SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
รัฐชาติ หมายถึง ชุมชนทาง 
การเมืองที่ประชาชนมีความรู้สึก 
ผูกพันและภาคภูมิใจ มีความ 
จงรักภักดีต่อประเทศชาติ และ 
รัฐบาลของตนเอง โดยรัฐชาติต้องมี 
เอกภาพทางการเมือง อา นาจ 
อธิปไตย ดินแดนอาณาเขตที่ชัดเจน 
http://www.kledthaishopping.com/product 
.detail_19574_th_3563476 
รัฐชาติ
1.การขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้า 
• การเปิดเส้นทางการค้า ทา ให้เกิดการครอบครอง 
ดินแดนใหม่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15-16 
• การค้าขยายตัวขึ้น ทองคา และเงินจากดินแดน 
ต่าง ๆ ได้หลั่งไหลเข้าสู่ดินแดนยุโรป 
http://www.tnews.co.th/html/allnews/ข่าวเศรษฐกิจ/11- 
page20.html 
ทองคา และเงิน
1.การขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้า(ต่อ) 
• พ่อค้าและนายทุนเป็นพวกที่ได้รับประโยชน์จากการ 
ขยายตัวทางด้านการค้า กลายเป็นชนชั้นที่มีบทบาทใน 
สังคม โดยได้สนับสนุนสถาบันกษัตริย์ทางด้านการเงิน 
เพื่อสร้างฐานอา นาจทางการเมืองและทางทหาร ส่วน 
กษัตริย์ให้ความสะดวกและความคุ้มครองพ่อค้าให้ 
ปลอดภัยจากโจรสลัดที่คอยดักปล้นตามเส้นทางการค้า
2.ความเสื่อมของขุนนาง 
• ช่วงต้นสมัยใหม่ ขุนนางในระบบฟิวดัลอ่อนแอลง 
เพราะบาดเจ็บและล้มตายจากการรบในสงครามครู 
เสดเป็นจา นวนมากและยังหมดสิ้นเงินไปกับการทา 
สงคราม 
• ภาวะเงินเฟ้อทา ให้ขุนนางต้องขายทรัพย์สินให้แก่ 
พ่อค้า ขุนนางจึงยากจนลง ไม่สามารถสะสมกา ลังใน 
การสร้างความวุ่นวายให้กษัตริย์ได้อีกต่อไป
2.ความเสื่อมของขุนนาง(ต่อ) 
• ขุนนางต้องพ่งึการอุปถัมภ์ของกษัตริย์ทา ให้ 
กลายเป็นข้าราชบริพารของกษัตริย์ เป็นการเพิ่ม 
อา นาจของกษัตริย์ให้มากขึ้นในการสร้างชาติ 
และเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในการ 
ปกครองประเทศ
3.ความสานึกในความเป็นชาติ 
เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ภาษาของตนในดินแดน 
ต่างๆ เช่น สเปน โปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ แทน 
ภาษาละตินที่เคยใช้มาแต่เดิม การมีภาษาของตนเอง 
ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจและความจงรักภักดีต่อ 
ชาติของตนในเวลาต่อมา
• คริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน 
และอังกฤษ เป็นประเทศที่มีความเป็นรัฐชาติก่อน 
ประเทศ เพราะการล่มสลายของระบบศักดินาสวามิภักด์ิ 
(ระบบฟิวดัล) มีความเป็นรัฐ มีเอกภาพ 
• ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน และอังกฤษ ปกครองใน 
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่มีพระมหากษัตริย์ 
ปกครองประเทศ ด้วยพระราชอา นาจที่เด็ดขาด มีการ 
รวมอา นาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ประชาชนจงรักภักดีต่อ 
พระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขของประเทศ
http://social-ave.blogspot.com/2010/03/blog-post_ 
5241.html 
กษัตริย์และขุนนางในระบอบฟิวดัล 
http://worldrecordhistory.blogspot.com/p/476- 
1000-middle-ages-germanic-1-486-507_12.html 
เขตแมนเนอร์ของขุนนาง
สาเหตุที่เกิดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 
การที่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เติบโตขึ้นมาได้ มาจากสาเหตุ 
หลายประการ ได้แก่ ความเสื่อมของระบบฟิวดัล รวมทั้งผลของสงครามครู 
เสดและสงครามร้อยปี ทา ให้ขุนนางหมดอา นาจลงและกษัตริย์มีอา นาจเพิ่มขึ้น 
การพัฒนาด้านการค้า การแสวงหาดินแดนอาณานิคม และนโยบายการค้าแบบ 
พาณิชยนิยม พวกพ่อค้านายทุนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการค้า ทา ให้พวกนี้ 
สนับสนุนรัฐบาลกลางที่เข้มแข็ง ที่มีอา นาจในการคุ้มครองกิจการของพวกตน 
สาเหตุเหล่านี้ทา ให้ฐานะของกษัตริย์มีความมั่นคงขึ้น เนื่องจากมีรายได้ที่ 
เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ การปฏิรูปทางศาสนา ยังทา ให้คริสตจักรแตกแยก และ 
อ่อนแอลง อา นาจของสันตะปาปาลดลง ประชาชนจึงหันมาชื่นชมชาติภูมิของ 
ตนและจงรักภักดีต่อกษัตริย์ ส่งผลให้สถาบันกษัตริย์มีอา นาจเพิ่มมากขึ้น
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type 
2/social04/18/middleages/100years_war_i.html 
สงครามร้อยปี 
http://th.wikipedia.org/wiki/สงครามครูเสด 
สงครามครูเสด
http://history-ofthailand.blogspot.com/2012/07/blog-post. 
html 
การแสวงหาดินแดนอาณานิคม 
http://wl.mc.ac.th/?p=106 
การปฏิรูปทางศาสนา
http://writer.dek-d.com/kunsawat-at-rwb/ 
story/viewlongc.php?id=767358&chapter=22 
ลัทธิจักรวรรดินิยม 
http://nateesocial29.blogspot.com/2013/09/b 
log-post_3104.html 
การพัฒนาด้านการค้า
สาเหตุที่เกิดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์(ต่อ) 
อา นาจเทวสิทธ์ิของสถาบันกษัตริย์มีพื้นฐานมาจาก 
แนวความคิดของคริสต์ศาสนา คือ แนวความคิดเรื่องความมี 
อา นาจของพระเจ้า กับแนวความคิดชาตินิยม แนวความคิด 
ทั้งสอง เป็นพื้นฐานที่มาของอา นาจกษัตริย์ กล่าวคือ กษัตริย์ 
ทรงได้รับอา นาจเทวสิทธ์ิจากพระเจ้าให้มาปกครองรัฐ และ 
ประชาชน
1. ทฤษฎีเทวสิทธ์ิ (The Devine Theory) 
• เป็นทฤษฎีที่เก่าแก่ที่สุดในทฤษฎีกา เนิดรัฐ 
• เชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้ดลบันดาลให้เกิดรัฐ เป็นผู้สร้างรัฐ 
• กษัตริย์ได้รับอา นาจโดยตรงจากพระเจ้า กษัตริย์ 
ปกครองโดยได้รับฉันทานุมัติจากพระเจ้าโดยตรง 
ดังนั้นกษัตริย์หรือผู้ปกครองย่อมมีอา นาจเด็ดขาด 
แท้จริง 
• นักทฤษฎีเทวสิทธ์ิ ที่สา คัญคือ 
-ฌอง โบแดง (Jean Bodin)
ฌอง โบแดง (Jean Bodin) 
• เป็นนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส 
• “ตา รา 6 เล่ม ว่าด้วยรัฐ” (Six Books Concerning the State) และ 
“วิธีทา ความเข้าใจกับประวัติศาสตร์”(Method for the Easy 
comprehension of History) 
• กล่าวย้า ความมีอา นาจของรัฐบาลกลาง 
• การมีอา นาจสูงสุดของสถาบันกษัตริย์ในการปกครองประเทศ 
กษัตริย์มีหน้าที่รับผิดชอบต่อพระเจ้าตามที่ได้พระราชทาน 
อา นาจเทวสิทธ์ิมาให้ปกครองประเทศ ตามหลักการเทวสิทธ์ิ
http://www.barnesandnoble.com/w/bodin-on-sovereignty- 
six-books-of-the-commonwealth-jean-bodin/ 
1104176484?ean=2940013604544 
Six Books of the Commonwealth 
http://global.britannica.com/EBchecked/topic/71 
021/Jean-Bodin 
ฌอง โบแดง
2. ทฤษฎีสัญญาประชาคม 
(The Social Contract Theory) 
• เชื่อว่าอา นาจอธิปไตยเป็นของปวงชน เพราะเชื่อว่ามนุษย์ 
เป็นผู้สร้างรัฐ โดยมนุษย์ยินยอมร่วมกันทา สัญญาประชาคม 
( Social Contract) 
• นักทฤษฎีสัญญาประชาคมที่สา คัญคือ 
–โธมัส ฮอบส์(Thomas Hobbes) 
–จอห์น ล็อก (John Locke) 
–จัง จ๊าคส์รุสโซ (Jean Jaques Roussuau)
โธมัส ฮอบส์(Thomas Hobbes) 
• มีแนวคิดส่งเสริมอา นาจเด็ดขาดของกษัตริย์ และมุ่งให้รัฐบาลมีอา นาจ 
โดยสมบูรณ์ ซึ่งก็คือสมบูรณาญาสิทธิราช เนื่องจากเชื่อว่าเป็นระบอบที่ 
มีความมั่นคงและมีความเป็นระเบียบที่สุด 
• เริ่มแรกมนุษย์ยังไม่เป็นสังคม แยกกันอยู่ในสภาพธรรมชาติซึ่งโดด 
เดี่ยว ยากจน น่าเกลียด โหดร้าย ซึ่งสภาพแบบนี้ไม่มีความรับผิดชอบ 
ไม่มีความยุติธรรม ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นของคนที่แสวงหามาได้ เป็น 
สงครามที่มนุษย์ทุกคนต้องกระทา เพื่อความอยู่รอดของตน ซึ่งไม่ผิด 
อะไรกับคนป่าเถื่อน 
• ตามความเชื่อของฮอบส์มนุษย์จึงตกลงทา สัญญาประชาคมภายใต้องค์ 
อธิปัตย์
โธมัส ฮอบส์(Thomas Hobbes) (ต่อ) 
• องค์อธิปัตย์ไม่ใช่คู่สัญญา เพราะไม่ได้ร่วมทา สัญญา 
ด้วย ประชาชนเป็นผู้มอบอา นาจให้องค์อธิปัตย์ 
ปกครองโดยความสมัครใจของตนเอง 
• สัญญาประชาคมมีลักษณะถาวรและเรียกคืนไม่ได้ 
และบอกเลิกไม่ได้ 
• ผู้ที่ได้รับประโยชน์จากสัญญาควรจะเป็นองค์อธิปัตย์ 
และสนับสนุนอา นาจสูงสุดของสภานิติบัญญัติ 
• เจ้าของหนังสือ “รัฏฐาธิปัตย์” (Leviathan) เป็นตา รา 
ปรัชญาการเมืองรัฐศาสตร์เล่มแรกของโลก
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=vinitsiri&mon 
th=04-2011&date=15&group=27&gblog=140 
โทมัส ฮอบส์ 
http://ukbooks.sg/th/book/Leviathan-With-Selected- 
Variants-from-the-Latin-Edition-of-1668-9780872201774 
หนังสือ Leviathan
จอห์น ล็อก (John Locke) 
• อธิบายให้เห็นถึงสภาพธรรมชาติกับสภาพของสังคมที่มีการจัด 
ระเบียบดีแล้ว โดยชี้ให้เห็นถึงความไม่สมบูรณ์ของสภาพธรรมชาติ 
• ในสภาพธรรมชาติ มนุษย์เป็นผู้ตัดสินคดีในกรณีที่มีความผิด แต่มี 
ข้อบกพร่องคือ คา พิพากษาอาจไม่มีความยุติธรรมเพียงพอ ไม่มี 
กา ลังเพียงพอที่จะบังคับคดี และบางคดีที่คล้ายกัน โทษที่ได้รับอาจ 
แตกต่างกัน 
• มีวิธี 3 ประการคือ การจัดตั้งศาล เพื่อตีความกฎหมายอย่างยุติธรรม 
การจัดตั้งฝ่ายบริหาร เพื่อรักษากฎหมาย และการจัดตั้งฝ่ายนิติ 
บัญญัติ เพื่อกา หนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพิพากษาคดีต่างๆ
จอห์น ล็อก (John Locke) (ต่อ) 
• มนุษย์จา เป็นต้องสละสิทธิให้องค์กรที่จัดตั้งขึ้น เพื่อทา หน้าที่ 
แทนทุกคน ทั้งนี้ต้องให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่สังคม ขั้นตอน 
ทั้งหมดนี้กล่าวได้ว่าเป็นสัญญา 
• คัดค้านการมีอา นาจสูงสุดของสภานิติบัญญัติ รัฐสภาต้องใช้ 
อา นาจอย่างจา กัดเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของสังคม อา นาจของ 
รัฐสภาเป็นเพียงอา นาจที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น อา นาจสูงสุด 
ยังเป็นของประชาชน ซึ่งสามารถยุบสภาได้ 
• สนับสนุนให้เอกชนมีสิทธิในทรัพย์สิน ซึ่งเป็นเป็นการปกป้อง 
สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล 
• สังคมเกิดมาได้โดยการยินยอมสมัครใจของสมาชิกสังคม ซึ่ง 
ปกครองโดยเสียงข้างมาก
http://www.spaceandmotion.com/philoso 
phy-john-locke-biography.htm 
จอห์น ล็อก 
http://my.dek-d. 
com/jowpoyluang/blog/?blog_id=10024694 
John Locke
จัง จ๊าคส์รุสโซ (Jean Jaques Roussuau) 
• ยอมรับความคิดของล็อกในเรื่องสภาพธรรมชาติและอยู่ 
ภายใต้กฎธรรมชาติ 
• ในสภาพธรรมชาติ มนุษย์เป็นคนดี มีความเห็นอกเห็นใจใน 
ความทุกข์ยากของผู้อื่น 
• มนุษย์โดยสภาพธรรมชาติมีความรู้สึกอยากอยู่ร่วมกันใน 
สังคม ด้วยเหตุนี้สังคมมีเจตนารมณ์ทั่วไป ซึ่งเป็นการพิทักษ์ 
รักษา และให้สวัสดิการแก่ส่วนรวม และเป็นแหล่งที่มาของ 
กฎหมายทั้งมวล และเป็นตัวกา หนดความสัมพันธ์ระหว่าง 
สมาชิกของสังคม
จัง จ๊าคส์รุสโซ (Jean Jaques Roussuau) 
• เจตนารมณ์เกิดขึ้นภายหลังจากการรวมเป็นสังคม และเป็นสิ่ง 
สูงสุดภายในรัฐ โดยรัฐเป็นเพียงตัวแทนของเจตนารมณ์ ซึ่ง 
เจตนารมณ์ก็คืออา นาจอธิปไตยนั่นเอง 
• รัฐบาลสมควรให้เอกชนมีสิทธิเสรีภาพตามสมควรภายใต้กรอบ 
กฎหมาย รัฐต้องมีหน้าที่ปกป้องเสรีภาพของประชาชน 
นอกเหนือจากปกครองและรักษากฎหมาย 
• สิ่งที่ถูกต้องคือสิ่งที่กระทา โดยเจตนารมณ์ทั่วไป สิ่งใดผิดจึง 
ไม่ใช่เจตนารมณ์ทั่วไป
http://123ne.blogspot.com/2012/03/blog-post_ 
29.html 
สัญญาประชาคม 
http://123ne.blogspot.com/2012/03/blog-post_ 
29.html 
จัง จ๊าคส์รุสโซ
3.ทฤษฎีพละกาลัง (The Force Theory) 
• การปกครองเกิดขึ้นจากการยึดครองและการบังคับ 
• รากฐานของรัฐคือความอยุติธรรมและความชั่วร้าย และ 
ได้สร้างกฎเกณฑ์เสมือนว่าชอบด้วยกฎหมายในการ 
จา กัดสิทธิของบุคคลอื่น 
• ศาสนจักรในสมัยกลางเห็นว่าอาณาจักรโรมันก่อตั้ง 
ขึ้นมาโดยแสนยานุภาพ และเป็นสิ่งไม่ถูกต้อง 
• ในปลายศตวรรษที่ เห็นว่าแสนยานุภาพของรัฐเป็น 
สิ่งจา เป็นและมีความชอบธรรม ซึ่งสะท้อนให้เห็นจาก 
ลัทธิอาณานิคม
4.ทฤษฎีธรรมชาติ (The Natural Theory) 
• ชาวกรีกโบราณเชื่อว่ามนุษย์ไม่สามารถแยกตัวจากรัฐได้ 
• กิจกรรมการเมืองของมนุษย์เป็นเรื่องธรรมชาติ และมนุษย์ 
กับการเมืองเป็นสิ่งที่แยกกันไม่ออก 
• รัฐเป็นธรรมชาติมีการเจริญเติบโตซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ และรัฐ 
เปรียบเสมือนสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง สะท้อนให้เห็นได้ในปลาย 
ศตวรรษที่ จากลัทธิอาณานิคม 
• นักทฤษฎีธรรมชาติที่สา คัญคือ 
–อริสโตเติล
อริสโตเติล (Aristotle) 
กล่าวว่ามนุษย์โดยธรรมชาติ 
นั้นเป็นสัตว์การเมืองผู้ซึ่งสามารถ 
สร้างความสาเร็จให้กับตนเอง 
มนุษย์ที่ไม่ได้อาศัยในรัฐจะเป็นพระ 
เจ้าหรือสัตว์อย่างใดอย่างหนึ่ง 
http://www.ku.ac.th/e-magazine/april44/book/book1.html 
แนวคิดทางปรัชญาการเมืองของอริสโตเติล 
http://www.thaigoodview.com/node/87487 
อริสโตเติล
จัดทาโดย 
1. นางสาวณภาภัช ประชาอนุวงศ์ เลขที่ 1 
2. นางสาววรินธร ลิมปนากร เลขที่ 33 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.5 
เสนอ 
อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 

Was ist angesagt? (20)

หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 

Ähnlich wie กำเนิดรัฐชาติ

Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..sandzii
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsKatawutPK
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 

Ähnlich wie กำเนิดรัฐชาติ (20)

Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional forms
 
ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~ ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 

กำเนิดรัฐชาติ

  • 1.
  • 2. รัฐชาติ หมายถึง ชุมชนทาง การเมืองที่ประชาชนมีความรู้สึก ผูกพันและภาคภูมิใจ มีความ จงรักภักดีต่อประเทศชาติ และ รัฐบาลของตนเอง โดยรัฐชาติต้องมี เอกภาพทางการเมือง อา นาจ อธิปไตย ดินแดนอาณาเขตที่ชัดเจน http://www.kledthaishopping.com/product .detail_19574_th_3563476 รัฐชาติ
  • 3.
  • 4. 1.การขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้า • การเปิดเส้นทางการค้า ทา ให้เกิดการครอบครอง ดินแดนใหม่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15-16 • การค้าขยายตัวขึ้น ทองคา และเงินจากดินแดน ต่าง ๆ ได้หลั่งไหลเข้าสู่ดินแดนยุโรป http://www.tnews.co.th/html/allnews/ข่าวเศรษฐกิจ/11- page20.html ทองคา และเงิน
  • 5. 1.การขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้า(ต่อ) • พ่อค้าและนายทุนเป็นพวกที่ได้รับประโยชน์จากการ ขยายตัวทางด้านการค้า กลายเป็นชนชั้นที่มีบทบาทใน สังคม โดยได้สนับสนุนสถาบันกษัตริย์ทางด้านการเงิน เพื่อสร้างฐานอา นาจทางการเมืองและทางทหาร ส่วน กษัตริย์ให้ความสะดวกและความคุ้มครองพ่อค้าให้ ปลอดภัยจากโจรสลัดที่คอยดักปล้นตามเส้นทางการค้า
  • 6. 2.ความเสื่อมของขุนนาง • ช่วงต้นสมัยใหม่ ขุนนางในระบบฟิวดัลอ่อนแอลง เพราะบาดเจ็บและล้มตายจากการรบในสงครามครู เสดเป็นจา นวนมากและยังหมดสิ้นเงินไปกับการทา สงคราม • ภาวะเงินเฟ้อทา ให้ขุนนางต้องขายทรัพย์สินให้แก่ พ่อค้า ขุนนางจึงยากจนลง ไม่สามารถสะสมกา ลังใน การสร้างความวุ่นวายให้กษัตริย์ได้อีกต่อไป
  • 7. 2.ความเสื่อมของขุนนาง(ต่อ) • ขุนนางต้องพ่งึการอุปถัมภ์ของกษัตริย์ทา ให้ กลายเป็นข้าราชบริพารของกษัตริย์ เป็นการเพิ่ม อา นาจของกษัตริย์ให้มากขึ้นในการสร้างชาติ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในการ ปกครองประเทศ
  • 8. 3.ความสานึกในความเป็นชาติ เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ภาษาของตนในดินแดน ต่างๆ เช่น สเปน โปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ แทน ภาษาละตินที่เคยใช้มาแต่เดิม การมีภาษาของตนเอง ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจและความจงรักภักดีต่อ ชาติของตนในเวลาต่อมา
  • 9.
  • 10. • คริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน และอังกฤษ เป็นประเทศที่มีความเป็นรัฐชาติก่อน ประเทศ เพราะการล่มสลายของระบบศักดินาสวามิภักด์ิ (ระบบฟิวดัล) มีความเป็นรัฐ มีเอกภาพ • ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน และอังกฤษ ปกครองใน ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่มีพระมหากษัตริย์ ปกครองประเทศ ด้วยพระราชอา นาจที่เด็ดขาด มีการ รวมอา นาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ประชาชนจงรักภักดีต่อ พระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขของประเทศ
  • 11. http://social-ave.blogspot.com/2010/03/blog-post_ 5241.html กษัตริย์และขุนนางในระบอบฟิวดัล http://worldrecordhistory.blogspot.com/p/476- 1000-middle-ages-germanic-1-486-507_12.html เขตแมนเนอร์ของขุนนาง
  • 12. สาเหตุที่เกิดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ การที่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เติบโตขึ้นมาได้ มาจากสาเหตุ หลายประการ ได้แก่ ความเสื่อมของระบบฟิวดัล รวมทั้งผลของสงครามครู เสดและสงครามร้อยปี ทา ให้ขุนนางหมดอา นาจลงและกษัตริย์มีอา นาจเพิ่มขึ้น การพัฒนาด้านการค้า การแสวงหาดินแดนอาณานิคม และนโยบายการค้าแบบ พาณิชยนิยม พวกพ่อค้านายทุนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการค้า ทา ให้พวกนี้ สนับสนุนรัฐบาลกลางที่เข้มแข็ง ที่มีอา นาจในการคุ้มครองกิจการของพวกตน สาเหตุเหล่านี้ทา ให้ฐานะของกษัตริย์มีความมั่นคงขึ้น เนื่องจากมีรายได้ที่ เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ การปฏิรูปทางศาสนา ยังทา ให้คริสตจักรแตกแยก และ อ่อนแอลง อา นาจของสันตะปาปาลดลง ประชาชนจึงหันมาชื่นชมชาติภูมิของ ตนและจงรักภักดีต่อกษัตริย์ ส่งผลให้สถาบันกษัตริย์มีอา นาจเพิ่มมากขึ้น
  • 13. http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type 2/social04/18/middleages/100years_war_i.html สงครามร้อยปี http://th.wikipedia.org/wiki/สงครามครูเสด สงครามครูเสด
  • 15. http://writer.dek-d.com/kunsawat-at-rwb/ story/viewlongc.php?id=767358&chapter=22 ลัทธิจักรวรรดินิยม http://nateesocial29.blogspot.com/2013/09/b log-post_3104.html การพัฒนาด้านการค้า
  • 16. สาเหตุที่เกิดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์(ต่อ) อา นาจเทวสิทธ์ิของสถาบันกษัตริย์มีพื้นฐานมาจาก แนวความคิดของคริสต์ศาสนา คือ แนวความคิดเรื่องความมี อา นาจของพระเจ้า กับแนวความคิดชาตินิยม แนวความคิด ทั้งสอง เป็นพื้นฐานที่มาของอา นาจกษัตริย์ กล่าวคือ กษัตริย์ ทรงได้รับอา นาจเทวสิทธ์ิจากพระเจ้าให้มาปกครองรัฐ และ ประชาชน
  • 17.
  • 18. 1. ทฤษฎีเทวสิทธ์ิ (The Devine Theory) • เป็นทฤษฎีที่เก่าแก่ที่สุดในทฤษฎีกา เนิดรัฐ • เชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้ดลบันดาลให้เกิดรัฐ เป็นผู้สร้างรัฐ • กษัตริย์ได้รับอา นาจโดยตรงจากพระเจ้า กษัตริย์ ปกครองโดยได้รับฉันทานุมัติจากพระเจ้าโดยตรง ดังนั้นกษัตริย์หรือผู้ปกครองย่อมมีอา นาจเด็ดขาด แท้จริง • นักทฤษฎีเทวสิทธ์ิ ที่สา คัญคือ -ฌอง โบแดง (Jean Bodin)
  • 19. ฌอง โบแดง (Jean Bodin) • เป็นนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส • “ตา รา 6 เล่ม ว่าด้วยรัฐ” (Six Books Concerning the State) และ “วิธีทา ความเข้าใจกับประวัติศาสตร์”(Method for the Easy comprehension of History) • กล่าวย้า ความมีอา นาจของรัฐบาลกลาง • การมีอา นาจสูงสุดของสถาบันกษัตริย์ในการปกครองประเทศ กษัตริย์มีหน้าที่รับผิดชอบต่อพระเจ้าตามที่ได้พระราชทาน อา นาจเทวสิทธ์ิมาให้ปกครองประเทศ ตามหลักการเทวสิทธ์ิ
  • 20. http://www.barnesandnoble.com/w/bodin-on-sovereignty- six-books-of-the-commonwealth-jean-bodin/ 1104176484?ean=2940013604544 Six Books of the Commonwealth http://global.britannica.com/EBchecked/topic/71 021/Jean-Bodin ฌอง โบแดง
  • 21. 2. ทฤษฎีสัญญาประชาคม (The Social Contract Theory) • เชื่อว่าอา นาจอธิปไตยเป็นของปวงชน เพราะเชื่อว่ามนุษย์ เป็นผู้สร้างรัฐ โดยมนุษย์ยินยอมร่วมกันทา สัญญาประชาคม ( Social Contract) • นักทฤษฎีสัญญาประชาคมที่สา คัญคือ –โธมัส ฮอบส์(Thomas Hobbes) –จอห์น ล็อก (John Locke) –จัง จ๊าคส์รุสโซ (Jean Jaques Roussuau)
  • 22. โธมัส ฮอบส์(Thomas Hobbes) • มีแนวคิดส่งเสริมอา นาจเด็ดขาดของกษัตริย์ และมุ่งให้รัฐบาลมีอา นาจ โดยสมบูรณ์ ซึ่งก็คือสมบูรณาญาสิทธิราช เนื่องจากเชื่อว่าเป็นระบอบที่ มีความมั่นคงและมีความเป็นระเบียบที่สุด • เริ่มแรกมนุษย์ยังไม่เป็นสังคม แยกกันอยู่ในสภาพธรรมชาติซึ่งโดด เดี่ยว ยากจน น่าเกลียด โหดร้าย ซึ่งสภาพแบบนี้ไม่มีความรับผิดชอบ ไม่มีความยุติธรรม ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นของคนที่แสวงหามาได้ เป็น สงครามที่มนุษย์ทุกคนต้องกระทา เพื่อความอยู่รอดของตน ซึ่งไม่ผิด อะไรกับคนป่าเถื่อน • ตามความเชื่อของฮอบส์มนุษย์จึงตกลงทา สัญญาประชาคมภายใต้องค์ อธิปัตย์
  • 23. โธมัส ฮอบส์(Thomas Hobbes) (ต่อ) • องค์อธิปัตย์ไม่ใช่คู่สัญญา เพราะไม่ได้ร่วมทา สัญญา ด้วย ประชาชนเป็นผู้มอบอา นาจให้องค์อธิปัตย์ ปกครองโดยความสมัครใจของตนเอง • สัญญาประชาคมมีลักษณะถาวรและเรียกคืนไม่ได้ และบอกเลิกไม่ได้ • ผู้ที่ได้รับประโยชน์จากสัญญาควรจะเป็นองค์อธิปัตย์ และสนับสนุนอา นาจสูงสุดของสภานิติบัญญัติ • เจ้าของหนังสือ “รัฏฐาธิปัตย์” (Leviathan) เป็นตา รา ปรัชญาการเมืองรัฐศาสตร์เล่มแรกของโลก
  • 24. http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=vinitsiri&mon th=04-2011&date=15&group=27&gblog=140 โทมัส ฮอบส์ http://ukbooks.sg/th/book/Leviathan-With-Selected- Variants-from-the-Latin-Edition-of-1668-9780872201774 หนังสือ Leviathan
  • 25. จอห์น ล็อก (John Locke) • อธิบายให้เห็นถึงสภาพธรรมชาติกับสภาพของสังคมที่มีการจัด ระเบียบดีแล้ว โดยชี้ให้เห็นถึงความไม่สมบูรณ์ของสภาพธรรมชาติ • ในสภาพธรรมชาติ มนุษย์เป็นผู้ตัดสินคดีในกรณีที่มีความผิด แต่มี ข้อบกพร่องคือ คา พิพากษาอาจไม่มีความยุติธรรมเพียงพอ ไม่มี กา ลังเพียงพอที่จะบังคับคดี และบางคดีที่คล้ายกัน โทษที่ได้รับอาจ แตกต่างกัน • มีวิธี 3 ประการคือ การจัดตั้งศาล เพื่อตีความกฎหมายอย่างยุติธรรม การจัดตั้งฝ่ายบริหาร เพื่อรักษากฎหมาย และการจัดตั้งฝ่ายนิติ บัญญัติ เพื่อกา หนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพิพากษาคดีต่างๆ
  • 26. จอห์น ล็อก (John Locke) (ต่อ) • มนุษย์จา เป็นต้องสละสิทธิให้องค์กรที่จัดตั้งขึ้น เพื่อทา หน้าที่ แทนทุกคน ทั้งนี้ต้องให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่สังคม ขั้นตอน ทั้งหมดนี้กล่าวได้ว่าเป็นสัญญา • คัดค้านการมีอา นาจสูงสุดของสภานิติบัญญัติ รัฐสภาต้องใช้ อา นาจอย่างจา กัดเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของสังคม อา นาจของ รัฐสภาเป็นเพียงอา นาจที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น อา นาจสูงสุด ยังเป็นของประชาชน ซึ่งสามารถยุบสภาได้ • สนับสนุนให้เอกชนมีสิทธิในทรัพย์สิน ซึ่งเป็นเป็นการปกป้อง สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล • สังคมเกิดมาได้โดยการยินยอมสมัครใจของสมาชิกสังคม ซึ่ง ปกครองโดยเสียงข้างมาก
  • 27. http://www.spaceandmotion.com/philoso phy-john-locke-biography.htm จอห์น ล็อก http://my.dek-d. com/jowpoyluang/blog/?blog_id=10024694 John Locke
  • 28. จัง จ๊าคส์รุสโซ (Jean Jaques Roussuau) • ยอมรับความคิดของล็อกในเรื่องสภาพธรรมชาติและอยู่ ภายใต้กฎธรรมชาติ • ในสภาพธรรมชาติ มนุษย์เป็นคนดี มีความเห็นอกเห็นใจใน ความทุกข์ยากของผู้อื่น • มนุษย์โดยสภาพธรรมชาติมีความรู้สึกอยากอยู่ร่วมกันใน สังคม ด้วยเหตุนี้สังคมมีเจตนารมณ์ทั่วไป ซึ่งเป็นการพิทักษ์ รักษา และให้สวัสดิการแก่ส่วนรวม และเป็นแหล่งที่มาของ กฎหมายทั้งมวล และเป็นตัวกา หนดความสัมพันธ์ระหว่าง สมาชิกของสังคม
  • 29. จัง จ๊าคส์รุสโซ (Jean Jaques Roussuau) • เจตนารมณ์เกิดขึ้นภายหลังจากการรวมเป็นสังคม และเป็นสิ่ง สูงสุดภายในรัฐ โดยรัฐเป็นเพียงตัวแทนของเจตนารมณ์ ซึ่ง เจตนารมณ์ก็คืออา นาจอธิปไตยนั่นเอง • รัฐบาลสมควรให้เอกชนมีสิทธิเสรีภาพตามสมควรภายใต้กรอบ กฎหมาย รัฐต้องมีหน้าที่ปกป้องเสรีภาพของประชาชน นอกเหนือจากปกครองและรักษากฎหมาย • สิ่งที่ถูกต้องคือสิ่งที่กระทา โดยเจตนารมณ์ทั่วไป สิ่งใดผิดจึง ไม่ใช่เจตนารมณ์ทั่วไป
  • 30. http://123ne.blogspot.com/2012/03/blog-post_ 29.html สัญญาประชาคม http://123ne.blogspot.com/2012/03/blog-post_ 29.html จัง จ๊าคส์รุสโซ
  • 31. 3.ทฤษฎีพละกาลัง (The Force Theory) • การปกครองเกิดขึ้นจากการยึดครองและการบังคับ • รากฐานของรัฐคือความอยุติธรรมและความชั่วร้าย และ ได้สร้างกฎเกณฑ์เสมือนว่าชอบด้วยกฎหมายในการ จา กัดสิทธิของบุคคลอื่น • ศาสนจักรในสมัยกลางเห็นว่าอาณาจักรโรมันก่อตั้ง ขึ้นมาโดยแสนยานุภาพ และเป็นสิ่งไม่ถูกต้อง • ในปลายศตวรรษที่ เห็นว่าแสนยานุภาพของรัฐเป็น สิ่งจา เป็นและมีความชอบธรรม ซึ่งสะท้อนให้เห็นจาก ลัทธิอาณานิคม
  • 32. 4.ทฤษฎีธรรมชาติ (The Natural Theory) • ชาวกรีกโบราณเชื่อว่ามนุษย์ไม่สามารถแยกตัวจากรัฐได้ • กิจกรรมการเมืองของมนุษย์เป็นเรื่องธรรมชาติ และมนุษย์ กับการเมืองเป็นสิ่งที่แยกกันไม่ออก • รัฐเป็นธรรมชาติมีการเจริญเติบโตซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ และรัฐ เปรียบเสมือนสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง สะท้อนให้เห็นได้ในปลาย ศตวรรษที่ จากลัทธิอาณานิคม • นักทฤษฎีธรรมชาติที่สา คัญคือ –อริสโตเติล
  • 33. อริสโตเติล (Aristotle) กล่าวว่ามนุษย์โดยธรรมชาติ นั้นเป็นสัตว์การเมืองผู้ซึ่งสามารถ สร้างความสาเร็จให้กับตนเอง มนุษย์ที่ไม่ได้อาศัยในรัฐจะเป็นพระ เจ้าหรือสัตว์อย่างใดอย่างหนึ่ง http://www.ku.ac.th/e-magazine/april44/book/book1.html แนวคิดทางปรัชญาการเมืองของอริสโตเติล http://www.thaigoodview.com/node/87487 อริสโตเติล
  • 34. จัดทาโดย 1. นางสาวณภาภัช ประชาอนุวงศ์ เลขที่ 1 2. นางสาววรินธร ลิมปนากร เลขที่ 33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.5 เสนอ อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล