วน ใช้ ชำารุด ณ ง การ ได้ 1. อาคารเรียน 1 ป.1 ฉ 60,000 251 1 หลั / 2. อาคารเรียน 2 สปช 560,00 4 ง / 3. อาคารเรียน 3 102/26 0 252 1 หลั / 4. บ้านพักครู สปช ١٠٢ ٨١٥٩٣٧ 3 ง / 5. บ้านพักครู /٢٦ 25,000 ٢٥٤ ١ / 6. เรือนแถวพักครู อบจ. ١50,00 ٢ หลัง / 7. อาคารเอนกประสงค์ อบจ. 0 251 1 หลั / 8. ส้วม 1 สปช.202 - 7 ง / 9. ส้วม 2 /26 ٢٠٠, 252 1 หลั / 10.อาคารชั่วคราว(โรง สปช.٢٠٢ ٠٠٠ 4 ง / อาหาร) /٢٦ ١٢,٠٠٠ 253 1 หลั / 11.อาคารชั่วคราว( 401 - 8 ง - / ห้องเก็บพัสดุ) ปรับปรุง ٤٨,٠٠٠ 253 1 / 12.แท็งก์นำ้า สปช.601 - 0 1 / 13.สนามฟุตบอล /26 ٤١,٠٠٠ 252 1 / 14.สนามวอลเลย์บอล - ١٠٠, 4 1 / 15.สนามตะกร้อ - ٠٠٠ 252 1 / ฝ.33 50,000 5 1 14. สนามเปตอง ฟ.١ ٢٠,٠٠٠ ٢٥٤ 1 15. ถังนำ้าประปา อบต. ٥,٠٠٠ ٠ 1 อบต. ١٥,٠٠٠ ٢٥٣ 1 อบต ٥ 2
  • 24. 24 - 253 ١ 5 253 ١ 254 5 255 2 255 ٢ 254 8 ٤. รายชื ่ อ คณะกรรมการสถานศึ ก ษา โรงเรียนบ้านซ่อมดู่ คณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน ที่ ชื่อ - สกุล ตำาแหน่ง ตัวแทน หมายเหตุ 1 นายคำาพันธ์ แก้ว ประธาน ผู้แทน อบต. . วิเศษ กรรมการ ผู้แทนชุมชน 2 นายบุญเชาว์ ปุ กรรมการ ผู้แทนองค์กร . ราโส กรรมการ ศาสนา 3 นายอุดม โผด กรรมการ ผู้แทนผู้ทรง . นอก กรรมการ คุณวุฒิ 4 นายเหรียญ กรรมการ ผู้แทนองค์กร . กัณหา กรรมการ ชุมชน นายลือชัย ชู กรรมการ ผู้แทนศิษย์เก่า 5 นอก กรรมการ/ ผู้แทนผู้ . นายเพชร สังสะ เลขานุการ ปกครอง 6 นา ผู้แทนครู
  • 25. 25 . นายเหรียญชัย โดยตำาแหน่ง 7 แก้วนำ้าคำา . นางประเวศ 8 สร้อยปลิว . นายสมเดช สุข 9 สาลี . ٥. งบประมาณปี ٢٥٥٣ งานดำาเนินการก่อนประถมศึกษา และงานดำาเนินการประถม ศึกษา ข้อมูลจำานวนครู นักเรียน และงบประมาณ ปีงบประมาณ 255 ٣ ครู 5 คน นักเรียน จำานวน ……79….. คน ระดับก่อนประถมศึกษา ……1 ٧….. คน ระดับประถมศึกษา .……62…. คน งบประมาณ ระดับก่อนประถมศึกษา …..1 ٧…… x 1,700 = ٢٨,٩٠٠ บาท ระดับประถมศึกษา ……62 .........x 1,900 = 11 ٧,٨٠٠ บาท เงินค่าหนังสือแบบเรียน ٣٢,٠٠٠ บาท ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวม ١٤٦,٧٠٠ บาท ٦. จำ า นวนโครงการ ที่ดำาเนินการในปีงบประมาณ ٢٥٥٣ ที่ รายการ งบ กลยุทธ์ ประมาณ มาตรฐาน ตัวบงชี้ สพฐ -งบบริหารวิชาการ (ร้อยละ 60 ) 87,000 บาท
  • 26. 26 ที่ รายการ งบ กลยุทธ์ ประมาณ มาตรฐาน ตัวบงชี้ สพฐ 1. -โครงการนิเทศภายในโรงเรียน 500 ข้อที่ มตฐ.13.4,١٤.١,١٤ (นายสมเดช สุขสาลี) 1,4, 5 .٣,١٤.٤,14.6 2. -จัดหาวัสดุการศึกษาระดับก่อน 500 ข้อที่ มตฐ.5.1,5.2,5.4,6 ประถมศึกษา 1,2,4,5 .1-6.3, ١٤.٤,15.2,١ (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง) ٥.٣ ٤. โครงการจัดหาวัสดุการศึกษา 5,000 ข้อที่ มตฐ.5.1,5.2,5.4,6 ระดับประถมศึกษา 1,2,4,5 .1-6.3, ١٤.٤,15.2,١ (นางชุติมา พร้อมวงศ์) ٥.٣ ٥. โครงการจัดหาหนังสือเรียน ٣٢,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.٦.١,٦.٢,٦.٣, (นางชุติมา พร้อมวงศ์) 1,2,4,5 ١٤.١,١٤.٣, ١٥.٢,١٥.٣ ٦. โครงการสนับสนุนนักเรียนไป ١٠,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.٤.١,٤.٢,٤.٣,٤ แข่งขันทางวิชาการ (นาง 1,2 .٤٨.١,٨.٢ ชุติมา พร้อมวงศ์) ٧. โครงการประชุมอบรมสัมมนา ١٠,٠0 ข้อที่ มตฐ.9.1-9.5,10.1 ทางวิชาการ 0 4,5 -10.7,11.1-11.4 (นายสมเดช สุขสาลี) ٨. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ٤,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.٤.٤,٥.١-,٤.١ (TM2SE) 1,4 (นางชุติมา พร้อมวงศ์) ٩. โครงการห้องสมุดมีชีวิต ٤٠,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.٦.٣-٦.١ (นางชุติมา พร้อมวงศ์) 1,2 ١ โครงการส่งเสริมนิสัยรักการ ١,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.٦.٣-٦.١ ٠ อ่าน 1,2 (นางชุติมา พร้อมวงศ์) ١ โรงการจัดทำาหลักสูตรและ ١٠,٠٠٠ ข้อที่ ٤, มตฐ.. ١. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขัน ٥ พื้นฐาน พ.ศ. ٢٥٥١ 1 โครงการพัฒนาการอ่าน เขียน ٢,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.٦.٣-٦.١ ٢ ภาษาไทย 1,2 (นางชุติมา พร้อมวงศ์) ١ โครงการสานสัมพันธ์บ้านและ ١,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.١٧.١,١٧.٢,١٨. ٣. โรงเรียน 1,2,4,5 ١,١٨.٢ (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง)
  • 27. 27 ที่ รายการ งบ กลยุทธ์ ประมาณ มาตรฐาน ตัวบงชี้ สพฐ ١ -โครงการศึกษาดูงานการ ١٠,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.6.2,14.7,9.4, ٤. บริหารและการจัดการศึกษา 4,5 12.1]12.416.5,17 (นายสมเดช สุขสาลี) .2 1٥ โครงการส่งเสริมการวิจัยในชั้น ١,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ 10.2 ,١٠. . เรียน 1,2,4,5 ٣,10.5,10.7 (น.ส.วัฒนา จันสีโคตร ) 1٦ -โครงการพัฒนาระบบประกัน ٢,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.12.3,14.3,14 . คุณภาพการศึกษา 1,2,4,5 .4 (นายสมเดช สุขสาลี) 1٧ โครงการห้องเรียนสีเขียว ٤,٤٠٠ ข้อที่ มตฐ.١.٥,٢.١,٢.٢, . ประหยัดพลังงานไฟฟ้า 1,2 ١٦.٤,١٦.٥ (นางประเวศ สร้อย ปลิว) 1 -โครงการส่งเสริมกิจกรรมลูก ٢,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.1.1-1.6,2.1,2 8. เสือ 1,2,4,5 2,3.1, (น.ส.วัฒนา จันสีโคตร ) 3.4,4.1-4.4,15.4 ١ -โครงการส่งเสริมการใช้สื่อ ٢,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.١٠.٤,١٢.٢,١٢. ٩ เทคโนโลยีในการเรียนการสอน 1,2,4,5 ٤,١٦.٣ (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง ) , 2 -โครงการดูแลและช่วยเหลือ ٢,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.15.1-١٥.٣ 0. นักเรียน 1,2,4,5 (นางชุติมา พร้อมวงศ์) 2 -โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ ١,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.1.1-1.6,15.4 1. (นางชุติมา พร้อมวงศ์ ) 1,2 -١٥.٧ 2 -โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข ١,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ. 7.1-7.5 2. ภาพ 1,2 (นางประเวศ สร้อยปลิว ) 2 -โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย ١,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.٧. ١.٦,٤.٣,٤.٤ 3. ในโรงเรียน 1,2,4 ٤,٧.٥,15.7 (นางชุติมา พร้อมวงศ์) 2 -โครงการแข่งขันกีฬา ข้อที่ มตฐ.7.1-7.5,8.3,1 4. -แข่งขันกีฬาภายใน ٣,٠٠٠ 1,2,4,5 5.5,16.2, -แข่งขันกีฬา กีฬากลุ่ม/ ٣,٠٠٠ โซน/เขต
  • 28. 28 ที่ รายการ งบ กลยุทธ์ ประมาณ มาตรฐาน ตัวบงชี้ สพฐ (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง) 2 โครงการอาหารกลางวัน อบต.สนั ข้อที่ มตฐ.7.1 -7.3 ,١٦. 5. (นางประเวศ สร้อย บสนุน 1,2 ٢ ปลิว) 2 โครงการอาหารเสริมนม อบต.สนั ข้อที่ มตฐ 7.1 6. (นางประเวศ สร้อย บสนุน 1,2 -7.3 ,١6.2 ปลิว) 2 โครงการวันสำาคัญ ข้อที่ มตฐ.١.٦,٢.١,٢-١.١ 7. -วันเด็ก (น.ส.วัฒนา จันสี ٣,٠٠٠ 1,2,4,5 ٨.٣-.٢,٧.٥,٨.١ โคตร) 1,٠٠٠ -วันเข้าพรรษา(นางประเวศ ٢,٠٠٠ สร้อยปลิว) - -วันแม่ (นางชุติมา พร้อม วงศ์ ) -วันขึ้นปีใหม่ (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง) 2 โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้ ข้อที่ มตฐ.٦.٢,١٤.٧,١٥.٢ 8. -ภายในโรงเรียนและใน ١٠,٠٠٠ 1,2,3,4 ,١٦.٥,١٧.٢ หมู่บ้าน ,5 -ภายในจังหวัดและต่าง จังหวัด -งบบริ ห ารทั ่ ว ไป (ร้ อ ยละ 30 ) 43,500 บาท ٢ -โครงการบริหารการเงินและ ٣,000 ข้อที่ มตฐ.11.1,11.4 9. พัสดุ 4,5 (น.ส.นำ้าอ้อย ในเวียง) ٣ -โครงการจัดทำาข้อมูลและ ١,٠٠٠ ข้อที่ มตฐ.12.2,12.5]13 ٠ สารสนเทศ 4,5 .2]13.4 (น.ส.วัฒนา จันสีโคตร) ٣ -โครงการพัฒนาอาคาร สถานที่ ١٠,00 ข้อที่ มตฐ.13.3,16.1,16 ١. บริเวณและสิ่งแวดล้อมให้ 0 1,2,4,5 .4,16.5 สวยงาม (นายรุ่งเรือง ซิวจำาปลา) ٣ -โครงการสนับสนุนค่า ١٠,00 ข้อ มตฐ.1.5,2.1 2. สาธารณูปโภค 0 ที่1,2