SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 147
เคล็ด (ไม่ลบ) ในการดูแลสุขภาพช่องปาก
           ั
        ใน คนพิการและเด็กพิเศษ



                  รศ.มาลี อรุณากูร

                                     ภาควิชา
                ทันตกรรมเด็ก
การดูแลสุขภาพช่องปากของคน
พิการ
  คุณลักษณะของทันตแพทย์ผู้รักษา
    กลุมคนพิการ
       ่
     รูผู้ปวย
        ้ ่
     รูงาน
        ้
     รูหน้าที่
        ้
     ใส่ใจด้วยความรัก และเอื้ออาทร
     สร้างสรรงานคุณภาพ ด้วยความ
      ปลอดภัย
รู้ผู้ป่วย

 ข้อมูลของผู้ป่วยทีสำาคัญทีควรทราบ
                   ่       ่
  ประวัติความพิการหรือโรคประจำา
  ตัวของผู้ป่วย
  ประวัติการเลี้ยงดู
  ประวัติพัฒนาการ
  ประวัติการรักษาในอดีต
สมองพิการ Cerebral palsy
(C.P.)
   เกิดจากสมองส่วนทีใช้ควบคุม
                       ่
กล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึงบกพร่อง
                         ่
หรือสูญเสีย ทำาให้มีปัญหาในการ
ทรงตัว เคลือนไหว แต่ละคนมีลักษณะ
            ่
แตกต่างกัน เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เกร็ง งุมง่าม เคลือนไหวช้า ทรงตัวได้
        ่         ่
ไม่ดี บางคนอาจมีความบกพร่องอื่น
ร่วม เช่น บกพร่องทางการได้ยิน การ
มองเห็น การเรียนรู้ แต่ละคนเป็นมาก
สมองพิการ
สมองพิการ
พัฒนาการของผูป่วยสมองพิการ
             ้

  ลำาดับขั้นของพัฒนาการเหมือน
  เด็กปกติ แต่ช้ากว่าเด็กปกติมาก
  ต้องได้รับการฟื้นฟูสภาพความ
  พิการเพื่อป้องกันการติดยึดหรือ
  เกร็งมากขึ้น
  มีพัฒนาการในช่องปากที่ผิดปกติ
  เกี่ยวกับ การดูด การเคียว ลิ้นจุก
                         ้
  ปาก นำ้าลายไหล
ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้ป่วย
C.P. ความผิดปกติของการทำางานของ
   มี
   กล้ามเนือใบหน้า
           ้
   นำ้าลายไหล มีความผิดปกติในการกิน
   ดื่ม และพูด
   มีความผิดปกติของการทำางานของลิ้น
   แก้ม ริมฝีปาก ส่งผลต่อการเรียงตัว
   ของฟัน และเกิดโรคปริทนต์
                          ั
   อุบติเหตุต่อฟันและใบหน้าเกิดได้บ่อย
      ั
   กว่า
ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้ป่วย
C.P.
  Bruxism:
       การกัดฟัน เป็นการขบเคี้ยวฟันที่
 ไม่ใช่การทำางานตามหน้าที่ที่ถูกต้อง การ
 ใช้ฟันขบเขี้ยวเคี้ยวกันในเวลาที่ไม่ได้กิน
 อาหาร เนื่องจาก กล้ามเนื้อทำางานมากกว่า
 ปกติ มีผลเสียต่างๆ เช่น ฟันสึก ทำาให้ปวด
 ที่ข้อต่อขากรรไกร มีอาการเสียวฟัน และ
 อาจจะทำาให้ฟันแตกได้ อาจจะทำาให้
 ใบหน้าสั้นกว่าปกติ
 วิธีการรักษาโดยการทำา mouth guard
ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้ป่วย
C.P.
  Rumination:
     การสำารอกอาหารที่เคียวและ
                          ้
 กลืนเข้าไปในกระเพาะขึ้นมาอยู่ใน
 ช่องปากใหม่ ทำาให้สภาพช่องปาก
 และฟันแช่อยู่ในนำ้าย่อยอาหารซึง
                               ่
 เป็นกรด เป็นเหตุให้ฟันกร่อน( de
 mineralization)
ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้ป่วย
C.P.
  Pouching:
     อาการอมข้าว อาหาร หรือ
 เม็ดยาไว้ในปาก ระหว่างแก้มและ
 ฟัน โดยไม่กลืน เป็นระยะเวลานาน
 ทำาให้เกิดฟันผุ
ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้ป่วย
C.P.
 Pica: การกินของที่กินไม่ได้ กินของ
 ที่ไม่ใช่อาหาร พบได้ในผู้ป่วยสมอง
 พิการที่มีภาวะปัญญาอ่อนร่วมด้วย ถ้า
 กลืน หรือกินอย่างต่อเนื่อง เกินกว่า 1
 เดือน นั้นคืออาการของโรคกินของที่
 กินไม่ได้(Pica Diseases) เช่น ดิน สี
 ปูน ชอล์ค ผงซักฟอก บุหรี่ ก้นบุหรี่ ขี้
 เถ้า กาว ผม ทราย รากไม้ โลหะ
 อุจจาระ เป็นต้น
 ผลทำาให้ฟันสึก หรือเป็นอันตรายต่อ
ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้ป่วย
C.P. ผู้ป่วยสมองพิการมักมี
   •
  gastroesophageal reflux บ่อย
  อาเจียนบ่อย เป็นเหตุให้ฟันกร่อน
  สูญเสียเนื้อฟัน
  • ผู้ป่วยสมองพิการที่มอาการเป็น
                          ี
  โรคลมชักร่วมด้วย มี เหงือกโต
  Gingival overgrowth จากการกิน
  ยาป้องกันอาการชัก
  • ลิ้นโต จุกปาก
  • ใบหน้าเบี้ยว กล้ามเนื้อใบหน้า
  ทำางานไม่ประสานกัน
การจัดการทางทันต
     กรรมสำาหรับ
 ผู้ป่วยสมองพิการ
ปัญหาโรคในช่องปากของผู้
ป่วย C.P.
   พบ enamel hypoplasia
  มีโรคปริทันต์
  ฟันสึก เนืองจาก Bruxism and
            ่
  tooth clenching (ปัญหาระบบ
  ประสาทกล้ามเนื้อ)
  Fracture and avulsion of the
  anterior teeth (fall)
  อัตราการเกิดฟันผุใกล้เคียงคน
ปัญหาโรคในช่องปากของผู้
ป่วยC.P.
    Many clinicians :
     Higher DMF rate than

      normal
     Higher score of decay

     Higher score of missing

     Fewer score of filling
ปัญหาโรคในช่องปากของผู้
ป่วยC.P.
 Malocclusion : Weyman 1971
  Spastic C.P. more prone to Class
   II division2 and unilateral
   crossbite
  Athetosis C.P. more Class II

   division1 with high narrow
   palate, tongue thrust, and
   anterior open bite
  Ataxic C.P. exhibits Class II
ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้ป่วย
พิผู้ปกครองมักสนใจกับปัญหาสมองพิการ
  การถูกละเลย
 เป็นปัญหาหลัก
 ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจในความ
 สำาคัญของการดูแลรักษาทันตสุขภาพ
 ทันตแพทย์ขาดความรู้ความเข้าใจเรื่อง
 โรคหรือความพิการของผู้ปวย อีกทัง
                            ่        ้
 ขาดประสบการณ์
 ขาดแคลนทันตแพทย์ที่มีความเสียสละ
 และตั้งใจจริงที่จะช่วยเหลือผู้ปวยพิการ
                                ่
การรักษาทางทันตกรรมในผู้ป่วย
สมองพิการ :มีหน้าที่และความรับผิด
 ทันตแพทย์
     ชอบ
    ให้ความรู้ และดูแลรักษาทันต
     สุขภาพแก่ผู้ป่วยพิการ
    เผยแพร่ความรูทางทันตสุขศึกษา
                       ้
     และบริการผูป่วยพิการให้มากขึ้น
                    ้
    มีความเมตตากรุณาต่อผูป่วยพิการ
                            ้
     พยายามดูแลรักษาผูป่วยพิการโดย
                         ้
     ไม่รู้สึกรังเกียจ
การรักษาทางทันตกรรมในผู้ป่วย
สมองพิการ
 ทันตแพทย์และทีมงานพึง
   ตระหนัก:
    กำาลังรักษาผู้ป่วยตลอดทั้ง
    ร่างกายและจิตใจ ไม่เพียงแต่ผู้
    ป่วยเท่านั้น แต่ยังมีพ่อแม่ ผู้
    ปกครองของผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง
    ด้วย
การจัดการพฤติกรรม
  ปัญหา :
       ความกลัวหรือความวิตก
  กังวลของผู้ป่วยทีทำาให้เกิด
                     ่
  ความเครียด จะทำาให้ผู้ป่วยมี
  การชักกระตุกของแขนและขา
  หรือมีการเคลื่อนไหวของ
  ร่างกายโดยไม่ตงใจมากขึ้น
                  ั้
    * ต้องระวังไม่ให้เกิด
การจัดการพฤติกรรม
   ความรัก เอื้ออาทร และใส่ใจ
 (Tender, love and care)
   การจัดการโดยวิธีการทางจิตวิทยา :
   เทคนิกปรับพฤติกรรม
               Behavior shaping
 management technique
     การบอก-แสดง-กระทำา (Tell -
   show – do)
     การส่งเสริมกำาลังในแง่บวก
การรักษาทางทันตกรรม

    เน้นทันตกรรมป้องกัน:
      ป้องกันการเกิดโรคใน
    ช่องปาก
      ลดความทุกข์ทรมานจาก
    โรค
      ลดภาระของผู้ปกครอง
ทันตกรรมป้องกัน:
    การกำาจัดแผ่นคราบจุลินทรีย์
    Diet counseling
    Fluoride เสริม
    การป้องกันการเกิดฟันผุ;
 routine oral exam., topical
 fluoride application, sealant
การกำาจัดแผ่นคราบจุลนทรีย์:
                    ิ
     ผู้ปกครองต้องตระหนักถึงความ
  จำาเป็นในการแปรงฟันให้เด็กอย่าง
  มีประสิทธิภาพ
    จัดท่าทาง ตำาแหน่งให้เหมาะ
  สมในการมองเห็นภายในช่องปาก
  และความสะดวกในการแปรง
    ใช้เครืองมือช่วยให้ผู้ป่วยอ้าปาก
           ่
  ในการแปรงฟัน
จัดท่าทาง ตำาแหน่งให้เหมาะสมในการ
มองเห็นภายใน     ช่องปาก และความ
สะดวกในการแปรง
เครื่องมือช่วยให้ผป่วยอ้าปากใน
                  ู้
  การแปรงฟัน
แปรงลักษณะพิเศษสำาหรับผู้ป่วย
สมองพิการ
แปรงลักษณะพิเศษสำาหรับผู้ป่วย
สมองพิการ
สายรัดอุงมือจับแปรง แบบ
        ้
ปรับขนาดได้
การรักษาทางทันตกรรม
 สามารถทำาได้เช่นเดียวกับเด็กปกติ
 ทันตแพทย์ตองอธิบายถึงวิธีการ
              ้
 จัดการ วิธีการรักษาให้ผู้ปกครอง
 เข้าใจและร่วมมือก่อนจะทำาการรักษา
 ให้ผู้ป่วยนังเก้าอี้ในท่าทางและ
             ่
 ตำาแหน่งทีเขาชอบและถนัด ตามความ
               ่
 พิการ และทันตแพทย์สามารถทำาการ
 รักษาได้
สมองพิการ
การรักษาทางทันตกรรม
 การใช้อปกรณ์ช่วยอ้าปากเด็ก เช่น
        ุ
 mouth prop คำ้าปากผู้ป่วยไว้ ให้พอที่
 ทันตแพทย์สามารถทำาการรักษาได้
  ควรโอบศีรษะเด็กไว้ตลอดเวลาทีทำางาน
                              ่
 เพื่อช่วยควบคุมการเคลื่อนไหว
  ผู้ป่วยที่มการเคลื่อนไหวของร่างกายโดย
             ี
 ไม่ตั้งใจมากเกินไป ควรใช้อุปกรณ์ช่วยจับ
 ยึด เช่น Papoose board โดยไม่รัดแน่น
 จนเกินไป และไม่ยืดแขนขาของผู้ป่วยซึ่ง
 ไม่สามารถทำาได้เนื่องจากข้อติด
การรักษาทางทันตกรรม
    ควรใช้แผ่นยางกันนำ้าลายเพื่อป้องกัน
    อันตราย และสะดวกในการรักษา ผู้ป่วย
    ไม่สำาลักนำ้าเข้าคอ และช่วยกันลิ้น
    ควรใส่ clamps กับแผ่นยางให้
    เรียบร้อยก่อนใส่บนตัวฟัน
   การถอนฟัน ควรใช้ผ้ากอซรองในขณะ
    ทำาการถอน ป้องกันเศษฟันตกเข้าคอ ผู้
    ช่วยฯคอยดูดเมือ ทพ. ต้องการ
                  ่
การรักษาทางทันตกรรม
 ทีมงานต้องทำางานประสานกันอย่างมี
 ประสิทธิภาพ ในระยะเวลาสั้น เพื่อลดความ
 อ่อนล้าของกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย
 ผู้ป่วยที่มโรคลมชักร่วมด้วย ให้ผู้ป่วยรับ
            ี
 ประทานยาป้องกันโรคลมชักตามปกติ
 ต้องระวังไม่ให้ร่างกายได้รับอันตรายหรือ
 บาดเจ็บขณะชัก และหันศีรษะของผู้ป่วย
 ตะแคงไปด้านข้าง พยายามพูดกับผู้ป่วย
การรักษาทางทันตกรรม
   ผู้ป่วยที่มโรคพิการซำ้าซ้อน เช่น มี
              ี
 ปัญญาอ่อนรุนแรง หากมีปัญหาโรค
 ในช่องปากมาก
      * การดมยาสลบอาจเป็นวิธที่  ี
 เหมาะสมกว่า *
 การรักษาทางทันตกรรมสำาหรับเด็ก
 โดยวิธีดมยาสลบควรเป็นทางเลือก
 สุดท้าย หากการปรับพฤติกรรมวิธี
การรักษาทางทันตกรรม
การจัดการรักษาทางทันต
กรรม
การจัดการรักษาทางทันต
กรรม
การรักษาทางทันตกรรม
บทบาทของผู้ชวยทันตแพทย์
            ่
    สอบถามข้อมูลเบื้องต้นของผู้ปวยเด็ก
                                ่
 พิเศษ
     รายงานข้อมูลสำาคัญ/ปัญหาของผู้ป่วย-
 ผู้ปกครองแก่ทพ.
    ช่วยในการจัดการพฤติกรรมและการ
 รักษา
   ระมัดระวังปัญหาแทรกซ้อนและเตรียม
 พร้อมแก้ไขปัญหากรณีฉุกเฉิน
 (emergency)
ภาวะปัญญาอ่อน

  เป็นความพิการประเภทหนึ่งที่
สมองหยุดพัฒนาหรือพัฒนาได้ไม่
สมบูรณ์ ทำาให้เกิดการสูญเสีย หรือ
ขาดความสามารถ มีความบกพร่อง
ของทักษะในพัฒนาการด้านต่างๆ
การเรียนรู้ มีความลำาบากใน
พฤติกรรม การปรับตัวเข้ากับสิ่ง
แวดล้อมในสังคมและชีวิตประจำาวัน
การจัดการพฤติกรรมของผู้ปวย
                        ่
ภาวะปัญญาอ่อน
  ทันตแพทย์และทีมงานควรมีทัศนคติที่
 ดีตอบุคคลภาวะปัญญาอ่อน ไม่ปฏิเสธ
     ่
 การรักษา
  ให้ความรักและเอื้ออาทรและใส่ใจ
 (Tender love and care)
  ซักถามประวัตผู้ป่วย สภาพครอบครัว
                ิ
 ความสามารถของ ผป.ในการเรียนรู้
 การสือภาษา การช่วยเหลือตนเอง เพื่อ
       ่
 เลือกวิธีการจัดการทีเหมาะสม
                     ่
การจัดการพฤติกรรมของผู้ป่วยภาวะ
ปัญญาอ่อน
 ข้อพิจารณาในการเลือกวิธีการจัดการที่
   เหมาะสม
    ระดับความรุนแรงของภาวะปัญญาอ่อน
    ปัญหาสุขภาพช่องปาก
    ปริมาณงานการรักษาและความรีบด่วน
    ทัศนคติ เศรษฐกิจและความร่วมมือของ
   ผู้ปกครอง
    ทักษะความชำานาญและประสบการณ์
   ของทันตแพทย์
การจัดการพฤติกรรมของผูป่วยภาวะ
                      ้
ปัญญาอ่อน
     สามารถใช้วิธีการจัดการโดยวิธีการ
  ทางจิตวิทยาในเด็กที่มีระดับปัญญาอ่อน
  น้อย
   Tell- show-do
   การเบี่ยงเบนความสนใจ (Distraction)
   การให้กำาลังใจ (Reinforcement)
   การควบคุมให้อยู่นิ่งในกรณีทผู้ป่วยไม่
                               ี่
  สามารถอยู่นิ่ง(Immobilization in
  cases with hyperactive)
การจัดการพฤติกรรมของผูป่วยภาวะ
                         ้
ปัญญาอ่อน
    Mild sedative +
   immobilization ช่วยลดความไม่
   อยู่นิ่งและลดความวิตกกังวล
   ใช้เวลาสั้นๆ ในการรักษา
   ใช้ Mouth prop ช่วยอ้าปากให้
  อ้าปากได้นิ่ง ๆ ในขณะทำาการ
  รักษา
การจัดการพฤติกรรมของผู้ป่วยภาวะ
ปัญญาอ่อน
 ใช้ยาชา Ultra short acting
 anesthetics
  ผูป่วยปัญญาอ่อนรุนแรงและมีปริมาณ
    ้
 การรักษามาก การดมยาสลบเป็นทาง
 เลือกที่ดกว่า
          ี
 ทันตกรรมป้องกันเป็นสิงทีมีคณค่าและ
                        ่ ่ ุ
 ควรจัดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อ
 ป้องกันโรคในช่องปากในผู้ป่วย
ลักษณะของผูป่วยกลุมอาการดาวน์
           ้      ่
ภาวะแทรกซ้อนในผูป่วยกลุ่มอาการ
                ้
ดาวน์
     จะเป็นโรคหัวใจ 30-40%
     มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจได้
     ง่าย การขับเสมหะทำาได้ไม่ดี มีภาวะการ
     อุดตันของทางเดินหายใจชนิดเฉียบพลัน
     และเรื้อรัง มี sleep apnea
     มีอัตราเสี่ยงสูงของการเกิดมะเร็งเม็ด
     เลือดขาว
     ระบบกล้ามเนื้อแข็งแรงลดลง
     มีการชัก 5-10%
ลักษณะของผูป่วยกลุมอาการ
           ้      ่
ดาวน์
 มีระดับสติปญญาตำ่ากว่า 70 mild-
            ั
 moderate M.R.
 พัฒนาการช้า
 ปรับตัวช้า
 พัฒนาด้านภาษาและการสื่อสารช้า
 อย่างชัดเจน
 ด้านโภชนาการ แนวโน้มนำ้าหนักเกิน
 จากการชอบรับประทาน พวกแป้ง
การจัดการพฤติกรรมของผู้ป่วย
กลุ่มอาการดาวน์
   ส่วนใหญ่ IQ ไม่ตำ่าเกินไป
   อารมณ์ดี ยิ้มง่าย ดูสดชื่น
   มีความสามารถในการให้ความร่วมมือสั้น ๆ
   สามารถใช้จิตวิทยาในการจัดการ
    tell-show-do
    การเบี่ยงเบนความสนใจ
    การให้กำาลังใจ การชมเชย
การรักษาทางทันตกรรม
  ในผู้ป่วยออทิสติก
 (เทคนิคการจัดการ)
โรคออทิสติก หรือ ออทิสซึม
 เป็นความผิดปกติของพัฒนาการเด็กรูป
    แบบหนึง่
 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ
     ไม่สามารถพัฒนาทักษะทางสังคม
     ไม่สามารถพัฒนาทักษะทางภาษา
    และการสื่อความหมาย
     มีความผิดปกติหรือบกพร่องใน
    พฤติกรรม การทำากิจกรรมและความ
ความผิดปกติในการใช้ภาษาและ
การสื่อความหมาย
  ไม่พูด ไม่ตองการสื่อสารโดยการ
             ้
  พูด
   พูดคำาซำ้าๆ หรือพูดแบบนกแก้ว พูด
  เลียนแบบ
   พูดไม่รเรื่อง พูดภาษาต่างดาว
          ู้
   โต้ตอบไม่เป็น
   ใช้สรรพนามและไวยากรณ์ไม่ถูก
เรียกไม่หน ไม่สบตา
         ั
ความผิดปกติของพฤติกรรม และ
การทำากิจกรรม
  ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ต้องการคงสภาพ
 เดิม
  ทำากิจกรรมซำ้าๆ เป็นแบบแผน
  หมกมุนในวัตถุ
       ่
  ไม่มีความยืดหยุ่นในการเล่น ไม่เล่นกับผู้อื่น
 มีการเคลื่อนไหวแปลกๆ การกระทำาซำ้าๆ
 อย่างไร้จุดหมาย
  มีความผิดปกติในการกิน
พฤติกรรมของเด็กออทิสติก
  เด็กออทิสติกมีความกลัวต่อบางอย่าง
 เป็นพิเศษ แต่กลับไม่กลัวในสิ่งทีเป็น
                                 ่
 อันตราย
ระดับสติปัญญาของเด็กออทิสติก
n    Ornitz & Ritvo (1976) 2/3 ถึง
    3/4 จะเป็นปัญญาอ่อน
n    Young และคณะ (1989) 75-80 %
    ของเด็กออทิสติกเป็นปัญญาอ่อน
n    2/3 มีภาวะต้องพึ่งพิงผู้อื่นตลอดชีวิต
n    1/3 พึ่งพาตนเองได้พอสมควร
n    1-2 % พึ่งพาตนเองได้เต็มที่ เหมือน
    คนปกติ
อาการสำาคัญที่พบร่วมใน
เด็ภาวะปัญญาอ่อน
• กออทิสติก         70-80
%
• สมาธิสน ไม่อยู่นิ่ง
         ั้              40-60
%
• ซึมเศร้า/อารมณ์แปรปรวน 44
%
• โรคลมชัก            25-40 %
• ทำาร้ายตนเอง           25-40
%
• ปัญหาในการนอน          10-30
เด็กออทิสติกที่สามารถพูดได้ก่อนอายุ 5 ป




      จะมีการพัฒนาการบุคลิกภาพ
             อย่างต่อเนือง
                        ่
ปัญหาทางทันตกรรมในเด็ก
ออทิสติก
 อุบัติการณ์ของการเกิดโรคในช่องปาก
    เช่น โรคฟันผุ     โรคเหงือกอักเสบ
    ในเด็กออทิสติกไม่แตกต่างจากเด็กปกติ
   ปัญหาหลักอยู่ที่พฤติกรรมของเด็กที่ไม่
    สามารถสื่อสาร
   เด็กออทิสติกมีความวิตกกังวลและ
    ความกลัวการทำาฟันมากกว่าเด็กปกติ
วิธีการจัดการรักษาทางทันตกรรมใน
เด็กออทิสติก
ทันตแพทย์และทีมงาน
  มีความรู้ ความเข้าใจในพฤติกรรมของ
  เด็กออทิสติก
  ให้การรักษาบนพื้นฐานของความรัก
  เอื้ออาทรต่อผู้ป่วย
  มีความอดทน พยายาม การรักษาอาจ
การซักประวัติ :

ทันตแพทย์และผู้ช่วย
 ทันตแพทย์ :
  เป็นผู้ฟังที่ดี สุภาพ
  การกระตุนให้กำาลังใจ
            ้
  มีทักษะในการสนทนา ผู้
 ปกครองไว้วางใจ
การให้ข้อมูลประวัติของเด็กออทิสติกอ
ย่ งครบถ้ววไป
  า ประวัตทั่ น
          ิ
  ประวัตทางการแพทย์ ยาที่ได้รบเพื่อ
          ิ                    ั
  การรักษาอาการ
  ประวัตการรักษาทางทันตกรรม
            ิ
  เด็กมีพฤติกรรมทำาร้ายร่างกายตัวเอง
  คนอื่น หรือไม่
  มีอารมณ์แปรปรวนบ่อยหรือไม่
  อย่างไร
การเตรียมเด็กออทิสติกก่อนที่จะมา
รักษาทางทันตกรรม
     เด็กที่สามารถสื่อสารได้ ควรบอก
   เด็กล่วงหน้า ว่า จะมาให้หมอตรวจฟัน
   อธิบายวิธีการคร่าวๆ เช่น
   นั่งบนเก้าอี้ หมอปรับเก้าอี้เป็นเตียง
   นอน
   ลูกนอนนิ่งๆ อ้าปากกว้างๆ ให้หมอ
   ตรวจฟัน
การเตรียมเด็กออทิสติกก่อนทีจะมารักษาทา
                           ่
ทันตกรรม
 แนะนำาให้เด็กออทิสติกสร้างความคุ้นเคย
 กับคลินิกทันตกรรมโดยการติดตามสมาชิก
 ของครอบครัวมายังคลินิกทันตกรรม ดีกว่า
 ให้เด็กออทิสติกมาพบทันตแพทย์ตาม
 ลำาพัง
วิธีการจัดการเด็กออทิสติกที่สามารถ
สือสารได้
  ่
  เริ่มทำาการรักษาจากงานง่ายๆ ไป
  หายาก
   ใช้คำาง่ายๆ สั้นๆ ซำ้าๆ บอกเด็ก
  ใช้เวลามากกว่าเด็กปกติ
  เด็กสามารถเรียนรู้ และปฏิบัตตน
                              ิ
  ตามคำาแนะนำา
   ทพ. ให้คำาชม/รางวัลแก่เด็กเมือ
                                ่
การจัดการพฤติกรรม
การรักษาทางทันตกรรมเป็นการ
 รบกวนเด็กออทิสติก
 Tell-show-do (ยากในการบอก
 และแสดง)
 สามารถชักชวนให้ขดฟันได้
                    ั
 ใช้เวลามากในการปรับพฤติกรรม
 กระบวนการเรียนรู้ช้า แสดงขั้น
 ตอนช้า ๆ พร้อมกับการให้รางวัล
การตรวจช่องปาก
 ออกคำาสั่งสั้น   ๆ พูดซำ้าๆ สุภาพ
  และนุ่มนวล
 ทพ.ใช้กระจกส่องปาก ไม่ใช้

  explorer
 สอนเด็กให้อ้าปากเพื่อขัดฟัน

  ได้
 ใช้เวลาสั้นๆ


Hyperactive child
   หลีกเลี่ยง :
    การรอคอยเป็นเวลานาน
    เครื่องมือทีมีเสียงดังมาก
                 ่
    แสงจ้า
    แสงสะท้อนของผิวโลหะ
    สิ่งเร้าต่างๆ ทีกระตุ้นเด็ก
                    ่
Hyperactive child
 ควร :
  บรรยากาศเงียบ สงบ
  การเคลือนไหวน้อยสุด สิงเร้าน้อ
         ่              ่
  ใช้เวลาสัน ๆ ในการรักษา
           ้
การให้การรักษาทางทันตกรรม
 เด็กสามารถเรียนรู้และ
 ยอมรับการฉีดยาชา สามารถ
 ทำาการรักษาด้วยวิธีการทาง
 จิตวิทยาแม้กระทั่งการถอน
 ฟัน
  ไม่ควรให้เด็กรอคอยนาน
Bäckman B, Pilebro C (1999)
การเรียนการสอนโดยใช้รปภาพ
                     ู
      สอนเด็กออทิสติกให้รู้จักวิธีการแปรง
  ฟัน และการรักษาทันตกรรมโดยใช้
  รูปภาพเป็นสื่อการสอน ซึ่งเขาพบว่า เด็ก
  ออทิสติกจะติดต่อสื่อสารผ่านทางรูปภาพ
  ได้ดีกว่าผ่านทางคำาพูด ผลที่ได้คือ เด็กมี
  สุขภาพช่องปากทีดีขึ้น และเด็กให้ความ
                   ่
  ร่วมมือในการทำาฟันมากกว่าเด็กที่ไม่ได้
  รับการสอนด้วยรูปภาพ
Visual pedagogy in dentistry for
children with autism
   ขึ้นกับความสามารถในการเรียนรู้
   เหมาะสำาหรับเด็กออทิสติกที่สามารถสื่อสาร
  ได้โดยการดูภาพ
   Visual pedagogy เป็นสื่อการสอนเด็กออทิ
  สติกในการประกอบกิจวัตรประจำาวัน ใช้ปรับ
  พฤติกรรมของเด็กในการดำาเนินชีวิตไปตาม
  ตารางกิจกรรมต่างๆ         Backman B,Pilebro C.
             Visual pedagogy in dentistry for children with autism.
                                        ASDC J Dent Child.1999.
Visual pedagogy in dentistry for
children with autism




 The front door     The waiting
  room
Visual pedagogy in dentistry for
children with autism


                        The dentist
                        The
                        operating
                        room
                        The lamp
Visual pedagogy in dentistry for
children with autism

                         “Mouth
                         wide
                         open”
                         Instrume
                         nt and
                         objects to
                         be used.
Visual pedagogy in dentistry for
children with autism

     “Visual pedagogy
        is a way of
   introducing dentistry
      to children with
           autism.”
Visual pedagogy
แนะนำาการรักษาทาง
ทันตกรรม
Visual pedagogy
Visual pedagogy
Visual pedagogy
Visual pedagogy
Visual pedagogy แนะนำาการ
แปรงฟัน
Visual pedagogy
Visual pedagogy
Visual pedagogy
Visual pedagogy
Visual pedagogy
Visual pedagogy
Visual pedagogy
Visual pedagogy
วิธีการจัดการ
เด็กออทิสติกทีไม่สามารถสือสาร /ไม่ให้
              ่          ่
ความร่วมมือ
 พิจารณาปัจจัยต่างๆร่วมกับการตัดสิน
    ใจของผู้ปกครอง
     ความรุนแรงของพฤติกรรมของเด็ก
     ออทิสติก
     ความรุนแรงและความจำาเป็นรีบด่วน
     ของการรักษา
     ประมาณงานรักษามากหรือน้อย
วิธีการจัดการ
เด็กออทิสติกทีไม่สามารถสือสาร /ไม่ให้
              ่          ่
ความร่วมมือ
   การควบคุมทางร่างกาย
วิธีการจัดการ
เด็กออทิสติกทีไม่สามารถสือสาร /ไม่ให้
              ่          ่
ความร่วมมือ
    การรักษาทางทันตกรรมภายใต้การดม
  ยาสลบ
การรักษาทางทันตกรรมเด็กที่มี
พฤติกรรมรุนแรง
การรักษาทางทันตกรรมเด็กที่มี
พฤติกรรมรุนแรง
การให้ทันตสุขศึกษา
   เน้นการทำาความสะอาดช่องปาก
   ด้วยการแปรงฟัน
   ให้คำาแนะนำาเรื่องการรับประทาน
   อาหาร
    การให้ฟลูออไรด์เสริม
Preventive
management
  High caries risks
    Oral hygiene instruction แก่ผู้
     ปกครอง
 o    เน้นให้พ่อแม่ตระหนักถึงความสำาคัญในการ
     ดูแลสุขภาพช่องปาก
 o    สอนการแปรงฟันโดยใช้ Scrub technique
     แก่ผู้ปกครอง
 o    เลือกแปรงสีฟันที่มขนาดและสีที่เด็กชอบ
                           ี
 o    มีการให้รางวัลและให้กำาลังใจร่วมด้วยใน
     ขณะแปรงฟัน
 o    สอนการใช้ไหมขัดฟัน
 o    หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะหันเหความสนใจของเด็ก
Preventive
management
   Diet counseling
 •   แนะนำาอาหารที่มประโยชน์และไม่ก่อให้เกิด
                      ี
     ฟันผุ
 •   ไม่ใช้ขนมหวานเป็นรางวัลให้เด็ก หรือให้
     เพื่อให้เด็กอารมณ์ดี
 •   งดการทานจุบจิบระหว่างมื้อ
 •   จำากัดอาหารประเภทแป้งและนำ้าตาล
 •   วิเคราะห์การบริโภคอาหารของผู้ป่วย และ
     ให้คำาแนะนำาที่เหมาะสม
 •   ติดตามผลการเปลี่ยนแปลงทุก 6 เดือน
Preventive
management [Fluoride
 •
  Fluoride
  Professional topical fluoride
     varnish]
 •   Fluoride supplement
 •   Fluoride toothpaste



     Pit & fissure sealant
     Injuries prevention
     counseling
     Regular professional
ฝึกรับประทานอาหารให้
        เป็นเวลา
  ไม่รบประทานจุบจิบ
      ั
แปรงฟันหลังอาหารทุก
           มื้อ
Mouth protector
   เด็กออทิสติก :
    ไม่รู้จักสิงที่มีอันตราย
               ่
    ไม่มีความรู้สกเจ็บปวด
                    ึ
    มีพฤติกรรมทำาร้ายตัวเอง
การจัดการทางทันตกรรม
   แก่ ผูป่วยตาบอด
         ้
ตาบอด
ตาบอด
ตาบอด
การจัดการพฤติกรรมเด็กตาบอด
 ไม่ยุ่งยากมากในการจัดการ
 พฤติกรรม
 สามารถสื่อสารด้วยการพูด
 สามารถรับรู้ดวยประสาทสัมผัสอื่น
               ้
 ทียงคงมีอยู่ เช่น การสัมผัสทาง
   ่ ั
 กาย การดมกลิ่น การรับรสทางลิ้น
การจัดการพฤติกรรมเด็ก
ตาบอด
 แนะนำาเด็กตาบอดรู้จักกับ
 ทพ.และผู้ช่วยฯ โดยการ
 อนุญาตให้เด็กตาบอดคลำา
 หน้า
 การทำาความรู้จักด้วย
 มิตรภาพจะทำาให้เด็กไว้ใจ
การจัดการพฤติกรรมเด็ก
ตาบอด
เด็กพิการทางสายตาจำาเป็นต้องได้
รับคำาแนะนำาขั้นตอนการรักษาใหม่
ๆ ทีไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน
    ่
เสมอ โดยการอธิบายอย่างช้าๆ
ควรให้ผู้ปกครองเข้ามาอยูด้วยใน
                           ่
ครั้งแรกๆ เพื่อให้เด็กไม่กลัว และมี
ความสบายใจ
การจัดการพฤติกรรมเด็กตาบอด

 ควรมีการพูดคุยกับเด็กตลอดการ
 รักษา
 ไม่ปล่อยเด็กให้อยู่บนเก้าอี้ทำาฟัน
 ตามลำาพัง
 ต้องอธิบายขันตอนใหม่ของการ
               ้
 รักษาทุกครั้ง
การจัดการพฤติกรรมเด็กตาบอด
    เพิ่มการใช้โสตประสาท:
       การเล่านิทาน
       การร้องเพลง
   เพิ่มการใช้ประสาทสัมผัส
   เพิ่มการใช้ประสาทการดมกลิน
                             ่
    และการรับรส
การรักษาทางทันตกรรม
             ใน
ผู้ป่วยบกพร่องทางการได้ยิน
การบกพร่องทางการได้ยิน
 หูตึง 26-90 dB
   ได้ยินเสียงบ้าง แต่เสียงต้องดัง
   ใช้เครืองขยายเสียงช่วยได้
          ่
 หูหนวก > 90 dB
   ไม่สามารถได้ยินเสียงสนทนา
   ไม่สามารถใช้เครื่องขยายเสียง
การสื่อสารกับคนบกพร่องทางการ
ได้ยน
    ิ
 Oral method of communication


   Manual method of
    communication
   Total communication
Manual
method
  • การสะกดคำาด้วยนิ้วมือ


   •   ภาษามือ
Finger spelling of Thai alphabets
ภาษามือ




        ปวดฟัน
  ไม่
การสือสารกับผู้ปวยบกพร่องทางการ
      ่         ่
ได้ยิน
ในการรักษาทางทันตกรรม
    ให้ผู้ปกครองอยู่ช่วยในการสื่อสาร
 โดยเฉพาะเด็กเล็ก
    ใช้ภาษากายแทนภาษาพูด การยิ้ม
 แสดงความเป็นมิตร การปฏิบัตต่อเด็ก
                             ิ
 ด้วยความนุ่มนวล
    ใช้ภาพช่วยในการสื่อสาร/อธิบาย
    เตรียมกระดาษ ดินสอ สำาหรับเด็กที่
 อ่านออกเขียนได้
Lip reading

หันหน้าเข้าหากัน ระยะห่าง 2-3 ฟุต
ตาสบตา
ไม่ตะโกน
พูดในลักษณะปกติ
ไม่เน้นคำามากเกินไป (Not emphatic
words)
เสียงฟังชัดเจนปกติ
ภายใต้แสงสว่างพอเพียง
Body language & feeling


การแสดงออกของสีหน้า (Facial
expression)
ท่าทาง (Posture)
การเคลื่อนไหว (Movement)
สังเกตสีหน้าของผูป่วย แสดง
                 ้
อารมณ์ความรู้สึก กลัว วิตกกังวล
เครียด โกรธ พอใจ สงสัย เป็นต้น
Thank you for your attention

             มาลี อรุณากูร
         Malee.aru@mahidol.ac.th

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
techno UCH
 
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้มกลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
Rose Sansai
 
Jc: barriers to dental care for children with special health care needs
Jc: barriers to dental care for children with special health care needsJc: barriers to dental care for children with special health care needs
Jc: barriers to dental care for children with special health care needs
Dr. SHRUTI SUDARSANAN
 
Encontro pais saúde oral
Encontro pais saúde oralEncontro pais saúde oral
Encontro pais saúde oral
Bruno Gomes
 
Cuidados de higiene oral, escovagem dentária e alimentação
Cuidados de higiene oral, escovagem dentária e alimentaçãoCuidados de higiene oral, escovagem dentária e alimentação
Cuidados de higiene oral, escovagem dentária e alimentação
Joel Ferreira
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับ
dentyomaraj
 

Was ist angesagt? (20)

งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
 
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้มกลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
 
3. vat trong implant nha khoa gv pgs ts le son
3. vat trong implant nha khoa gv pgs ts le son3. vat trong implant nha khoa gv pgs ts le son
3. vat trong implant nha khoa gv pgs ts le son
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
 
Orthodontics and Orthognathics
Orthodontics and OrthognathicsOrthodontics and Orthognathics
Orthodontics and Orthognathics
 
Jc: barriers to dental care for children with special health care needs
Jc: barriers to dental care for children with special health care needsJc: barriers to dental care for children with special health care needs
Jc: barriers to dental care for children with special health care needs
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
 
Encontro pais saúde oral
Encontro pais saúde oralEncontro pais saúde oral
Encontro pais saúde oral
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปาก
 
Pedodonti̇.tıp. pptx
Pedodonti̇.tıp. pptxPedodonti̇.tıp. pptx
Pedodonti̇.tıp. pptx
 
Os meus Dentinhos.pptx
Os meus Dentinhos.pptxOs meus Dentinhos.pptx
Os meus Dentinhos.pptx
 
Saúde bucal
Saúde bucalSaúde bucal
Saúde bucal
 
8 Fun Dental Facts
8 Fun Dental Facts8 Fun Dental Facts
8 Fun Dental Facts
 
Cuidados de higiene oral, escovagem dentária e alimentação
Cuidados de higiene oral, escovagem dentária e alimentaçãoCuidados de higiene oral, escovagem dentária e alimentação
Cuidados de higiene oral, escovagem dentária e alimentação
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
 
อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอน
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับ
 

Andere mochten auch

การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
Decode Ac
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
อาม อีฟ
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
an1030
 

Andere mochten auch (13)

ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
 
ความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการ
ความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการ
ความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการ
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
นมฟลูออไรด์
นมฟลูออไรด์นมฟลูออไรด์
นมฟลูออไรด์
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
การทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิชการทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิช
 
092+heap3+dltv54+541213+a+สไลด์ การแปรงฟัน (1 หน้า)
092+heap3+dltv54+541213+a+สไลด์ การแปรงฟัน (1 หน้า)092+heap3+dltv54+541213+a+สไลด์ การแปรงฟัน (1 หน้า)
092+heap3+dltv54+541213+a+สไลด์ การแปรงฟัน (1 หน้า)
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
Fluoride 2553
Fluoride 2553Fluoride 2553
Fluoride 2553
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
 
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กอบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
 

Ähnlich wie Special dentistry

อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝัน
Wanlop Chimpalee
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
fainaja
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
Wan Ngamwongwan
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
Khuanruthai Pomjun
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
DekDoy Khonderm
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
sivapong klongpanich
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
Loveis1able Khumpuangdee
 

Ähnlich wie Special dentistry (20)

Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝัน
 
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_นโครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
แพทย์
แพทย์แพทย์
แพทย์
 

Mehr von Nithimar Or

การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
Nithimar Or
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
Nithimar Or
 

Mehr von Nithimar Or (20)

Ummoua1
Ummoua1Ummoua1
Ummoua1
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
Ummoua3
Ummoua3Ummoua3
Ummoua3
 
Ll101
Ll101Ll101
Ll101
 
Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospital
 
Pochai
PochaiPochai
Pochai
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54
 
Cross sectional
Cross sectionalCross sectional
Cross sectional
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
 
Plan11
Plan11Plan11
Plan11
 
Plan1 11
Plan1 11Plan1 11
Plan1 11
 
Oral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmaiOral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmai
 
ระบาด
ระบาดระบาด
ระบาด
 

Special dentistry