SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้พิการ ตำบลบ้านจันทร์
         โดย ทันตแพทย์ พูลพฤกษ์ โสภารัตน์
                                                         จ
                                                         	 			ากการดำเนินงานผ่านกิจกรรมการเยี่ยมบ้าน	ทำให้พบกลุ่ม
                                                         ผู้ด้อยโอกาสในสังคม	มีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการในรูปแบบปกติ	
                                                         ได้แก่	กลุ่มคนพิการ	โดยในเขตตำบลบ้านจันทร์มีประมาณ	30	ราย	
โรงพยาบาลวัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จ.เชียงใหม่   แต่ ล ะรายก็ มี ร ะดั บ ความพิ ก ารแตกต่ า งกั น ตั้ ง แต่ พ อช่ ว ยตั ว เอง	
                                                         ได้บ้าง	เช่น	อัมพาตบางส่วน	ขาพิการ	จนถึงไม่สามารถดูแลตนเอง
                                                         ได้	 ได้แก่	 เด็กที่มีภาวะ	 Hy	 drocephalous	 นอกจากนี้ในการ
                                                         ติดตามเยี่ยมแต่ละครั้งไม่มีผู้ดูแลหลักในการร่วมวางแผนการดูแล
                                                         ต่อเนื่อง	 การให้ความรู้ในการดูแลทันตสุขภาพยังมีน้อย	 และ	 ยังมี	
                                                         ผู้พิการบางส่วนที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้	 สาเหตุหนึ่งมาจาก
                                                         การเจ็บป่ว่ย	และมีความจำกัดในการเคลื่อนไหว	ขาดพาหนะรับส่ง	
                                                         ทำให้มีคนพิการที่อาจมีปัญหาสุขภาพช่องปากไม่ได้รับความสนใจ
                                                         หรือแก้ไขปัญหาทันตกรรมสุขภาพเท่าที่ควร	
                                                         	 ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้	 ทำให้ผ่ายทันตสาธารณสุขเห็นความ
                                                         สำคัญที่จะต้องจัดกิจกรรมขึ้นมาเพื่อดูแลคนพิการเป็นพิเศษ	 จึงได้
                                                         จัดทำ	“โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในคนพิการ”	ขึ้น	เพื่อส่งเสริม
                                                         และให้การรักษาทางทันตกรรม	 ตลอดจนพัฒนาทักษะในการดูแล
                                                         สุขภาพช่องปากของคนพิการเอง	 และญาติ	 เพื่อให้เกิดประโยชน์
                                                         กับตัวคนพิการและครอบครัว	 ช่วยให้คนพิการมีอายุยืนยาวอย่างมี
                                                         คุ ณ ภาพ	 มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี	 มี ค วามสามารถสู ง สุ ด เต็ ม ศั ก ยภาพ	
                                                                                                                                     	
                                                         ในการทำหน้าที่	 ประกอบกิจวัตรประจำวัน	 และรับรู้ถึงความมี
                                                         คุณค่าแห่งตน	อันเป็นภาวะสุขภาพที่พึงปรารถนา
โครงการดูแลทันตสุขภาพคนพิการในเขตตำบลแม่กรณ์
        โดย ทันตแพทย์หญิงศรินทิพย์ ปิติวัฒน์สกุล
                                                         	 ค
        	คนพิการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย	ซึ่งมีจำนวนเพิ่ม	
                                                                     มากขึ้ น	 จากการที่ ป ระชากรขาดความรู้ ใ นการดู แ ล
                                                         สุขภาพตนเองอย่างถูกต้อง	 สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยที่ไม่เหมาะสม	
                                                         สภาวะทางเศรษฐกิจ	 ปัญหาในครอบครัว	 ประเภทของความพิการ	
รพศ. เชียงรายประชานุเคราะห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย   ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อสุขภาพของคนพิการ	การดูแลสุขภาพของ
                                                         คนพิการควรเริ่มตั้งแต่ที่บ้าน	 ซึ่งเป็นสถาบันหลักสำหรับคนพิการ	              	
                                                         ผู้ดูแลควรเป็นคนในครอบครัวซึ่งมีเวลาและความอาทรให้กับคน
                                                         พิการเมื่อเกิดปัญหาทางสุขภาพ	 คนพิการควรมีโอกาสที่จะเข้ารับ
                                                         บริการได้โดยสะดวก	 สถานพยาบาลควรมีลักษณะเอื้อต่อคนพิการ
                                                         ในการเข้ารับบริการ	 ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นได้ให้ความ
                                                         ร่วมมือเป็นอย่างดี	 เช่นจัดสรรงบประมาณในการดูแลสุขภาพ	 และ
                                                         จั ด หารถรั บ ส่ ง คนพิ ก ารเมื่ อ มี ปั ญ หาด้ า นสุ ข ภาพ	 แต่ ยั ง ขาดการ
                                                         พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ด้ า นการดู แ ลคนพิ ก าร	 และการแก้ ปั ญ หาใน	
                                                         ระยะยาว		
                                                         		 การดู แ ลสภาวะในช่ อ งปากของคนพิ ก ารเป็ น ปั จ จั ย สำคั	
                                                         ญในการทำให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข	 เพื่อให้
                                                         สามารถทานอาหารได้ครบทุกหมู่	 ซึ่งจะส่งผลต่อระบบย่อยอาหาร	
                                                         ให้ร่างกายได้รับสารอาหารครบถ้วน	 ระบบขับถ่ายดี	 การบูรณะฟัน
                                                         เพื่อให้คนพิการได้กลับมาเคี้ยวอาหารได้ดีดังเดิมทำได้ยาก	 หรือบาง
                                                         รายอาจทำไม่ได้เลย	 ทำให้ไม่มีฟันในการบดเคี้ยวอาหาร	 หรือแม้แต่
                                                         พฤติกรรมการแปรงฟัน	 หากมีความพิการทางมือ	 หรือการควบคุม
                                                         กล้ามเนื้อแขนและมืออาจทำให้การดูแลอนามัยในช่องปากไม่ดีพอ	
                                                         ดังนั้นจึงจัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้มีการดูแลสุขภาพช่องปากสำหรับ
                                                         คนพิการอย่างเป็นระบบ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้พิการ ตำบลจังหาร อ.จังหาร
ทพญ. มณฑลิกานต์ ปาระมี รพช. เวียงป่าเป้า จ.เชียงรายเคราะห์
                                                             	ค
  	           จากการสำรวจของสำนักงานสถิตแห่งชาติในปี	 พ.ศ.2550
                                                                                                                       ิ
                                                                              พบว่ า มี จ ำนวนคนพิ ก ารในประเทศไทยประมาณ	 1.9	
                                                             ล้านคน	โดยในจังหวัดเชียงรายมีคนพิการจำนวน	17,407	คน	และ
                                                             มีคนพิการในอำเภอเวียงป่าเป้าจำนวน	1,709	คน	ซึ่งกลุ่มคนพิการ
               อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย                    นี้ เ ป็ น กลุ่ ม ที่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ห ลายด้ า นตามพระราชบั ญ ญั ติ
                                                             ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ	 พ.ศ.	 2534	 เพื่อส่งเสริมให้คนพิการ
                                                             สามารถพึ่งตนเอง	 เป็นที่ยอมรับของสังคม	 และมีโอกาสเข้าร่วม
                                                             กิจกรรมของสังคมได้อย่างเท่าเทียมกับคนทั่วไป	 โดยการพัฒนา
                                                             และการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยวิธีการทางการแพทย์	 ทางการศึกษา	
                                                             ทางสังคม	 การฝึกอาชีพตลอดการแก้ไขปัญหาและขจัดอุปสรรค
                                                             ต่ า งๆทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมให้ แ ก่ ค นพิ ก าร	 รวมทั้ ง ให้ สั ง คมมี	
                                                             ส่วนร่วมในการเกื้อกูลและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ	
                                                                      	อย่ า งไรก็ ต ามแม้ ว่ า กลุ่ ม คนพิ ก ารจะได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์
                                                             บริการทางการแพทย์	 แต่ในปี	 พ.ศ.	2552	พบว่ามีผู้พิการในอำเภอ
                                                             เวี ย งป่ า เป้ า ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ บริ ก ารทั น ตกรรมสู ง มากกว่ า ร้ อ ยละ	 80	
                                                                                                                                              	
                                                             ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ปั ญ หาที่ ค วรดำเนิ น การพั ฒ นา	 การเข้ า ถึ ง บริ ก าร	
                                                             ทันตกรรมในคนพิการ	
                                                                      	จากปัญหาดังกล่าวฝ่ายทันตสาธารณสุขจึงได้จัดทำโครงการ
                                                             เติมรอยยิ้ม	 เพื่อให้ครอบครัวคนพิการเกิดทักษะในการดูแลทันต
                                                             สุขภาพ	 อีกทั้งอาสาสมัครผู้ดูแลคนพิการสามารถให้คำแนะนำทันต
                                                             สุขศึกษาที่เหมาะสมกับสภาวะของผู้ป่วย	 อันจะเป็นการส่งเสริมให้
                                                             คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้พิการ ตำบลจังหาร อ.จังหาร
     โดย ทพญ.ศศิธร ตาลอำไพ รพช.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด
                                                           ด้
 	 วย	ต.จังหาร	อ.จังหาร	จ.ร้อยเอ็ด	มีคนพิการในปี	2552	
                                                               	 ทั้งสิ้น	119	คนแบ่งเป็นคนพิการด้านการมองเห็น	19	คน	
                                                          ด้านการได้ยิน	 11	 คน	 ทางร่างกาย	 48	 คน	 ทางจิตใจ	 24	 คน	
                                                                                                                                                      	


                                                          พฤติกรรม	3	คน	ทางสติปัญญา	14	คน	แต่คนพิการเหล่านี้มีโอกาส
                                                          น้อยมากที่จะมารับบริการงานส่งเสริม	 ป้องกันทันตสุขภาพ	 ทำให้
                                                          ไม่ทราบว่าสภาวะทันตสุขภาพของประชากรในประชากรกลุ่มนี้
                                                          เป็นอย่างไร	มีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อสภาวะทันตสุขภาพ		
                                                               การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ
                                                          สภาวะทั น ตสุ ข ภาพของคนพิ ก ารในเขต	 ตำบล	 จั ง หาร	 อำเภอ	
                                                          จังหาร	จังหวัดร้อยเอ็ด	ในช่วงเดือนพฤษภาคม	พ.ศ	2553	ทำการ
                                                          สัมภาษณ์และตรวจฟันคนพิการจำนวน	 91	 คน	 พร้อมให้ความรู้	
                                                          ในการดู แ ลสุ ข ภาพช่ อ งปากและการแปรงฟั น	 หาความสั ม พั น ธ์	
                                                          เบื้องต้นระหว่าง	 2	 ตัวแปรโดยใช้การทดสอบไคว์สแควร์	 และการ
                                                          วิเคราะห์ความสัมพันธ์เพื่อหาค่าอัตราส่วนความเสี่ยงพร้อมทั้งช่วง
                                                          เชื่อมั่นที่ร้อยละ	 95	 ในสมการถดถอยลอจิสติก	 พบว่าในเบื้องต้น	
                                                          พฤติกรรมการทำความสะอาดฟัน	และการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
                                                          มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคฟันผุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ	 แต่
                                                          เมื่อนำมาวิเคราะห์ในสมการถดถอยลอจิสติก	 (multiple	 logistic	
                                                          regression	 model)	 พบว่าปัจจัยพฤติกรรมการทำความสะอาด
                                                          ฟัน	 และการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์	 ทั้งสองตัวไม่มีความสัมพันธ์
                                                          กับการเกิดโรคฟันผุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ	 ดังนั้นการแนะนำการ
                                                          ทำความสะอาดฟันและการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์จะเป็นวิธีหนึ่ง
                                                          ในการป้องกันการเกิดฟันผุ
โครงการการพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ
“สุขภาพช่องปาก” คนพิการทุกประเภท จังหวัดเชียงราย   	 เ
         นื่องจากคุณแม่ของข้าพเจ้าเป็นอัมพฤกษ์ซีกขวา	มาได้	
                                                                ประมาณ	6	ปี	แล้ว	ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ทั้งหมด	
                                                   ต้องอาศัย	wheel	chair	ในการเดินทาง	และเวลาปวดฟัน	คุณแม่
      โดย ทพญ.รพินท์ อบสุวรรณ สสจ. เชียงราย        อยากให้ ข้ า พเจ้ า ไปด้ ว ยทุ ก ครั้ ง	 เพราะ	 คุ ณ แม่ ก ลั ว การทำฟั น
                                                   ต้องการกำลังใจ	 และรู้สึกอุ่นใจจากลูกสาวทันตแพทย์	 ซึ่งข้าพเจ้า
                                                   อยู่ถึงจังหวัดเชียงรายขณะที่คุณแม่อยู่กรุงเทพ	 ข้าพเจ้าจะต้องหา
                                                   เวลาเพื่อพาคุณแม่ไปรักษาฟัน	 แต่เนื่องจากคุณแม่มีสุขภาพจิตดี
                                                   เยี่ยม	มีความสุขเพราะได้รับกำลังใจ	ความรัก	ความอบอุ่นจากลูกๆ
                                                   และญาติพี่น้องทุกคนในครอบครัว	 พวกเรารู้สึกว่าคุณแม่ดีวันดีคืน	
                                                   ข้าพเจ้าคิดเสมอว่า	แม้คณแม่จะป่วยกายแต่กชางมีบญจริงๆที	่ มีคนดูแล
                                                                           ุ                     ็่ ุ
                                                   อย่างยอดเยี่ยม	แต่สิ่งเดียวที่คุณแม่บ่นอยู่เสมอคือ	อยากเดินได้		
                                                   	 จึงทำให้ข้าพเจ้าเข้าใจและรู้ซึ้งกับประโยคที่ว่า	 ความพิการคือ
                                                   ความไม่สะดวก	 ไม่ใช่ไม่สบาย	 แล้วคนพิการคนอื่นๆล่ะ	 เขาจะเป็น
                                                   อย่างไรและมีโอกาสอย่างคุณแม่เราหรือไม่	 ข้าพเจ้าเชื่อว่าน้อยมาก	
                                                   ข้าพเจ้าจึงตั้งคำถามนี้อยู่เสมอ	 และต้องการหาคำตอบพร้อมกับคิด
                                                   หาทางที่จะหยิบยื่น	สิ่งที่คิดว่าดี	 และเหมาะสมให้คนพิการอื่นๆ	สิ่ง
                                                   เดียวที่ข้าพเจ้าคิดว่าอาจจะหาคำตอบได้คือ	 การไปเยี่ยมบ้าน	 คน
                                                   พิการเหล่านั้น	พร้อมกับสร้างเครือข่ายช่วยกันทำงาน		
                                                   	 ข้าพเจ้าทำหน้าที่ทันตแพทย์	 สสจ.	 ในเรื่องคนพิการอย่างเต็ม
                                                   ที่	 เพื่อให้บรรลุความตั้งใจ	 เริ่มแรกเราจึงเริ่มด้วยการเยี่ยมบ้านคน
                                                   พิการ	 การไปเยี่ยมบ้านผู้พิการนั้นเสมือนหนึ่งไปเยี่ยมญาติ	 ด้วย
                                                   มิตรไมตรี	 ทำความรู้จักกันก่อน	 ด้วยความละเอียดอ่อน	 เป็นการ
                                                   ทำความรู้จักซึ่งกันและกัน	 โดยเป็นความร่วมมือกันระหว่าง	 ทันต
                                                   บุคลากร	พร้อม	สหวิชาชีพ	เจ้าหน้าที่	 รพ.สต.	,	อบต.,	อสม.	,คน
                                                   พิการและผู้ดูแล	และบุคคลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
โครงการสรรค์สร้างรอยยิ้มสู่คนพิการป่าบอน อ.ป่าบอน
“สุขภาพช่องปาก” คนพิการทุกประเภท จังหวัดเชียงราย
                                                         ค
                                                         	
                                                                	 นพิการในอำเภอป่าบอนที่มาขอขึ้นทะเบียนคนพิการจาก	
                                                                        กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีจำนวน	
                                                         578	 คน	 แต่ในทางปฏิบัติคนพิการยังไม่ได้รับการส่งเสริมคุณภาพ
                                                         ชีวิตและยังไม่ได้รับการฟื้นฟูทุกด้านอย่างจริงจังจากภาครัฐและ
ทันตแพทย์หญิง พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ รพช.ป่าบอน จ.พัทลุง   สังคม	 ทั้งๆที่กลุ่มคนพิการต้องการปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดำรง
                                                         ชี วิ ต มี สิ ท ธิ ใ นความเป็ น มนุ ษ ย์ เ หมื อ นคนปกติ ทั่ ว ไป	 คนพิ ก าร	
                                                         บางคนอาจมีความสามารถหลายๆด้านซึ่งถ้าได้รับการพัฒนาให้มี
                                                         ศักยภาพ	อาจทำประโยชน์และช่วยพัฒนาสังคมได้	 ดังนั้นคนพิการ
                                                         เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สมควรได้รับความสนใจและพัฒนาส่งเสริม
                                                         ให้เกิด	 สภาวะความสมบูรณ์ทางร่างกาย	 จิตใจ	 สังคม	 และไม่ใช่
                                                         เพียงแต่การไม่เป็นโรคและไม่ทุพลภาพเท่านั้น		
                                                                	ในการดูแลสุขภาพคนพิการแบบองค์รวม	จึงจำเป็นต้องได้รับ
                                                         ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน	 และการทำงานเป็นทีมสหวิชาชีพ	
                                                         อย่ า งไรก็ ต ามสำหรั บ งานทั น ตสาธารณสุ ข ที่ จั ด ทำงานส่ ง เสริ ม
                                                         ป้ อ งกั น ด้ า นทั น ตสุ ข ภาพในชุ ม ชนนั้ น ยั ง ไม่ มี ก ารส่ ง เสริ ม ทั น ต
                                                         สุขภาพในคนพิการอย่างจริงจัง	 เป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง	 ซึ่งจัดได้
                                                         ว่ากลุ่มคนพิการจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างเท่าเทียมเฉกเช่น
                                                         เดียวกับบุคคลอื่นในสังคมและเป็นการดูแลทันตสุขภาพสำหรับคน
                                                         พิการเพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะของความพิการนั้น	 และการดูแล
                                                         ควรเป็นไปอย่างทั่วถึงและยั่งยืน	 รวมถึงผู้ใกล้ชิดที่มีหน้าที่รับผิด
                                                         ชอบดูแลกลุ่มคนพิการมีความรู้และทักษะในการดูแลทันตสุขภาพ	
                                                                	จากปัญหาดังกล่าวฝ่ายทันตสาธารณสุข	รพ.ป่าบอน	จึงได้จัด
                                                         ทำโครงการสรรค์สร้างรอยยิ้มสู่คนพิการป่าบอน	 เพื่อให้ครอบครัว
                                                         คนพิการเกิดทักษะในการดูแลทันตสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
                                                         แบบองค์ ร วมโดยสหวิ ช าชี พ ตามความเหมาะสมของสภาวะคน
                                                         พิการ	เพื่อให้คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กพิการ
ในโรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา จังหวัดสงขลา ปี 2553     	โ
  	       รงพยาบาลสงขลา	 มี ค นพิ ก ารที่ ขึ้ น ทะเบี ย นกั บ	
                                                                โรงพยาบาลสงขลา	จำนวน	2224	คน	ในกลุ่มนี้	 เป็นเด็ก
                                                   พิการด้านสติปัญญา	 ในโรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา	 จำนวน	335	
  โดย ทพญ.พรทิพย์ แก้วประดิษฐ์ รพท.สงขลา จ.สงขลา   คน	 ซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม เด็ ก พิ ก ารทางสติ ปั ญ ญา	 ที่ เ ป็ น ระดั บ อนุ บ าล	      	
                                                   จนถึ ง ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่	 6	 ซึ่ ง เด็ ก พิ ก ารกลุ่ ม นี้ ยั ง ขาดการดู แ ล	
                                                                                                                                        	
                                                   ทันตสุขภาพ	 ตามสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม	 ซึ่งประกอบด้วย
                                                   บริการทันตกรรมพื้นฐาน	 การบริการส่งเสริมและป้องกันโรคใน	
                                                   ช่ อ งปาก	 ในสถานบริ ก าร	 รวมถึ ง การได้ รั บ การดู แ ลจากผู้ ดู แ ล	               	
                                                   และผู้ ป กครองของเด็ ก พิ ก าร	 กลุ่ ม งานทั น ตกรรมโรงพยาบาล
                                                   สงขลา	 จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กพิการใน
                                                   โรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา	 ประจำปี	 2553	 ขึ้นมา	 เพื่อให้ผู้ดูแล
                                                   เด็ก	 ผู้ปกครองและ	 ครอบครัว	 ที่เป็นผู้รับผิดชอบเด็กพิการกลุ่มนี้	
                                                   ได้ เ กิ ด ความตระหนั ก ในการดู แ ลทั น ตสุ ข ภาพ	 และเด็ ก พิ ก าร
                                                   สามารถเข้ า ถึ ง การบริ ก ารทั น ตกรรมมากยิ่ ง ขึ้ น	 อั น จะเป็ น การ	
                                                   ส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น	
                                                         	ผลงาน	“Implementation	of	Oral	Health	Program	in	
                                                   School	for	Mentally	Challenged	Children:	a	Case	Study	
                                                   in	 Southern	 Thailand”	 ได้รับคัดเลือกไปนำเสนอในงาน	 Asia-
                                                   Pacific	 CBR	 Convention	 2010	 Kuala	 Lumper,	 Malaysia	
                                                   13th-15th	Nov	2010
โครงการสร้างเสริมทันตสุขภาพผู้พิการโดยการมีส่วนรวม
        ของชุมชน ในอ.เวียงแก่น จ.เชียงราย
                                                     	
                                                     	
                                                      ก
   	 ารทำงานนี้พวกเราร่วมกันวางเป้าหมาย	---	หนึ่ง	การ	
                                                                   ยอมรับในคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ	และทุติยภูมิใน	
                                                                   การดูแลผู้พิการและผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน	 “คนทำงาน
                                                     ระบบบริการของเรา	 สามารถมีส่วนร่วมในการช่วยให้ผู้พิการดูแล
                                                                                                                                 	
                                                                                                                                 	


  โดย ทพญ. พจนา พงษ์พานิช รพช.เวียงแก่น จ.เชียงราย   ตัวเอง	เยียวยาตัวเองได้”	---	สอง	การยอมรับในคุณค่าและศักดิ์ศรี	
                                                     “คนทำงานเครื อ ข่ า ยในชุ ม ชน	 ผู้ พิ ก ารและญาติ ”	 รวมถึ ง การ	           	
                                                     “รู้จักตนเอง	 รู้จักเพื่อน	 =	 รู้ว่าใครเป็นใคร	 แล้วเราจะเปลี่ยนท่าที
                                                     ในการทำงาน”	 นอกจากนั้นยังเป็นการทำงานเพื่อศึกษาเรียนรู้
                                                     พฤติกรรมผู้พิการ	ญาติ	 ครอบครัว	ชุมชน	คนทำงานยังต้อง	ขยาย
                                                     เครือข่ายสู่การดูแลผู้พิการโรคเรื้อรังในชุมชน	และนำเครือข่าย	เข้า
                                                     มามีส่วนร่วมในการดูแลป่วยร่วมกัน	 จนถึงการสร้างเสริมศักยภาพ
                                                     ของผูพการ	ผูปวยโรคเรือรัง	และญาติในชุมชนแบบ	“เพือนช่วยเพือน”
                                                             ้ ิ         ้ ่    ้                                  ่          ่
                                                           	คนทำงานที่ ม ารวมกลุ่ ม กั น ออกเยี่ ย มบ้ า น	 นอกจากภาระ
                                                     หน้าที่จากงานประจำแล้ว	 ทีมงานยังให้ความสำคัญกับ	 Heart	
                                                     Head	Hand	--	หนึ่ง	หัวใจของคนทำงาน	(Heart)	ทีมงานชวนกัน
                                                     ทำ	(Snow	ball)	ส่วนใหญ่คนทำงานที่มาร่วมกันมีความชอบ	ใส่ใจ
                                                     ในผู้ ป่ ว ย	 อาสาสมั ค รใจเข้ า มาทำงานร่ ว มกั น	 สอง	 Head	               	
                                                     การวางแผน	 การบริหารจัดการ	 ทีมงานมีการประสานงาน	 ติดต่อ
                                                     กันแบบไม่เป็นทางการระหว่างสมาชิกในทีม	 ต่างคนต่างช่วยกัน
                                                     ตระเตรียมพื้นที่	 และการแจ้งข่าวกับผู้ป่วย	ข้อมูลผู้ป่วย	การบันทึก
                                                     ข้ อ มู ล ผู้ ป่ ว ย	 การเตรี ย มรถออกเยี่ ย มบ้ า น	 ระยะแรกมี ปั ญ หา
                                                     อุปสรรค	 การเชื่อมโยงข้อมูลกันของสถานีอนามัย	 และ	 สหวิชาชีพ
                                                     ด้วยกัน	 การวางแผนออกเยี่ยมบ้านยังไม่ครอบคลุม	 เจ้าหน้าที่ยัง
                                                     ขาดองค์ความรู้	 และทักษะการจัดการปัญหาเฉพาะหน้า	 ทีมงาน
                                                     ปรั บ ปรุ ง	 และแก้ ไขด้ ว ยการพู ด คุ ย กั น มากขึ้ น	 ปรั บ ทั ศ นคติ	 ถอด
                                                     ประสบการณ์	 บทเรียนการทำงานทุกครั้งหลังการออกเยี่ยมบ้าน
                                                     เสร็จในแต่ละครัง	ควบคูกนไปกับ	--	สาม	การลงมือทำ	(Hand	ฃ)	
                                                                             ้    ่ั
โครงการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการด้านสุขภาพช่องปาก
            อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
                                                        	 เ
 	       ป็ น พื้ น ที่ น ำร่ อ งสร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต คนพิ ก ารด้ า น			
                                                                     สุขภาพช่องปากอำเภอโพนทอง	 โดยได้รับงบสนับสนุน
                                                        จาก	สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ	สพพ.	พัฒนาสอดคล้องไป
                                                        กับโครงการ	 delay	 development	 child	 ในโครงการ	 CUP	
  โดย ทพญ.เยาวภา จันทรบุตร รพช.โพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด   ทำงานเชิงบูรณาการ	ร่วมกับทีมสุขภาพและเครือข่ายอื่นๆ		
                                                              โรงพยาบาลโพนทอง	 ได้ลงเยี่ยมบ้าน	 เป็นกำลังใจ	 ให้กับทีม
                                                        งานในพื้ น ที่	 และมอบรถเข็ น ให้ กั บ คนพิ ก าร	 (ประเด็ น เริ่ ม จาก	            	
                                                        อสม.เชี่ยวชาญทันตฯเข้าไปดูแลฟันคนพิการ	 ซึ่งมีปัญหาด้านการ
                                                        เคลื่อนไหว	 และสอน	 ญาติดูแลฟัน	 คนพิการเนื่องจากแปรงฟันเอง
                                                        ไม่ได้	 แต่เจอปัญหารุนแรงด้านสุขาพจิต	คือ	ผู้พิการกัดนิ้วมือทุกนิ้ว	
                                                        มี แ ผลเรื้ อ รั ง	 )	 เคสนี้	 เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของกองทุ น สุ ข ภาพตำบล	     	
                                                        อุ่มเม่า	 ในการนำร่องพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ	 ในเครือข่าย
                                                        บริการปฐมภูมิ	 อำเภอโพนทอง	 ประเด็นช่องปากกับคุณภาพชีวิต
                                                        คนพิ ก าร	 อสม.เชี่ ย วชาญทั น ตฯในพื้ น ที่	 และทั น ตบุ ค ลากรที่	
                                                        ลงไปทำงานในแต่ละวัน	 สามารถ	 ทำหน้าที่	 CEOในชุมชน	 ค้นหา
                                                        ปั ญ หาสุ ข ภาพ	 อื่ น ๆควบคู่ ไ ปกั บ การดู แ ลสุ ข ภาพช่ อ งปาก	 เกิ ด	
                                                        การประสานความร่วมมือ	 ระหว่าง	 ชุมชน	 ผู้นำชุมชน	 หน่วยงาน
                                                        หรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง	ผู้บริหารระดับสูง	ที่สำคัญ	คือ	อปท.	ได้มา
                                                        ร่วมดูแลสุขภาพของคนในชุมชนมากขึ้น	 (เน้นกลุ่มผู้พิการ	 และ	                        	
                                                        ผูดอยโอกาส)	 กองทุนสุขภาพตำบลในแต่ละท้องถินเห็นความสำคัญ	
                                                          ้้                                                          ่
                                                        และมีนโยบายด้านสุขภาพชัดเจนขึ้นเจ้าหน้าที่สาธารณสุข	ในแต่ละ
                                                        พื้นที่สามารถ	เข้าไปมีบทบาทสำคัญในการดำเนินกิจการกองทุน
โครงการทันตกรรมเอื้ออาทร สำหรับผู้พิการ รพ.สต.ตะปาน
 เครือข่ายสุขภาพ รพ.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี   	จ
  	        ากการสำรวจของสำนั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ ใ น	
                                                                       ปี	 พ.ศ.2550พบว่ามีจำนวนผู้พิการในประเทศ
                                                         ไทยประมาณ	 1.9	 ล้านคน	 โดยในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีผู้
      โดย ทพ.ชูเกียรติ พุทธานันทเดช รพช.ท่าโรงช้าง       พิการจำนวน	 12,548	 คน	 และมีผู้พิการในอำเภอพุนพิน
                                                         จำนวน	 1,078	 คน	 ในจำนวนนี้เป็นผู้พิการในตำบลตะ
                  อ.พุนพิน จ.สุราษฎ์ธานี                 ปาน	53	คน		
                                                               แม้ ว่ า กลุ่ ม คนพิ ก ารจะได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ต าม	
                                                         พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ	 พ.ศ.2534	 แต่
                                                         จากการสำรวจการเข้ า ถึ ง บริ ก ารทางการแพทย์ ข อง	
                                                         ผู้พิการ	 พบว่ามีผู้พิการในอำเภอพุนพิน	 โดยเฉพาะใน
                                                         ตำบลตะปานที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ บริ ก ารทั น ตกรรมสู ง มากกว่ า	
                                                         ร้อยละ	 90	 ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาที่ควรดำเนินการพัฒนา	
                                                         การเข้าถึงบริการ	ทันตกรรมในผู้พิการ	
                                                               		ฝ่ า ยทั น ตสาธารณสุ ข โรงพยาบาลท่ า โรงช้ า ง	          	
                                                         จึงได้จัดทำโครงการทันตกรรมเอื้ออาทร	 สำหรับผู้พิการ	
                                                         รพ.สต.ตะปาน	 ขึ้ น เพื่ อ ให้ ค รอบครั ว ผู้ พิ ก ารเกิ ด ทั ก ษะ	
                                                         ในการดูแลทันตสุขภาพ	 อีกทั้งอาสาสมัครสาธารณสุข
                                                         ประจำหมู่ บ้ า นสามารถให้ ค ำแนะนำในการดู แ ล	
                                                         ทันตสุขภาพที่เหมาะสมกับสภาวะของผู้ป่วย	และที่สำคัญ
                                                         เป็ น การสนองนโยบายของรั ฐ บาลในการเพิ่ ม ศั ก ยภาพ	
                                                         โรงพยาบาลตำบลอีกด้วย
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กพิการในศูนย์การศึกษา   	
                                                        ศู
 	           นย์การศึกษาพิเศษ	ประจำจังหวัดน่าน	เป็น	
                                                                        ศู น ย์ บ ริ ก ารช่ ว ยเหลื อ ในระยะแรกเริ่ ม	 ฟื้ น ฟู	
           พิเศษประจำจังหวัดน่าน ปี 2553               เตรียมความพร้อมเด็กพิการทุกประเภท	 เพื่อการส่งต่อไป
                                                       ยังโรงเรียน	 หรือ	 สถานบริการที่เหมาะสมกับเด็ก	 อีกทั้ง
      โดย ทพญ.สุรีรัตน์ สูงสว่าง รพท.น่าน จ.น่าน       บริ ก ารวิ ช าการ	 บริ ก ารและความช่ ว ยเหลื อ ต่ า งๆ	 เด็ ก
                                                       พิการที่มารับบริการที่ศูนย์นี้	 มีทั้งประเภทที่มาเป็นประจำ	
                                                       และประเภทที่เด็กโดยปกติอยู่ที่บ้านแต่มารับบริการเป็น
                                                       บางครั้ง	สำหรับการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กในศูนย์นี้
                                                       พบว่ายังไม่เคยมีการดำเนินงานมาก่อน	 เด็กที่เคยได้รับ
                                                       บริการทางทันตกรรมจะมีเพียงบางคนที่ผู้ปกครองนำไป
                                                       รักษาที่สถานบริการเมื่อเกิดปัญหาในช่องปากเท่านั้น		
                                                             ทั้ ง ที่ ก ลุ่ ม คนพิ ก าร	 เป็ น กลุ่ ม เป้ า หมายหนึ่ ง ตามชุ ด	
                                                       สิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม	 ซึ่งชุดสิทธิประโยชน์ทาง	
                                                       ทั น ตกรรมนั้ น	 ประกอบด้ ว ยบริ ก ารทั น ตกรรมพื้ น ฐาน	               	
                                                       การบริการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปาก	 ทั้งในสถาน
                                                       บริ ก ารและในชุ ม ชน	 ให้ แ ก่	 กลุ่ ม เป้ า หมายสำคั ญ	
                                                       แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามกลุ่ ม คนพิ ก ารในจั ง หวั ด น่ า นที่ ไ ด้ รั บ
                                                       บริการตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรมยังมีจำนวน	
                                                       ไม่มาก	 กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลน่าน	 ร่วมกับกลุ่ม
                                                       งาน	 ทันตสาธารณสุข	 สำนักงานสาธารณสุข	 จังหวัดน่าน	
                                                       จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึง
                                                       การบริการทันตกรรมมากยิ่งขึ้นต่อไป
  
                                                            
 ่มต้นที่ 
                                
   โครงการพัฒนาระบบการดูแลทันตสุขภาพกลุ่มผู้พิการเริ   ช่องปาก สู่ภาพองค์
         รวม อำเภอศรีสงคราม จ.นครพนม ประจำปีงบประมาณ 2553 
      



                                                                  ใ
                                                                             
                                                                                                                                     
 โดย ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ รพช.ศรีสงคราม จ.นครพนม                           นระยะที่ผ่านมาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ	
                                                                        	   านข่า	อ.ศรี 	
                                                                               ตำบลบ้ สงคราม	ได้จัดทำโครงการเยี่ยม	
                                                                                                                                           	

                                                                 	          บ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
                                                                                   ในชุมชน	 พบว่า	 กลุ่มผู้พิการ	
                                                                 ในชุมชนซึ่งมีทั้งหมด	 จำนวน	 168	 คน	 ไม่ได้ ั ก     
                                                                                 รบการบริ าร
                                                                 ทางการแพทย์ แ ละมี ก แ ลสุ ข ภาพที่ ไ ม่ ดี เ ท่ค วร	   
                                                                              
                                                                                                       ารดู    า ที่  	
                                                                 อันเนืองมาจากภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว	ความห่างไกลจาก
                                                                         ่
                                                                 สถานบริการสุขภาพ	ทำให้ผ  ท้อแท้	 
                                                                               ู้พิการเกิดความเครียด	 
                                                                 หมดกำลั ใจและข้ อ จำกั ด อี ก ด้ นหนึ่ ง ของการให้ 
                                                                            ง  า   บ ริ ก าร	
                                                                                 
                                                                เยี่ ย มบ้ า น	อเพีงเนื่ อ งจากผู้ พ
                                                                              คื อ	 บุ ค ลากรไม่ พ   ย   ิ ก าร	
                                                                                                         
                                                                 เป็นกลุ่มที่ต้องดูแลในหลายด้าน	 ต้องใช้เวลาและความต่ อ
                                                                             
                                                                 เนื่ อ งมาก	 ดั ง นั้ น ตั ว ผู้ ดู แ ลจึ ง เป็ น ตั ว แปรสำคัญ 	 การพัฒนา
                                                                 ศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการในชุม เป็นงานการดูแลสุ
                                                                             ชน	 ถือ ขภาพ
                                                                 ของประชาชนในชุมชน	 ามีก   ูแลตรงนี   
                                                                                ถ้  ารพัฒนาศักยภาพผู้ด   ้
                                                                 ได้	 และทำให้เ่ชัดเจน	 จะส่ผลให้ 
                                                                             ป็นรูปแบบที  ง  ผู้พิการและ
                                                                 สมาชิกในครอบครัวสามารถดูแลกันเองในครอบครัวได้และ
                                                                 เกิดความยัยืนขึ้น	  
                                                                            ่ง                
                                                                      โครงการนี   พื่อให้  ารทันต 
                                                                                    ้จึงมีวัตถุประสงค์เ   เกิดการจัดบริก
                                                                                                  
                                                               สุขภาพที่เหมาะสมและเชื่อมโยงกันทั้งการส่งเสริมป้องกัน	
                                                                 รักษา	และฟื    พัฒนาศักยภาพผู้ 
                                                                            
                                                                                ้นฟูทันตสุขภาพผู้พิการ	ร่วมกับ       
                                                                                                                                 
                                                                 ดูแลผู้พิก าร	 อันจะเป็นระบบงานตัอย่  ่
                                                                               ว  างขยายสู่พื้นที่อื่นทัว
                                                                 ทั้งอำเภอศรีสงคราม	 วข้องตระหนักถึงความ 
                                                                            ต่อยอดให้ผู้เกี่ย 
                                                                 สำคัญของผู้พิการในชุมชน	อั      
                                                                                   นจะก่อให้เกิดโครงการด้านอื่นๆ
                                                                                              
                                                                 ให้กับผู้พิการต่อไป	
                                                                           
                                                                             
                                                                                                      
                                                        
โครงการพัฒนางานทันตสาธารณสุขเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต
          คนพิการ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
                                                       	แ
  	      นวคิ ด หลั ก ที่ ส ำคั ญ	 ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด โครงการ	
                                                                   ทั น ตสุ ข ภาพในกลุ่ ม คนพิ ก าร	 ในเขตอำเภอ
                                                       ระโนด	 จังหวัดสงขลา	 คือ	 พัฒนางานทันตสาธารณสุข	
                                                       เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ	 และการเข้าถึงบริการ
   ทันตาภิบาล ทัณฑิกา สุขจันทร์ รพช.ระโนด จ.สงขลา      สาธารณสุ ข และความทุ ก ข์ ท รมานอั น มี ส าเหตุ ม าจาก	
                                                       โรคในช่องปาก	 เนื่องจากกลุ่มคนพิการ	 มีปัญหาข้อจำกัด
                                                       ทางด้านร่างกาย	 และสังคม	 ในการเข้าถึงบริการที่รัฐจัด	
                                                       ให้มีส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาด้านสุขภาพ	 โดยเฉพาะ
                                                       อย่างยิ่งปัญหาด้านทันตสุขภาพ	 ซึ่งจัดเป็นปัญหาเรื้อรัง
                                                       ตลอดช่วงชีวิต	 เป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด	 ทุกข์
                                                       ทรมาน	 เป็ น สาเหตุ ส ำคั ญ ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพ
                                                       ร่างกาย	และคุณภาพชีวิต		
                                                             ในการดูแลสุขภาพคนพิการแบบองค์รวม	 จึงจำเป็น
                                                       ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน	 และการทำงาน
                                                       เป็นทีมสหวิชาชีพ	อย่างไรก็ตามสำหรับงานทันตสาธารณสุข	
                                                       ที่จัดทำงานส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพในชุมชนนั้น
                                                       ยังไม่มีการส่งเสริมทันตสุขภาพในคนพิการ	 ซึ่งจัดได้ว่า
                                                       กลุ่ ม คนพิ ก ารจำเป็ น ต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลอย่ า งเท่ า เที ย ม	
                                                       เฉกเช่ น เดี ย วกั บ บุ ค คลอื่ น ในสั ง คม	 และเป็ น การดู แ ล	
                                                       ทันตสุขภาพสำหรับคนพิการเพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะ
                                                       ของความพิการนั้น	 และการดูแลควรเป็นไปอย่างทั่วถึง
                                                       และยั่งยืน	 รวมถึงผู้ใกล้ชิดที่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลกลุ่ม
                                                       คนพิการ	 ให้มีความรู้และทักษะในการดูแลทันตสุขภาพ
                                                       มากยิ่งขึ้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากtechno UCH
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ Nithimar Or
 
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...cmucraniofacial
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...cmucraniofacial
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนBallista Pg
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
สรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุขสรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุขTee Dent
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม Dr.Suradet Chawadet
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กอบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กBallista Pg
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับdentyomaraj
 
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53Nithimar Or
 

Was ist angesagt? (17)

Fluoride 2553
Fluoride 2553Fluoride 2553
Fluoride 2553
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
 
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอน
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
สรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุขสรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุข
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
͹ѹآ֡ 1950
͹ѹآ֡  1950͹ѹآ֡  1950
͹ѹآ֡ 1950
 
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กอบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
 
Dental assistant course MU
Dental assistant course MUDental assistant course MU
Dental assistant course MU
 
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
 

Ähnlich wie ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ

ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.Utai Sukviwatsirikul
 
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรงสูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรงjitisak poonsrisawat, M.D.
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
Presentation final project
Presentation final projectPresentation final project
Presentation final projectssusera76f74
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health PonetongNithimar Or
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
แนวทางการดำเนินงานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน ปี...
แนวทางการดำเนินงานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน ปี...แนวทางการดำเนินงานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน ปี...
แนวทางการดำเนินงานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน ปี...Kosin Jind
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุgel2onimal
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 

Ähnlich wie ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ (20)

Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
 
Osdop swat
Osdop  swatOsdop  swat
Osdop swat
 
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรงสูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
Pochai
PochaiPochai
Pochai
 
Presentation final project
Presentation final projectPresentation final project
Presentation final project
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
แนวทางการดำเนินงานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน ปี...
แนวทางการดำเนินงานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน ปี...แนวทางการดำเนินงานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน ปี...
แนวทางการดำเนินงานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน ปี...
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 

Mehr von Nithimar Or

Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Nithimar Or
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Nithimar Or
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Nithimar Or
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospitalNithimar Or
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ CopyNithimar Or
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานNithimar Or
 
Oral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmaiOral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmaiNithimar Or
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 

Mehr von Nithimar Or (20)

Ummoua1
Ummoua1Ummoua1
Ummoua1
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
Ummoua3
Ummoua3Ummoua3
Ummoua3
 
Ll101
Ll101Ll101
Ll101
 
Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospital
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54
 
Cross sectional
Cross sectionalCross sectional
Cross sectional
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
 
Plan11
Plan11Plan11
Plan11
 
Plan1 11
Plan1 11Plan1 11
Plan1 11
 
Oral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmaiOral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmai
 
ระบาด
ระบาดระบาด
ระบาด
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 

ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ

  • 1. โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้พิการ ตำบลบ้านจันทร์ โดย ทันตแพทย์ พูลพฤกษ์ โสภารัตน์ จ ากการดำเนินงานผ่านกิจกรรมการเยี่ยมบ้าน ทำให้พบกลุ่ม ผู้ด้อยโอกาสในสังคม มีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการในรูปแบบปกติ ได้แก่ กลุ่มคนพิการ โดยในเขตตำบลบ้านจันทร์มีประมาณ 30 ราย โรงพยาบาลวัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จ.เชียงใหม่ แต่ ล ะรายก็ มี ร ะดั บ ความพิ ก ารแตกต่ า งกั น ตั้ ง แต่ พ อช่ ว ยตั ว เอง ได้บ้าง เช่น อัมพาตบางส่วน ขาพิการ จนถึงไม่สามารถดูแลตนเอง ได้ ได้แก่ เด็กที่มีภาวะ Hy drocephalous นอกจากนี้ในการ ติดตามเยี่ยมแต่ละครั้งไม่มีผู้ดูแลหลักในการร่วมวางแผนการดูแล ต่อเนื่อง การให้ความรู้ในการดูแลทันตสุขภาพยังมีน้อย และ ยังมี ผู้พิการบางส่วนที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ สาเหตุหนึ่งมาจาก การเจ็บป่ว่ย และมีความจำกัดในการเคลื่อนไหว ขาดพาหนะรับส่ง ทำให้มีคนพิการที่อาจมีปัญหาสุขภาพช่องปากไม่ได้รับความสนใจ หรือแก้ไขปัญหาทันตกรรมสุขภาพเท่าที่ควร ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ ทำให้ผ่ายทันตสาธารณสุขเห็นความ สำคัญที่จะต้องจัดกิจกรรมขึ้นมาเพื่อดูแลคนพิการเป็นพิเศษ จึงได้ จัดทำ “โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในคนพิการ” ขึ้น เพื่อส่งเสริม และให้การรักษาทางทันตกรรม ตลอดจนพัฒนาทักษะในการดูแล สุขภาพช่องปากของคนพิการเอง และญาติ เพื่อให้เกิดประโยชน์ กับตัวคนพิการและครอบครัว ช่วยให้คนพิการมีอายุยืนยาวอย่างมี คุ ณ ภาพ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี มี ค วามสามารถสู ง สุ ด เต็ ม ศั ก ยภาพ ในการทำหน้าที่ ประกอบกิจวัตรประจำวัน และรับรู้ถึงความมี คุณค่าแห่งตน อันเป็นภาวะสุขภาพที่พึงปรารถนา
  • 2. โครงการดูแลทันตสุขภาพคนพิการในเขตตำบลแม่กรณ์ โดย ทันตแพทย์หญิงศรินทิพย์ ปิติวัฒน์สกุล ค คนพิการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย ซึ่งมีจำนวนเพิ่ม มากขึ้ น จากการที่ ป ระชากรขาดความรู้ ใ นการดู แ ล สุขภาพตนเองอย่างถูกต้อง สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยที่ไม่เหมาะสม สภาวะทางเศรษฐกิจ ปัญหาในครอบครัว ประเภทของความพิการ รพศ. เชียงรายประชานุเคราะห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อสุขภาพของคนพิการ การดูแลสุขภาพของ คนพิการควรเริ่มตั้งแต่ที่บ้าน ซึ่งเป็นสถาบันหลักสำหรับคนพิการ ผู้ดูแลควรเป็นคนในครอบครัวซึ่งมีเวลาและความอาทรให้กับคน พิการเมื่อเกิดปัญหาทางสุขภาพ คนพิการควรมีโอกาสที่จะเข้ารับ บริการได้โดยสะดวก สถานพยาบาลควรมีลักษณะเอื้อต่อคนพิการ ในการเข้ารับบริการ ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นได้ให้ความ ร่วมมือเป็นอย่างดี เช่นจัดสรรงบประมาณในการดูแลสุขภาพ และ จั ด หารถรั บ ส่ ง คนพิ ก ารเมื่ อ มี ปั ญ หาด้ า นสุ ข ภาพ แต่ ยั ง ขาดการ พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ด้ า นการดู แ ลคนพิ ก าร และการแก้ ปั ญ หาใน ระยะยาว การดู แ ลสภาวะในช่ อ งปากของคนพิ ก ารเป็ น ปั จ จั ย สำคั ญในการทำให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข เพื่อให้ สามารถทานอาหารได้ครบทุกหมู่ ซึ่งจะส่งผลต่อระบบย่อยอาหาร ให้ร่างกายได้รับสารอาหารครบถ้วน ระบบขับถ่ายดี การบูรณะฟัน เพื่อให้คนพิการได้กลับมาเคี้ยวอาหารได้ดีดังเดิมทำได้ยาก หรือบาง รายอาจทำไม่ได้เลย ทำให้ไม่มีฟันในการบดเคี้ยวอาหาร หรือแม้แต่ พฤติกรรมการแปรงฟัน หากมีความพิการทางมือ หรือการควบคุม กล้ามเนื้อแขนและมืออาจทำให้การดูแลอนามัยในช่องปากไม่ดีพอ ดังนั้นจึงจัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้มีการดูแลสุขภาพช่องปากสำหรับ คนพิการอย่างเป็นระบบ
  • 3. โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้พิการ ตำบลจังหาร อ.จังหาร ทพญ. มณฑลิกานต์ ปาระมี รพช. เวียงป่าเป้า จ.เชียงรายเคราะห์ ค จากการสำรวจของสำนักงานสถิตแห่งชาติในปี พ.ศ.2550 ิ พบว่ า มี จ ำนวนคนพิ ก ารในประเทศไทยประมาณ 1.9 ล้านคน โดยในจังหวัดเชียงรายมีคนพิการจำนวน 17,407 คน และ มีคนพิการในอำเภอเวียงป่าเป้าจำนวน 1,709 คน ซึ่งกลุ่มคนพิการ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย นี้ เ ป็ น กลุ่ ม ที่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ห ลายด้ า นตามพระราชบั ญ ญั ติ ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 เพื่อส่งเสริมให้คนพิการ สามารถพึ่งตนเอง เป็นที่ยอมรับของสังคม และมีโอกาสเข้าร่วม กิจกรรมของสังคมได้อย่างเท่าเทียมกับคนทั่วไป โดยการพัฒนา และการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยวิธีการทางการแพทย์ ทางการศึกษา ทางสังคม การฝึกอาชีพตลอดการแก้ไขปัญหาและขจัดอุปสรรค ต่ า งๆทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมให้ แ ก่ ค นพิ ก าร รวมทั้ ง ให้ สั ง คมมี ส่วนร่วมในการเกื้อกูลและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ อย่ า งไรก็ ต ามแม้ ว่ า กลุ่ ม คนพิ ก ารจะได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ บริการทางการแพทย์ แต่ในปี พ.ศ. 2552 พบว่ามีผู้พิการในอำเภอ เวี ย งป่ า เป้ า ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ บริ ก ารทั น ตกรรมสู ง มากกว่ า ร้ อ ยละ 80 ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ปั ญ หาที่ ค วรดำเนิ น การพั ฒ นา การเข้ า ถึ ง บริ ก าร ทันตกรรมในคนพิการ จากปัญหาดังกล่าวฝ่ายทันตสาธารณสุขจึงได้จัดทำโครงการ เติมรอยยิ้ม เพื่อให้ครอบครัวคนพิการเกิดทักษะในการดูแลทันต สุขภาพ อีกทั้งอาสาสมัครผู้ดูแลคนพิการสามารถให้คำแนะนำทันต สุขศึกษาที่เหมาะสมกับสภาวะของผู้ป่วย อันจะเป็นการส่งเสริมให้ คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
  • 4. โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้พิการ ตำบลจังหาร อ.จังหาร โดย ทพญ.ศศิธร ตาลอำไพ รพช.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด ด้ วย ต.จังหาร อ.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด มีคนพิการในปี 2552 ทั้งสิ้น 119 คนแบ่งเป็นคนพิการด้านการมองเห็น 19 คน ด้านการได้ยิน 11 คน ทางร่างกาย 48 คน ทางจิตใจ 24 คน พฤติกรรม 3 คน ทางสติปัญญา 14 คน แต่คนพิการเหล่านี้มีโอกาส น้อยมากที่จะมารับบริการงานส่งเสริม ป้องกันทันตสุขภาพ ทำให้ ไม่ทราบว่าสภาวะทันตสุขภาพของประชากรในประชากรกลุ่มนี้ เป็นอย่างไร มีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อสภาวะทันตสุขภาพ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ สภาวะทั น ตสุ ข ภาพของคนพิ ก ารในเขต ตำบล จั ง หาร อำเภอ จังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด ในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ 2553 ทำการ สัมภาษณ์และตรวจฟันคนพิการจำนวน 91 คน พร้อมให้ความรู้ ในการดู แ ลสุ ข ภาพช่ อ งปากและการแปรงฟั น หาความสั ม พั น ธ์ เบื้องต้นระหว่าง 2 ตัวแปรโดยใช้การทดสอบไคว์สแควร์ และการ วิเคราะห์ความสัมพันธ์เพื่อหาค่าอัตราส่วนความเสี่ยงพร้อมทั้งช่วง เชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ในสมการถดถอยลอจิสติก พบว่าในเบื้องต้น พฤติกรรมการทำความสะอาดฟัน และการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคฟันผุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ เมื่อนำมาวิเคราะห์ในสมการถดถอยลอจิสติก (multiple logistic regression model) พบว่าปัจจัยพฤติกรรมการทำความสะอาด ฟัน และการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ทั้งสองตัวไม่มีความสัมพันธ์ กับการเกิดโรคฟันผุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นการแนะนำการ ทำความสะอาดฟันและการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์จะเป็นวิธีหนึ่ง ในการป้องกันการเกิดฟันผุ
  • 5. โครงการการพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ “สุขภาพช่องปาก” คนพิการทุกประเภท จังหวัดเชียงราย เ นื่องจากคุณแม่ของข้าพเจ้าเป็นอัมพฤกษ์ซีกขวา มาได้ ประมาณ 6 ปี แล้ว ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ทั้งหมด ต้องอาศัย wheel chair ในการเดินทาง และเวลาปวดฟัน คุณแม่ โดย ทพญ.รพินท์ อบสุวรรณ สสจ. เชียงราย อยากให้ ข้ า พเจ้ า ไปด้ ว ยทุ ก ครั้ ง เพราะ คุ ณ แม่ ก ลั ว การทำฟั น ต้องการกำลังใจ และรู้สึกอุ่นใจจากลูกสาวทันตแพทย์ ซึ่งข้าพเจ้า อยู่ถึงจังหวัดเชียงรายขณะที่คุณแม่อยู่กรุงเทพ ข้าพเจ้าจะต้องหา เวลาเพื่อพาคุณแม่ไปรักษาฟัน แต่เนื่องจากคุณแม่มีสุขภาพจิตดี เยี่ยม มีความสุขเพราะได้รับกำลังใจ ความรัก ความอบอุ่นจากลูกๆ และญาติพี่น้องทุกคนในครอบครัว พวกเรารู้สึกว่าคุณแม่ดีวันดีคืน ข้าพเจ้าคิดเสมอว่า แม้คณแม่จะป่วยกายแต่กชางมีบญจริงๆที ่ มีคนดูแล ุ ็่ ุ อย่างยอดเยี่ยม แต่สิ่งเดียวที่คุณแม่บ่นอยู่เสมอคือ อยากเดินได้ จึงทำให้ข้าพเจ้าเข้าใจและรู้ซึ้งกับประโยคที่ว่า ความพิการคือ ความไม่สะดวก ไม่ใช่ไม่สบาย แล้วคนพิการคนอื่นๆล่ะ เขาจะเป็น อย่างไรและมีโอกาสอย่างคุณแม่เราหรือไม่ ข้าพเจ้าเชื่อว่าน้อยมาก ข้าพเจ้าจึงตั้งคำถามนี้อยู่เสมอ และต้องการหาคำตอบพร้อมกับคิด หาทางที่จะหยิบยื่น สิ่งที่คิดว่าดี และเหมาะสมให้คนพิการอื่นๆ สิ่ง เดียวที่ข้าพเจ้าคิดว่าอาจจะหาคำตอบได้คือ การไปเยี่ยมบ้าน คน พิการเหล่านั้น พร้อมกับสร้างเครือข่ายช่วยกันทำงาน ข้าพเจ้าทำหน้าที่ทันตแพทย์ สสจ. ในเรื่องคนพิการอย่างเต็ม ที่ เพื่อให้บรรลุความตั้งใจ เริ่มแรกเราจึงเริ่มด้วยการเยี่ยมบ้านคน พิการ การไปเยี่ยมบ้านผู้พิการนั้นเสมือนหนึ่งไปเยี่ยมญาติ ด้วย มิตรไมตรี ทำความรู้จักกันก่อน ด้วยความละเอียดอ่อน เป็นการ ทำความรู้จักซึ่งกันและกัน โดยเป็นความร่วมมือกันระหว่าง ทันต บุคลากร พร้อม สหวิชาชีพ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. , อบต., อสม. ,คน พิการและผู้ดูแล และบุคคลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
  • 6. โครงการสรรค์สร้างรอยยิ้มสู่คนพิการป่าบอน อ.ป่าบอน “สุขภาพช่องปาก” คนพิการทุกประเภท จังหวัดเชียงราย ค นพิการในอำเภอป่าบอนที่มาขอขึ้นทะเบียนคนพิการจาก กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีจำนวน 578 คน แต่ในทางปฏิบัติคนพิการยังไม่ได้รับการส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตและยังไม่ได้รับการฟื้นฟูทุกด้านอย่างจริงจังจากภาครัฐและ ทันตแพทย์หญิง พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ รพช.ป่าบอน จ.พัทลุง สังคม ทั้งๆที่กลุ่มคนพิการต้องการปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดำรง ชี วิ ต มี สิ ท ธิ ใ นความเป็ น มนุ ษ ย์ เ หมื อ นคนปกติ ทั่ ว ไป คนพิ ก าร บางคนอาจมีความสามารถหลายๆด้านซึ่งถ้าได้รับการพัฒนาให้มี ศักยภาพ อาจทำประโยชน์และช่วยพัฒนาสังคมได้ ดังนั้นคนพิการ เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สมควรได้รับความสนใจและพัฒนาส่งเสริม ให้เกิด สภาวะความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ สังคม และไม่ใช่ เพียงแต่การไม่เป็นโรคและไม่ทุพลภาพเท่านั้น ในการดูแลสุขภาพคนพิการแบบองค์รวม จึงจำเป็นต้องได้รับ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และการทำงานเป็นทีมสหวิชาชีพ อย่ า งไรก็ ต ามสำหรั บ งานทั น ตสาธารณสุ ข ที่ จั ด ทำงานส่ ง เสริ ม ป้ อ งกั น ด้ า นทั น ตสุ ข ภาพในชุ ม ชนนั้ น ยั ง ไม่ มี ก ารส่ ง เสริ ม ทั น ต สุขภาพในคนพิการอย่างจริงจัง เป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง ซึ่งจัดได้ ว่ากลุ่มคนพิการจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างเท่าเทียมเฉกเช่น เดียวกับบุคคลอื่นในสังคมและเป็นการดูแลทันตสุขภาพสำหรับคน พิการเพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะของความพิการนั้น และการดูแล ควรเป็นไปอย่างทั่วถึงและยั่งยืน รวมถึงผู้ใกล้ชิดที่มีหน้าที่รับผิด ชอบดูแลกลุ่มคนพิการมีความรู้และทักษะในการดูแลทันตสุขภาพ จากปัญหาดังกล่าวฝ่ายทันตสาธารณสุข รพ.ป่าบอน จึงได้จัด ทำโครงการสรรค์สร้างรอยยิ้มสู่คนพิการป่าบอน เพื่อให้ครอบครัว คนพิการเกิดทักษะในการดูแลทันตสุขภาพและการดูแลสุขภาพ แบบองค์ ร วมโดยสหวิ ช าชี พ ตามความเหมาะสมของสภาวะคน พิการ เพื่อให้คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
  • 7. โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กพิการ ในโรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา จังหวัดสงขลา ปี 2553 โ รงพยาบาลสงขลา มี ค นพิ ก ารที่ ขึ้ น ทะเบี ย นกั บ โรงพยาบาลสงขลา จำนวน 2224 คน ในกลุ่มนี้ เป็นเด็ก พิการด้านสติปัญญา ในโรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา จำนวน 335 โดย ทพญ.พรทิพย์ แก้วประดิษฐ์ รพท.สงขลา จ.สงขลา คน ซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม เด็ ก พิ ก ารทางสติ ปั ญ ญา ที่ เ ป็ น ระดั บ อนุ บ าล จนถึ ง ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ซึ่ ง เด็ ก พิ ก ารกลุ่ ม นี้ ยั ง ขาดการดู แ ล ทันตสุขภาพ ตามสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ซึ่งประกอบด้วย บริการทันตกรรมพื้นฐาน การบริการส่งเสริมและป้องกันโรคใน ช่ อ งปาก ในสถานบริ ก าร รวมถึ ง การได้ รั บ การดู แ ลจากผู้ ดู แ ล และผู้ ป กครองของเด็ ก พิ ก าร กลุ่ ม งานทั น ตกรรมโรงพยาบาล สงขลา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กพิการใน โรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา ประจำปี 2553 ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ดูแล เด็ก ผู้ปกครองและ ครอบครัว ที่เป็นผู้รับผิดชอบเด็กพิการกลุ่มนี้ ได้ เ กิ ด ความตระหนั ก ในการดู แ ลทั น ตสุ ข ภาพ และเด็ ก พิ ก าร สามารถเข้ า ถึ ง การบริ ก ารทั น ตกรรมมากยิ่ ง ขึ้ น อั น จะเป็ น การ ส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น ผลงาน “Implementation of Oral Health Program in School for Mentally Challenged Children: a Case Study in Southern Thailand” ได้รับคัดเลือกไปนำเสนอในงาน Asia- Pacific CBR Convention 2010 Kuala Lumper, Malaysia 13th-15th Nov 2010
  • 8. โครงการสร้างเสริมทันตสุขภาพผู้พิการโดยการมีส่วนรวม ของชุมชน ในอ.เวียงแก่น จ.เชียงราย ก ารทำงานนี้พวกเราร่วมกันวางเป้าหมาย --- หนึ่ง การ ยอมรับในคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ และทุติยภูมิใน การดูแลผู้พิการและผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน “คนทำงาน ระบบบริการของเรา สามารถมีส่วนร่วมในการช่วยให้ผู้พิการดูแล โดย ทพญ. พจนา พงษ์พานิช รพช.เวียงแก่น จ.เชียงราย ตัวเอง เยียวยาตัวเองได้” --- สอง การยอมรับในคุณค่าและศักดิ์ศรี “คนทำงานเครื อ ข่ า ยในชุ ม ชน ผู้ พิ ก ารและญาติ ” รวมถึ ง การ “รู้จักตนเอง รู้จักเพื่อน = รู้ว่าใครเป็นใคร แล้วเราจะเปลี่ยนท่าที ในการทำงาน” นอกจากนั้นยังเป็นการทำงานเพื่อศึกษาเรียนรู้ พฤติกรรมผู้พิการ ญาติ ครอบครัว ชุมชน คนทำงานยังต้อง ขยาย เครือข่ายสู่การดูแลผู้พิการโรคเรื้อรังในชุมชน และนำเครือข่าย เข้า มามีส่วนร่วมในการดูแลป่วยร่วมกัน จนถึงการสร้างเสริมศักยภาพ ของผูพการ ผูปวยโรคเรือรัง และญาติในชุมชนแบบ “เพือนช่วยเพือน” ้ ิ ้ ่ ้ ่ ่ คนทำงานที่ ม ารวมกลุ่ ม กั น ออกเยี่ ย มบ้ า น นอกจากภาระ หน้าที่จากงานประจำแล้ว ทีมงานยังให้ความสำคัญกับ Heart Head Hand -- หนึ่ง หัวใจของคนทำงาน (Heart) ทีมงานชวนกัน ทำ (Snow ball) ส่วนใหญ่คนทำงานที่มาร่วมกันมีความชอบ ใส่ใจ ในผู้ ป่ ว ย อาสาสมั ค รใจเข้ า มาทำงานร่ ว มกั น สอง Head การวางแผน การบริหารจัดการ ทีมงานมีการประสานงาน ติดต่อ กันแบบไม่เป็นทางการระหว่างสมาชิกในทีม ต่างคนต่างช่วยกัน ตระเตรียมพื้นที่ และการแจ้งข่าวกับผู้ป่วย ข้อมูลผู้ป่วย การบันทึก ข้ อ มู ล ผู้ ป่ ว ย การเตรี ย มรถออกเยี่ ย มบ้ า น ระยะแรกมี ปั ญ หา อุปสรรค การเชื่อมโยงข้อมูลกันของสถานีอนามัย และ สหวิชาชีพ ด้วยกัน การวางแผนออกเยี่ยมบ้านยังไม่ครอบคลุม เจ้าหน้าที่ยัง ขาดองค์ความรู้ และทักษะการจัดการปัญหาเฉพาะหน้า ทีมงาน ปรั บ ปรุ ง และแก้ ไขด้ ว ยการพู ด คุ ย กั น มากขึ้ น ปรั บ ทั ศ นคติ ถอด ประสบการณ์ บทเรียนการทำงานทุกครั้งหลังการออกเยี่ยมบ้าน เสร็จในแต่ละครัง ควบคูกนไปกับ -- สาม การลงมือทำ (Hand ฃ) ้ ่ั
  • 9. โครงการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการด้านสุขภาพช่องปาก อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด เ ป็ น พื้ น ที่ น ำร่ อ งสร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต คนพิ ก ารด้ า น สุขภาพช่องปากอำเภอโพนทอง โดยได้รับงบสนับสนุน จาก สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ สพพ. พัฒนาสอดคล้องไป กับโครงการ delay development child ในโครงการ CUP โดย ทพญ.เยาวภา จันทรบุตร รพช.โพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ทำงานเชิงบูรณาการ ร่วมกับทีมสุขภาพและเครือข่ายอื่นๆ โรงพยาบาลโพนทอง ได้ลงเยี่ยมบ้าน เป็นกำลังใจ ให้กับทีม งานในพื้ น ที่ และมอบรถเข็ น ให้ กั บ คนพิ ก าร (ประเด็ น เริ่ ม จาก อสม.เชี่ยวชาญทันตฯเข้าไปดูแลฟันคนพิการ ซึ่งมีปัญหาด้านการ เคลื่อนไหว และสอน ญาติดูแลฟัน คนพิการเนื่องจากแปรงฟันเอง ไม่ได้ แต่เจอปัญหารุนแรงด้านสุขาพจิต คือ ผู้พิการกัดนิ้วมือทุกนิ้ว มี แ ผลเรื้ อ รั ง ) เคสนี้ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของกองทุ น สุ ข ภาพตำบล อุ่มเม่า ในการนำร่องพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในเครือข่าย บริการปฐมภูมิ อำเภอโพนทอง ประเด็นช่องปากกับคุณภาพชีวิต คนพิ ก าร อสม.เชี่ ย วชาญทั น ตฯในพื้ น ที่ และทั น ตบุ ค ลากรที่ ลงไปทำงานในแต่ละวัน สามารถ ทำหน้าที่ CEOในชุมชน ค้นหา ปั ญ หาสุ ข ภาพ อื่ น ๆควบคู่ ไ ปกั บ การดู แ ลสุ ข ภาพช่ อ งปาก เกิ ด การประสานความร่วมมือ ระหว่าง ชุมชน ผู้นำชุมชน หน่วยงาน หรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารระดับสูง ที่สำคัญ คือ อปท. ได้มา ร่วมดูแลสุขภาพของคนในชุมชนมากขึ้น (เน้นกลุ่มผู้พิการ และ ผูดอยโอกาส) กองทุนสุขภาพตำบลในแต่ละท้องถินเห็นความสำคัญ ้้ ่ และมีนโยบายด้านสุขภาพชัดเจนขึ้นเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในแต่ละ พื้นที่สามารถ เข้าไปมีบทบาทสำคัญในการดำเนินกิจการกองทุน
  • 10. โครงการทันตกรรมเอื้ออาทร สำหรับผู้พิการ รพ.สต.ตะปาน เครือข่ายสุขภาพ รพ.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี จ ากการสำรวจของสำนั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ ใ น ปี พ.ศ.2550พบว่ามีจำนวนผู้พิการในประเทศ ไทยประมาณ 1.9 ล้านคน โดยในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีผู้ โดย ทพ.ชูเกียรติ พุทธานันทเดช รพช.ท่าโรงช้าง พิการจำนวน 12,548 คน และมีผู้พิการในอำเภอพุนพิน จำนวน 1,078 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้พิการในตำบลตะ อ.พุนพิน จ.สุราษฎ์ธานี ปาน 53 คน แม้ ว่ า กลุ่ ม คนพิ ก ารจะได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ต าม พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 แต่ จากการสำรวจการเข้ า ถึ ง บริ ก ารทางการแพทย์ ข อง ผู้พิการ พบว่ามีผู้พิการในอำเภอพุนพิน โดยเฉพาะใน ตำบลตะปานที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ บริ ก ารทั น ตกรรมสู ง มากกว่ า ร้อยละ 90 ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาที่ควรดำเนินการพัฒนา การเข้าถึงบริการ ทันตกรรมในผู้พิการ ฝ่ า ยทั น ตสาธารณสุ ข โรงพยาบาลท่ า โรงช้ า ง จึงได้จัดทำโครงการทันตกรรมเอื้ออาทร สำหรับผู้พิการ รพ.สต.ตะปาน ขึ้ น เพื่ อ ให้ ค รอบครั ว ผู้ พิ ก ารเกิ ด ทั ก ษะ ในการดูแลทันตสุขภาพ อีกทั้งอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่ บ้ า นสามารถให้ ค ำแนะนำในการดู แ ล ทันตสุขภาพที่เหมาะสมกับสภาวะของผู้ป่วย และที่สำคัญ เป็ น การสนองนโยบายของรั ฐ บาลในการเพิ่ ม ศั ก ยภาพ โรงพยาบาลตำบลอีกด้วย
  • 11. โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กพิการในศูนย์การศึกษา ศู นย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดน่าน เป็น ศู น ย์ บ ริ ก ารช่ ว ยเหลื อ ในระยะแรกเริ่ ม ฟื้ น ฟู พิเศษประจำจังหวัดน่าน ปี 2553 เตรียมความพร้อมเด็กพิการทุกประเภท เพื่อการส่งต่อไป ยังโรงเรียน หรือ สถานบริการที่เหมาะสมกับเด็ก อีกทั้ง โดย ทพญ.สุรีรัตน์ สูงสว่าง รพท.น่าน จ.น่าน บริ ก ารวิ ช าการ บริ ก ารและความช่ ว ยเหลื อ ต่ า งๆ เด็ ก พิการที่มารับบริการที่ศูนย์นี้ มีทั้งประเภทที่มาเป็นประจำ และประเภทที่เด็กโดยปกติอยู่ที่บ้านแต่มารับบริการเป็น บางครั้ง สำหรับการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กในศูนย์นี้ พบว่ายังไม่เคยมีการดำเนินงานมาก่อน เด็กที่เคยได้รับ บริการทางทันตกรรมจะมีเพียงบางคนที่ผู้ปกครองนำไป รักษาที่สถานบริการเมื่อเกิดปัญหาในช่องปากเท่านั้น ทั้ ง ที่ ก ลุ่ ม คนพิ ก าร เป็ น กลุ่ ม เป้ า หมายหนึ่ ง ตามชุ ด สิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ซึ่งชุดสิทธิประโยชน์ทาง ทั น ตกรรมนั้ น ประกอบด้ ว ยบริ ก ารทั น ตกรรมพื้ น ฐาน การบริการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปาก ทั้งในสถาน บริ ก ารและในชุ ม ชน ให้ แ ก่ กลุ่ ม เป้ า หมายสำคั ญ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามกลุ่ ม คนพิ ก ารในจั ง หวั ด น่ า นที่ ไ ด้ รั บ บริการตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรมยังมีจำนวน ไม่มาก กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลน่าน ร่วมกับกลุ่ม งาน ทันตสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดน่าน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึง การบริการทันตกรรมมากยิ่งขึ้นต่อไป
  • 12.         ่มต้นที่   โครงการพัฒนาระบบการดูแลทันตสุขภาพกลุ่มผู้พิการเริ ช่องปาก สู่ภาพองค์ รวม อำเภอศรีสงคราม จ.นครพนม ประจำปีงบประมาณ 2553         ใ     โดย ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ รพช.ศรีสงคราม จ.นครพนม นระยะที่ผ่านมาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ   านข่า อ.ศรี   ตำบลบ้ สงคราม ได้จัดทำโครงการเยี่ยม บ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง    ในชุมชน พบว่า กลุ่มผู้พิการ ในชุมชนซึ่งมีทั้งหมด จำนวน 168 คน ไม่ได้ ั ก           รบการบริ าร ทางการแพทย์ แ ละมี ก แ ลสุ ข ภาพที่ ไ ม่ ดี เ ท่ค วร       ารดู    า ที่   อันเนืองมาจากภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว ความห่างไกลจาก ่ สถานบริการสุขภาพ ทำให้ผ  ท้อแท้     ู้พิการเกิดความเครียด  หมดกำลั ใจและข้ อ จำกั ด อี ก ด้ นหนึ่ ง ของการให้  ง  า   บ ริ ก าร   เยี่ ย มบ้ า น อเพีงเนื่ อ งจากผู้ พ   คื อ บุ ค ลากรไม่ พ   ย   ิ ก าร  เป็นกลุ่มที่ต้องดูแลในหลายด้าน ต้องใช้เวลาและความต่ อ   เนื่ อ งมาก ดั ง นั้ น ตั ว ผู้ ดู แ ลจึ ง เป็ น ตั ว แปรสำคัญ การพัฒนา ศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการในชุม เป็นงานการดูแลสุ  ชน ถือ ขภาพ ของประชาชนในชุมชน  ามีก   ูแลตรงนี        ถ้  ารพัฒนาศักยภาพผู้ด   ้ ได้ และทำให้เ่ชัดเจน จะส่ผลให้   ป็นรูปแบบที  ง  ผู้พิการและ สมาชิกในครอบครัวสามารถดูแลกันเองในครอบครัวได้และ เกิดความยัยืนขึ้น   ่ง   โครงการนี   พื่อให้  ารทันต  ้จึงมีวัตถุประสงค์เ   เกิดการจัดบริก    สุขภาพที่เหมาะสมและเชื่อมโยงกันทั้งการส่งเสริมป้องกัน รักษา และฟื    พัฒนาศักยภาพผู้    ้นฟูทันตสุขภาพผู้พิการ ร่วมกับ         ดูแลผู้พิก าร อันจะเป็นระบบงานตัอย่  ่     ว  างขยายสู่พื้นที่อื่นทัว ทั้งอำเภอศรีสงคราม วข้องตระหนักถึงความ   ต่อยอดให้ผู้เกี่ย  สำคัญของผู้พิการในชุมชน อั               นจะก่อให้เกิดโครงการด้านอื่นๆ   ให้กับผู้พิการต่อไป        
  • 13. โครงการพัฒนางานทันตสาธารณสุขเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต คนพิการ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา แ นวคิ ด หลั ก ที่ ส ำคั ญ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด โครงการ ทั น ตสุ ข ภาพในกลุ่ ม คนพิ ก าร ในเขตอำเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา คือ พัฒนางานทันตสาธารณสุข เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ และการเข้าถึงบริการ ทันตาภิบาล ทัณฑิกา สุขจันทร์ รพช.ระโนด จ.สงขลา สาธารณสุ ข และความทุ ก ข์ ท รมานอั น มี ส าเหตุ ม าจาก โรคในช่องปาก เนื่องจากกลุ่มคนพิการ มีปัญหาข้อจำกัด ทางด้านร่างกาย และสังคม ในการเข้าถึงบริการที่รัฐจัด ให้มีส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งปัญหาด้านทันตสุขภาพ ซึ่งจัดเป็นปัญหาเรื้อรัง ตลอดช่วงชีวิต เป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด ทุกข์ ทรมาน เป็ น สาเหตุ ส ำคั ญ ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพ ร่างกาย และคุณภาพชีวิต ในการดูแลสุขภาพคนพิการแบบองค์รวม จึงจำเป็น ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และการทำงาน เป็นทีมสหวิชาชีพ อย่างไรก็ตามสำหรับงานทันตสาธารณสุข ที่จัดทำงานส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพในชุมชนนั้น ยังไม่มีการส่งเสริมทันตสุขภาพในคนพิการ ซึ่งจัดได้ว่า กลุ่ ม คนพิ ก ารจำเป็ น ต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลอย่ า งเท่ า เที ย ม เฉกเช่ น เดี ย วกั บ บุ ค คลอื่ น ในสั ง คม และเป็ น การดู แ ล ทันตสุขภาพสำหรับคนพิการเพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะ ของความพิการนั้น และการดูแลควรเป็นไปอย่างทั่วถึง และยั่งยืน รวมถึงผู้ใกล้ชิดที่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลกลุ่ม คนพิการ ให้มีความรู้และทักษะในการดูแลทันตสุขภาพ มากยิ่งขึ้น