SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 72
ทำำตำำรำอย่ำงไร จึงจะถูกใจผู้อ่ำน
(Readers)
ศำสตรำจำรย์ นำยแพทย์วชิร คช
กำร,พบ., FACS
ศำสตรำจำรย์ระดับ 11
รองคณบดีฝ่ำยวิชำกำร
คณะแพทยศำสตร์โรงพยำบำล
ทำำไมต้องทำำตำำรำ
• เพื่อควำมก้ำวหน้ำทำงวิชำกำร เพื่อช่วยให้
บุคคลอื่น หรือเพื่อนร่วมวิชำชีพมีควำมรู้มำกขึ้น
• แสดงถึงควำมเป็นเลิศทำงวิชำกำร สร้ำง
ภำพพจน์ที่ดี ต่อตนเอง หน่วยงำน ประเทศชำติ
• เพื่อควำมก้ำวหน้ำส่วนตน
• เพื่อจำำหน่ำย
• ฯลฯ
คุณสมบัติขั้นต้น
• มีควำมตั้งใจ มีควำมมุ่งมั่น
• ยินดี และเต็มใจที่จะทำำ พร้อมจะฟันฝ่ำอุปสรรค
• ศึกษำระเบียบวิธี แนวทำง
จะต้องเตรียมตัวอะไรบ้ำง
• เนื้อหำวิชำ เชิงกว้ำง หรือเชิงลึก เขียนเรื่องที่
เรำรู้ ไม่ใช่เรื่องที่เรำรู้น้อยแต่อยำกเขียน
• เขียนคนเดียว หรือ หลำยคน
• กลุ่มเป้ำหมำย นักศึกษำ นักวิชำกำรทั่วไป ผู้
เชี่ยวชำญ พยำบำล หรือประชำชน
• วำงเป้ำหมำยว่ำจะจบเมื่อไร
• ศึกษำหลักเกณฑ์ อย่ำทำำโดยอำำเภอใจ
• ศึกษำถึงสิ่งอำำนวยควำมสะดวกต่ำงๆ
• ปรึกษำผู้รู้
หนังสือ
• เอกสำรทำงวิชำกำรที่เขียนเพื่อเผยแพร่ควำมรู้
ทำงวิชำกำร
• สำำหรับผู้อ่ำนทั่วไป
• ไม่ต้องอยู่ในหลักสูตร
• เรียบเรียงอย่ำงมีเอกภำพ หลักฐำนทำงวิชำกำร
แน่นอน
• พิมพ์เป็นรูปเล่ม
• ให้ทัศนะเสริมสร้ำงควำมคิด ปัญญำ
•
ตำำรำ
• เอกสำรทำงวิชำกำรที่เรียบเรียงอย่ำงมีระบบ
• สะท้อนถึงเนื้อหำส่วนหนึ่ง หรือทั้งหมดของ
รำยวิชำ ในหลักสูตร ของมหำวิทยำลัย
• รูปแบบ, พิมพ์เป็นรูปเล่ม
• สำมำรถผลิตในรูปแบบสื่อ electronic
• ตำำรำพิมพ์เผยแพร่มำแล้วไม่น้อยกว่ำ 1 ภำค
กำรศึกษำ
• ภำษำใดก็ได้แต่ต้องเป็นเอกภำพ
ประเภทของตำำรำ
• แบ่งโดยเนื้อหำ
  ก. ตำำรำพื้นฐำน ได้แก่ ตำำรำที่ให้ควำมรู้ซึ่งเป็นควำมรู้สำำคัญๆ
ในวิชำนั้นๆ 
  ข. บทอ่ำน ได้แก่ ข้อเขียนสำำคัญหรือกรณีศึกษำที่สำำคัญๆ ซึ่ง
ใช้ในกำรศึกษำวิชำนั้นๆ กำรคัดบทอ่ำนจึงต้องอำศัยควำมรู้
ควำมเข้ำใจในทำงวิชำกำรอย่ำงลึกซึ้ง
  ค. ตำำรำเฉพำะด้ำนหรือเฉพำะเรื่อง 
  ง. ตำำรำเชื่อมโยงระหว่ำงสำขำ 
  จ. ตำำรำประยุกต์ ได้แก่ ตำำรำที่กล่ำวถึงวิธีนำำทฤษฎีไปใช้ใน
ทำงปฏิบัติ หรือใช้แก้ปัญหำปัจจุบันหรือปัญหำที่อำจจะเกิดขึ้น
  ฉ. ตำำรำปฏิบัติกำร เป็นตำำรำที่อธิบำยวิธีทดลองหรือทำำแบบ
ฝึกหัดซึ่งผู้เรียนสำมำรถเรียนด้วยตนเองได้
•  แบ่งโดยวิธีเขียน ได้แก่ งำนแปล งำนเรียบเรียง งำนค้นคว้ำ
งำนที่เขียนขึ้นใหม่
ศ.ปรีชำ ช้ำง
ประเภท
ผลงำน
ลักษณะของผลงำนทำงวิชำกำรจำำแนกตำมระดับคุณภำพ
ระดับดี ระดับดีมำก ระดับดีเด่น
ตำำรำ เป็นตำำรำที่มีรูปแบบตำมที่
ก.ม. กำำหนด (หนังสือที่
ทม 0202/ว.6 ลงวันที่
29 ต.ค. 2527) มีเนื้อหำ
สำระทำงวิชำกำรถูกต้อง
สมบูรณ์และนำำสมัย เป็น
ประโยชน์ต่อกำรเรียนกำร
สอน ในระดับอุดมศึกษำ
เป็นอย่ำงดี
เป็นตำำรำที่มีรูปแบบ
ตำมที่ ก.ม. กำำหนด
(หนังสือที่ ทม 0202/
ว.6 ลงวันที่ 29 ต.ค.
2527) มีเนื้อหำทำง
วิชำกำรถูกต้อง
สมบูรณ์และทันสมัย
โดยจะต้องแสดงควำม
คิดริเริ่ม และ
ประสบกำรณ์อันก่อให้
เกิดควำมรู้ใหม่ที่เป็น
ประโยชน์ต่อควำม
ก้ำวหน้ำทำงวิชกำรอ
ย่ำงเห็นได้ชัด
สำมำรถใช้เป็นแหล่ง
อ้ำงอิงหรือนำำไป
เป็นตำำรำที่มีรูปแบบ
ตำมที่ ก.ม. กำำหนด
(หนังสือที่ ทม
0202/ว.6 ลงวันที่
29 ต.ค. 2527) มี
เนื้อหำสำระทำง
วิชำกำรถูกต้อง
สมบูรณ์และทันสมัย
โดยจะต้องมีลักษณะ
เป็นงำนริเริ่มบุกเบิก
ทำงวิชำกำรในเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่งและเป็น
ผลงำนที่มีประโยชน์
ทำงวิชำกำรอย่ำง
กว้ำงขวำง จนเป็นที่
เชื่อถือและยอมรับใน
ตำำรำดีจะต้องมีลักษณะดังนี้
• เนื้อหำ สำระครอบคลุมสิ่งที่จะต้องรู้ อย่ำงถูก
ต้อง เหมำะสมกับสมัย
• เรียบเรียงลำำดับเนื้อหำอย่ำงมีระบบและเป็น
ระเบียบ
• ภำษำที่ใช้เรียบเรียงเป็นภำษำที่ดี คำำย่อต่ำงๆ
ถูกต้อง วรรคตอนเหมำะสมไม่สับสน
• มีกำรอ้ำงอิงแหล่งที่มำชัดเจน อ้ำงอิงตำม
ระบบสำกลที่ถูกต้อง เหมำะสมกับสำขำวิชำ
ประเสริฐ ทองเจริญ 2548
ตำำรำดีจะต้องมีลักษณะดังนี้
• รูปแบบและกำรพิมพ์ถูกต้อง อ่ำนง่ำยชัดเจน
กำรวำงรูปภำพ ตำรำง เหมำะสม
• หำซื้อไม่ยำก รำคำไม่แพงเกินกว่ำที่สำมัญชน
หรือนักศึกษำจะซื้อหำมำอ่ำนได้ มีแหล่งพิมพ์
โรงพิมพ์ สำำนักพิมพ์ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณำ ตำมพระ
รำชบัญญัติ บอกปี พ.ศ. ที่พิมพ์เผยแพร่ มีระหัส
สำกล ISBN รหัสห้องสมุด
• มีบรรณำธิกำรตรวจสอบควำมถูกต้องด้ำนประเสริฐ ทองเจริญ 2548
จัดสรรเวลำ
• จัดลำำดับควำมสำำคัญ แบ่งสรรเวลำ
• มีกำรวำงแผนที่ดี
• มีควำมสมำ่ำเสมอ
• มีสมำธิ
• อย่ำกังวล
มีควำมพอดี
• กำรแบ่งเวลำ
– พักผ่อน
– กำรงำน
– ครอบครัว
– สังคม
– ออกกำำลังกำย
• กำรงำน
– กำรสอน
– กำรวิจัย
– งำนอื่นๆขององค์กร
– งำนบริกำรวิชำกำร
– งำนอื่นๆภำยนอกองค์กร
เตรียมตนเอง
• ประเมินตนเอง มีชื่อเสียง มีผลงำน พอที่จะทำำ
โดยลำำพังหรือไม่
• ร่วมงำนกับผู้อื่น เพื่อเสริมจุดด้อยของตน อิงไป
กับผู้มีชื่อเสียง
• แสดงตนในสนำมวิชำกำรอย่ำงต่อเนื่อง
• ทำำตัวเป็นผู้อ่ำนที่ดี ช่ำงสังเกต จดจำำ แต่ไม่ใช่
เป็นผู้ลอกเลียน
ควำมรู้
•          ผู้เขียนตำำรำต้องมีควำมรู้ในเรื่องที่จะ
เขียน จะต้องรู้กว้ำงและลึกในเรื่องนั้น ถ้ำผู้เขียนไม่มี
ควำมรู้แต่ต้องกำรเขียนตำำรำก็ต้องหำควำมรู้ก่อน คือ
ต้องอ่ำน ต้องค้นคว้ำวิจัยให้มำกและสร้ำงองค์ควำมรู้
ขึ้นใหม่จำกผลงำนวิจัย
             ตำำรำมีหลำยระดับหลำยประเภท ควำมรู้ที่จะ
ใช้เขียนจึงต่ำงกัน ควำมรู้ส่วนหนึ่งได้จำกผู้อื่น เช่น
ตำำรำวิชำนั้น งำนวิจัยในสำขำนั้น ตำำรำในสำขำที่
เกี่ยวข้อง กำรตีควำมและควำมคิดเห็นของผู้ทรง
คุณวุฒิ เป็นต้น แต่ยังไม่พอ ถ้ำจะให้เป็นตำำรำที่ดีอย่ำง
ศ.ปรีชำ ช้ำงขวัญ
ยืน
กำรเตรียมกำรก่อนกำรเขียน
ตำำรำ
 อ่ำนงำนวิจัย หนังสือ และบทควำมวิชำกำ
รมำกๆ โดยเฉพำะที่เขียนโดยนักวิชำกำรซึ่ง
เป็นที่ยอมรับ
 จดจำำวิธีกำรและลีลำกำรเขียนของนักวิชำกำร
เหล่ำนั้น
 พยำยำมเข้ำร่วมกำรสัมมนำบ่อยๆ เพื่อฟังงำน
วิชำกำรให้ได้มำก
 เลือกเรื่องที่น่ำสนใจมำทำำวิจัย เขียนหนังสือ
หรือบทควำมวิชำกำร หรือตำำรำ เลือกเรื่องที่รู้

หลักในการอ่าน
• วางเป้าหมายหรือกำาหนดวัตถุประสงค์ใน
การอ่านก่อนเสมอสำารวจข้อมูล ฝึกการ
สังเกต เช่น ผู้เขียน สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์
• สังเกตส่วนประกอบต่างๆ ของหนังสือ มีแนว
เรื่องอย่างไร จุดมุ่งหมาย เนื้อหาหลักไป
ทางด้านใด
• มีสมาธิในขณะที่อ่าน ควรตั้งคำาถามพร้อม
หาคำาตอบ ใคร ทำาอะไร ที่ไหน อย่างไร
เมื่อไร ทำาไม
เตรียมงาน
• งานวิจัยของตนเอง
• ถึงแม้จะทำางานใหญ่ แต่อย่าทิ้งงานเล็ก เพราะจะเป็น
ประโยชน์ในการเขียนตำารา
• เก็บรวบรวมรูปถ่าย ภาพเอ็กซเรย์ ทำา file เก็บอย่างมี
ระบบ
• ควรถ่ายภาพ ไว้หลายๆภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมี
การส่งเป็นผลงานวิจัยก่อนหน้าไปแล้ว เพราะลิขสิทธ์
ของภาพจะเป็นของสำานักพิมพ์
• ค้นคว้าหาข้อมูล ทั้งที่อยู่ในฐานข้อมูลสากล และที่ไม่
การเรียงลำาดับในตำารา
• Title (ชื่อเรื่อง)
• Dedication (คำาอุทิศ)
• Content(สารบัญ)
• Forward (2nd
,1st) คำา
นิยม
• Preface (2nd
,1st
)
(คำานำา)
• Acknowledgement
(กิตติกรรมประกาศ)
• Contributors (ผู้
• Introduction
• Content
• Appendix (ภาคผนวก)
• Glossary(อภิธาน)
• Bibliography
ไม่ควรมีหน้าแก้คำาผิด
Title(ชื่อเรื่อง)
•กระชับ อย่าเกิน 2 บรรทัด
•มีความเฉพาะเจาะจง
•สื่อความหมายได้
•Subtitle ใช้ขยายความ แต่ subtitle
ควรใช้ Font ที่เล็กกว่า หรือมี
เครื่องหมาย ทวิภาค :
หน้าปกใน
• เป็นส่วนที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือ
• บรรณารักษ์ใช้ทำาบัตรรายการ
• สำานักพิมพ์, โรงพิมพ์
• ระหัสสากล ISBN 13 หลัก
• ลิขสิทธิ์
คำาอุทิศ
• กล่าวอุทิศผลงานแก่ผู้มีพระคุณ หรือผู้ให้กำาลัง
ใจ
• ยังมีชีวิตอยู่หรือเสียชีวิตแล้วก็ได้
• อาจจะไม่ได้เป็นตัวบุคคลก็ได้
• อย่าพรำ่าเพรื่อ มีความพอดี
• หากมีผู้สนับสนุนช่วยเหลือในบางบท สามารถ
ขอบคุณในบทนั้นๆได้
คำานิยม
• ผู้อื่นเขียนให้
• เป็นผู้ที่มีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักของคนในวงกา
รนั้นๆ
• แนะนำา ยกย่องหนังสือ
• ผู้เขียนคำานิยม ควรรับทราบหัวข้อ แนวทางการ
เขียนของตำารานั้น
• แนะนำาผู้เขียน
• ชวนให้สนใจ
คำานำา
• เขียนแสดงวัตถุประสงค์ แรงจูงใจให้ทำาตำารา
• แสดงให้เห็นความสำาคัญ ชวนให้ผู้สนใจอ่าน
ตำารานั้น
• กล่าวขอบคุณผู้มีส่วนช่วยเหลือในการทำาตำารา
เนื้อหา
• วางโครงร่าง วัตถุประสงค์
• เขียนให้อ่านเข้าใจ ตามกลุ่มเป้าหมาย
• ลองให้คนอื่นอ่านดู
• อย่าเขียนแล้วหยุดเป็นช่วงๆ หากบทยาวแบ่งออกเป็น
บทย่อย
• ลำาดับในแต่ละบทเป็นไปในแนวเดียวกัน
• ภาษาที่ใช้ อิงตามราชบัณฑิตยสถาน หรือเป็นศัพท์ที่
ใช้กันแพร่หลายเข้าใจและยอมรับกับโดยทั่วไป ไม่
กำากวม www.royin.go.th
เนื้อหา
• เขียนให้ครบถ้วน มีความยาวพอดี ไม่สั้นและไม่
ยาวเกินไป
• พยายามอ้างอิง ผลการวิจัยของตนเอง แต่ต้อง
เหมาะสม
• พยายามอ้างอิงผลงานคนไทย
• ไม่เขียนเหมือนพูด
• อย่าลอกคนอื่น
เนื้อหา
• แนวทางการเรียบเรียง
• แบ่งเป็นตอน
• รวมเป็นบท
• สาระสำาคัญ(Key points)
• หัวข้อ (Heading) หัวข้อย่อย(Sub-heading)
ทองดี ชัยพานิช 2548
เนื้อหา
• ถูกต้อง
• ทันสมัย
• สมเหตุสมผล
• ไม่ขัดแย้งกันเอง
การแบ่งหัวข้อย่อย
• ใช้หมายเลข เช่น 1,2
1.1
1.2
1.2.1
• ใช้หัวข้อย่อยเป็นอักษรช่วยหากหัวข้อมากเกิน
ไป เช่น ก.,ข. หรือใช้ bullet
บทความที่ดีพึงมีลักษณะดังนี้
• มีเอกภาพ (Unity)
• มีสัมพันธภาพ
(Connectivity)
• มีความถูกต้อง
(Accuracy)
• มีความกระจ่าง
(Clarity)
• มีความกระทัดรัด
(Conciseness)
• มีความต่อเนื่อง
(Continuity)
• มีการให้ความรู้
(Knowledge)
• มีความคงเส้นคงวา
(Consistency)
• มีการใช้ภาษาที่เหมาะ
สม (Language
Appropriateness)
มีเอกภาพ (Unity)
• บทความต้องเสนอแนวความคิดหลัก
• ชื่อเรื่อง คำาขึ้นต้น เนื้อหา บทสรุป ต้องสื่อ
แนวคิดหลัก
• ตาราง แผนภูมิ ฯลฯ ต้องสนับสนุนประเด็นหลัก
• ระมัดระวังอย่าให้มีตอนใดออกนอกเรื่อง
• ระมัดระวังอย่าให้มีการขัดแย้งกันเอง
• มีคำาแนะนำาของบรรณาธิการ สำาหรับกรณีที่มีผู้
นิพนธ์หลายคน
มีสัมพันธภาพ (Connectivity)
• ข้อความทั้งหมดจะต้องสอดคล้องกันโดยตลอด
• การแสดงแนวคิดจะต้องเกี่ยวพันต่อกันเป็นห่วง
โซ่
• การเรียบเรียงเรื่องราวในแต่ละย่อหน้า แต่ละบท
ต้องมีความเกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด
• เรียนรู้การใช้คำาเชื่อม เช่น ;
– การเน้น: ยิ่งกว่านั้น นอกจากนั้น
– การเปรียบเทียบ: ในทำานองเดียวกัน ในทางกลับกัน
มีความถูกต้อง (Accuracy)
• เนื้อหาที่นำาเสนอจะต้องถูกต้อง
• ใช้ถ้อยคำาให้ถูกต้อง
• ใช้ข้ออ้างโต้แย้งที่มีเหตุผล
• ให้นิยามศัพท์ถูกต้องตามหลักสากล
• มีการอ้างอิงหรือใช้หลักฐานที่น่าเชื่อถือ
• ถ้ายกข้อความของคนอื่นมาทั้งหมดให้ใช้
“…….” แล้วอ้างเอกสารนั้นๆ ถ้าข้อความยาว
เกิน 3 บรรทัด ให้ยกมาเป็นย่อหน้าต่างหาก
มีความกระจ่าง (Clarity)
• เนื้อหาและภาษาต้องชัดเจน ตรงไปตรงมา
• ตรงประเด็น ไม่อ้อมค้อม
• อย่านำาเสนอในขอบเขตที่กว้างเกินไป
มีความกระทัดรัด
(Conciseness)• ไม่เยิ่นเย้อและเต็มไปด้วยข้ออวดอ้าง
• นิยมรูปแบบเรียบง่ายและกระชับ
• ใช้คำาพูดสั้นๆ ที่ตรงความหมาย
• เลือกถ้อยคำาสำานวนที่เหมาะสมไม่ยืดยาด
มีการให้ความรู้ (Knowledge)
• ต้องให้ความรู้ ความคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ
เชิงปฏิบัติ
• สาระต้องเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านที่เป็นกลุ่มเป้า
หมาย
• ใช้ภาษาที่สนับสนุนการอธิบายความรู้นั้นๆ
มีความคงเส้นคงวา
(Consistency)
• เนื้อหา รูปแบบ การใช้ภาษา การใช้หลักการใน
การอ้างอิง การใช้ศักราช หน่วยวัด คำาย่อ ต้อง
เหมือนกันตลอดบทความ
• การใช้ศัพท์บัญญัติ หรือใช้ภาษาอังกฤษ ต้อง
เหมือนกันตลอดทั้งบทความ
มีความน่าอ่าน
(Attractiveness)
• รูปแบบ และเทคนิคทุกอย่าง ที่จะทำาให้มีความ
น่าอ่าน
• แบบปก ขนาดและ ลักษณะของ font
• กระดาษ
มีความต่อเนื่อง (Continuity)
• ดำาเนินเนื้อเรื่องเป็นลำาดับขั้นตอน
• แบ่งหัวข้อให้เหมาะสมกับประเด็นที่จะกล่าว
หากบทยาวเกินไป ให้แยกเป็นบทย่อย
• อย่าเขียนย้อนไปย้อนมา
การใช้ภาษา
• การใช้ศัพท์
• การใช้คำา ให้เป็นแนวเดียวกันทั้งเล่ม
• การใช้เครื่องหมาย
• การสร้างประโยค
การใช้ภาษา
• หลีกเลี่ยงประโยคที่เริ่มต้นด้วยตัวเลข
• หลีกเลี่ยงประโยคที่เริ่มต้นด้วยภาษาอังกฤษ
• ภาษาไทย ไม่นิยม “กรรมวาจก”
ทองดี ชัยพานิช 2548
มีการใช้ภาษาที่เหมาะสม
(Language Appropriateness)
• ใช้ภาษาที่เป็นทางการ หรือค่อนข้างเป็น
ทางการ หรือเป็นที่ยอมรับใช้กันในวงกว้าง
อย่างเป็นทางการ
• ไม่ควรใช้ภาษาพูด คำาแสลง
• ยึดหลักการใช้ศัพท์บัญญัติที่ถูกต้องตามหลัก
วิชาการ
รูปแบบหน้ากระดาษ
• หากหนังสือเล่มขนาดมาตรฐาน ควรใช้แบบ
คอลัมน์ จะน่าอ่าน และวางรูปได้ง่าย
• หากหนังสือเล่มเล็ก การทำาคอลัมน์จะดูไม่น่า
อ่าน
• เลือก font ที่อ่านง่าย อย่ามีลวดลาย
• มีพื้นที่สีขาวไว้พักสายตา
ใช้รูปภาพ ตาราง กราฟิค ช่วย
• สามารถทดแทนเนื้อหาได้
• อย่าลอกคนอื่น
• ตารางอย่าให้มีเส้นขวาง
• กราฟเลือกให้เหมาะสม
• คำาย่อ, เครื่องหมาย ต้องอธิบาย
ใช้รูปภาพ ตาราง กราฟิค ช่วย
• อย่าเอาภาพเล็กมาขยาย
• ภาพถ่าย บอกเทคนิคการถ่าย กำาลังขยาย
• ภาพถ่ายอัดกระดาษ, slide, electronic
images,ภาพวาด
• ไม่ดัดแปลงหรือแก้ไขโดยตรงในรูปต้นแบบ
หากต้องการเขียนคำาอธิบาย ทำาเครื่องหมายให้
ทำาในสำาเนาภาพนั้น
• ฉลาก หรือคำาอธิบายทำาในสำาเนารูป
ลิขสิทธิ์
• การทำาซำ้า หมายถึง การคัดลอกไม่ว่าด้วยวิธี
ใดๆ เลียนแบบ ทำาสำาเนา ทำาแม่พิมพ์ บันทึก
เสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกเสียงและภาพจาก
ต้นฉบับ จากสำาเนา หรือจากการโฆษณา ใน
ส่วนอันเป็นสาระสำาคัญ ทั้งนี้ไม่ว่าทั้งหมดหรือ
บางส่วน สำาหรับในส่วนที่เกี่ยวกับโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ให้หมายถึง คัดลอก หรือทำา
สำาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากสื่อบันทึกใด
ไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ ในส่วนอันเป็นสาระสำาคัญ
โดยไม่มีลักษณะเป็นการจัดทำางานขึ้นใหม่
ลิขสิทธิ์
• การดัดแปลง หมายถึง ทำาซำ้าโดยเปลี่ยนรูปใหม่
ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม หรือจำาลองงานต้นฉบับ
ในส่วนอันเป็นสาระสำาคัญโดยไม่มีลักษณะ
เป็นการจัดทำางานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมด
หรือบางส่วน (พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.
2522… : 65)
• อาจารย์ นักวิชาการ ที่ผลิตเอกสารตำารา ส่วน
ใหญ่เป็นปัญหาเกี่ยวกับการตัดตอนบางส่วนมา
ประกอบในตำาราที่เขียนขึ้นใหม่ ไม่ว่าจะเป็น
เจตนาหรือไม่ก็ตาม หรือการนำารูปภาพจาก
ต้นฉบับของผู้อื่นมาทั้งหมดหรือดัดแปลง ซึ่งอาจ
เข้าข่ายละเมิดได้ โดยเฉพาะภาพถ่ายหรือ
รูปภาพนั้นถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์ผล
งาน ต้องดูที่เจตนารมย์ของกฎหมายเป็นสำาคัญ
นั่นคือ กฎหมายลิขสิทธิ์คุ้มครองการแสดงออก
ของความคิด ดังนั้นการคัดลอกโดยไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงคำาพูดหรือข้อความจากต้นฉบับ
เอกสารอ้างอิง
• อ้างอิงตามแบบสากลทางการแพทย์นิยมใช้
Vancouver style ส่วนสาขาอื่น อ้างอิงตาม
หลักสากล
• Classical papers
• Recent papers
• Established texts
• Thai author's work
• Your own work
• ไม่มาก ไม่น้อย เกินไป ไม่เก่าเกินไป เว้นแต่
index(ดรรชนี)
• ครบถ้วน
• สืบค้นเดินหน้า ถอยหลังได้
• ควรทำาเป็น 3 ระดับ
• แยก ไทย อังกฤษ เพราะจะจบไม่ตรงกัน
การเตรียมต้นฉบับ
• ใช้ program word
• ไม่พิมพ์เป็นคอลัมน์ ไม่จัดให้ท้ายเสมอกัน
เพราะวรรคตอนจะผิด
• ตาราง รูปภาพ ทำาแยกจากเนื้อหา
• ไม่เขียนคำาอธิบายใส่ในภาพโดยตรง
• พิมพ์ hard copy ด้วย เพราะโรงพิมพ์อาจจะ
เปิด program ได้ไม่ตรงกับเรา หรือบางคำา
สัญลักษณ์บางตัวเปิดไม่ได้
การตรวจทาน
• ตรวจทานเนื้อหา
• ตรวจทานอักษรและคำาศัพท์
• ตรวจทานตัวเลข
• ตรวจทานหน่วยมาตรา
• ตรวจทานการอ้างอิง
• ตรวจทานตาราง ความถูกต้อง ตำาแหน่งที่วาง
• ตรวจทานภาพประกอบ ความถูกต้อง ตำาแหน่งที่
วาง ซ้าย-ขวา, pre-op, post-
เลือกกระดาษ
• ปอนด์ 70,80,100,120 แกรม เหมาะสำาหรับ
หนังสือที่มีตัวอักษรมาก ใส่เฉดสีครีมเพื่อถนอม
สายตา
• อาร์ตมัน มีความเงา ไม่เหมาะกับหนังสือที่มีตัว
หนังสือมาก รบกวนสายตา
• ปกอ่อน, ปกแข็ง
• หากมีภาพสี อาจรวมไว้เป็นส่วนต่างหากจาก
เนื้อหา
ประมาณราคา
• ขนาดหนังสือ กระดาษ
• จำานวนหน้าที่มี 4 สี 2 สี 3 สี
• ปกแข็ง ปกอ่อน เคลือบเงา ใบรองปก หุ้มผ้า
• พิมพ์ 1000 เล่มขึ้นไปถึงจะคุ้มค่าพิมพ์
เลือกวิธีการพิมพ์
• ออฟเซ็ท
• ดิจิตอล
• Print on demand
• พิมพ์ สีเดียว 2 สี 4 สี
• เลือกโรงพิมพ์ที่ได้มาตรฐาน
• สำานักพิมพ์ ไม่ช่วยผ่อนงานของบรรณาธิการ
วิธีการจัดจำาหน่าย
• ตั้งราคา 3-4 เท่าของราคาทุน
• พิมพ์เอง ขายเอง
• สำานักพิมพ์ ขายลิขสิทธิ์ (10% ราคาปก) แต่
สำานักพิมพ์จะพิจารณาชื่อเสียงของผู้เขียนด้วย
• ผู้จัดจำาหน่าย ( 30-40%ราคาปก)
• ถ้าเป็นไปได้ ระบุเวลาที่พิมพ์เป็นต้นปีถัดไป ถึง
แม้ตำาราเสร็จปลายปีก็ตาม
ตัวอย่างเงื่อนไขสำานักพิมพ์
• ขอพิจารณา ต้นฉบับก่อนพิมพ์
• หลีกเลี่ยงหนังสือที่มีการจำาหน่ายโดยผู้อื่นมาก่อน
• พิมพ์ Barcode หาก scan ไม่ผ่าน อยู่ในความรับผิด
ชอบของผู้พิมพ์
• ISBNตามแบบใหม่ 13 หลัก
• หักหนังสือเผื่อชำารุด, หนังสือตัวอย่าง
• ต้องทำาหีบห่อให้เรียบร้อย ขนาดห่อเท่ากัน สูงไม่เกิน 6
นิ้ว
• ห่อด้วยกระดาษสีนำ้าตาล มีความหนาพอสมควร ติด
กาว ห้ามผูกเชือก ห้ามใช้เทปกาว
ปัญหาของตำาราที่ทำาให้ขาด
คุณภาพ
• ไม่ทันสมัย ไม่ตรงหลักสูตร ไม่มีนวัตกรรม
• แปลมาเกือบทั้งหมด ไม่ได้แสดงความเป็นเลิศ
ทางวิชาการ
• เรียบเรียงไม่ชัดเจน ขาดความต่อเนื่อง นำาไป
ประยุกต์ใช้ไม่ได้
• เนื้อหาคลาดเคลื่อน ไม่ตรงตามวิชาการ อ้างอิง
เอกสารเก่ามาก
• ใช้ภาษาพูด ประเสริฐ ทองเจริญ
เรียนรู้สิ่งอำานวยความสะดวก
• ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วย Reference
Manager; EndNote
• เข้าถึงฐานข้อมูลค้นคว้า
• ถ้าเป็นไปได้ ฝึกพิมพ์เอง
ความด้อยของผลงานทาง
วิชาการ :
 ไม่รู้จริง
 อิงฝรั่ง
 นั่งเทียนเขียน
 ลอกเลียนผู้อื่น
 ตื่นตามสมัย
 ไร้คุณธรรม
 ทำาให้แปลก
 แหวกแนวระเบียบภาษา
 กติกาไม่สนใจ
 ให้เนื้อหาเกินระดับ
ศาสตราจารย์ ดร.สุจริต เพียรชอบ
แนวทางการผลิตผลงานทาง
วิชาการที่ดี :
• ความรู้ดี
• มีจรรยาบรรณ
• สร้างสรรค์สิ่งใหม่
• ให้แนวคิด
• รับผิดชอบสังคม
• สะสมความรู้เสริม
• แนวคิดเดิมอนุรักษ์
• รู้จักใช้ภาษาที่ดี
 มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเองศาสตราจารย์ ดร.สุจริต เพียรชอบ
แนวทางการประเมินตำารา
• เนื้อหาสาระ ถูกต้อง สมบูรณ์ ทันสมัย
• การอ้างอิงถูกต้อง ทันสมัย ครบถ้วน ไม่อ้างพรำ่าเพรื่อ
ไม่อ้างโดยไม่ได้อ่าน
• มีแนวความคิดชัดเจน มีประโยชน์ทางวิชาการ
• มีการสังเคราะห์ความรู้ ทันต่อความก้าวหน้าทาง
วิชาการ
• มีการสอดแทรกประสบการณ์ อย่างเหมาะสม
• นำาไปใช้เป็นแหล่งอ้างอิงได้
• มีลักษณะเป็นการบุกเบิกงานทางวิชาการใหม่
• กระตุ้นให้มีความคิดต่อเนื่อง
กรณีตัวอย่าง ตำาราที่ขาดคุณภาพ:
ไม่เข้าข่ายคำาจำากัดความของตำารา
• ไม่เป็นรูปเล่ม
• ไม่ระบุสถานที่พิมพ์, ปี
• ขาดองค์ประกอบสำาคัญ
– ชื่อผู้นิพนธ์ ไม่ครบ
– สารบัญไม่ครบ
– เนื้อหาไม่ครบ ตามที่แจ้งในสารบัญ
– เนื้อหาไม่ตรงตามชื่อตำารา หรือในคำานำา หรือสารบัญ
– ขาดดรรชนี
• ไม่เหมาะกับการเรียน การสอนระดับอุดมศึกษา
กรณีตัวอย่าง ตำาราที่ขาด
คุณภาพ
• ชื่อตำารา ไม่สื่อถึงเนื้อหา
• เนื้อหา ไม่ครบถ้วน ไม่เป็นลำาดับขั้น อ่านไม่รู้
เรื่อง
• ขาดความทันสมัย
– เนื้อหา
– ขาดการเสนอแนะเพื่อการค้นคว้าศึกษาต่อ
– เอกสารอ้างอิง
• เนื้อหา และ องค์ประกอบผิด ที่มิอาจจะรับได้
ทำตำราอย่างไร
ทำตำราอย่างไร
ทำตำราอย่างไร

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch (7)

recommandation-PACA
recommandation-PACArecommandation-PACA
recommandation-PACA
 
DICAS DE LIDERANÇA & GESTÃO
DICAS DE LIDERANÇA & GESTÃODICAS DE LIDERANÇA & GESTÃO
DICAS DE LIDERANÇA & GESTÃO
 
Photo Gallery
Photo GalleryPhoto Gallery
Photo Gallery
 
The Address Blvd Apartments
The Address Blvd Apartments The Address Blvd Apartments
The Address Blvd Apartments
 
Servidores Dell
Servidores DellServidores Dell
Servidores Dell
 
San valentine
San valentineSan valentine
San valentine
 
Joe
JoeJoe
Joe
 

Ähnlich wie ทำตำราอย่างไร

Semina
SeminaSemina
Seminasuknin
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงvru.ac.th
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocKruorawan Kongpila
 
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocKruorawan Kongpila
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ถ่ายภาพปริญญาตรี
โครงร่างวิทยานิพนธ์ถ่ายภาพปริญญาตรีโครงร่างวิทยานิพนธ์ถ่ายภาพปริญญาตรี
โครงร่างวิทยานิพนธ์ถ่ายภาพปริญญาตรีPandit Watanakasivish
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศnok_waraporn
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 
พื้นฐานชีวิต 1.pptx
พื้นฐานชีวิต 1.pptxพื้นฐานชีวิต 1.pptx
พื้นฐานชีวิต 1.pptxSunnyStrong
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้skiats
 
Lectures14-6-65.pdf
Lectures14-6-65.pdfLectures14-6-65.pdf
Lectures14-6-65.pdfssuser2a839e
 
การทำวิทยฐานะ.ppt
การทำวิทยฐานะ.pptการทำวิทยฐานะ.ppt
การทำวิทยฐานะ.pptsend2temp1
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
แนวทางการพัฒนาปรับปรุงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
แนวทางการพัฒนาปรับปรุงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์แนวทางการพัฒนาปรับปรุงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
แนวทางการพัฒนาปรับปรุงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์Prachoom Rangkasikorn
 
Readingcorner 120621045147-phpapp02
Readingcorner 120621045147-phpapp02Readingcorner 120621045147-phpapp02
Readingcorner 120621045147-phpapp02Ict Krutao
 

Ähnlich wie ทำตำราอย่างไร (20)

Semina
SeminaSemina
Semina
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
 
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ถ่ายภาพปริญญาตรี
โครงร่างวิทยานิพนธ์ถ่ายภาพปริญญาตรีโครงร่างวิทยานิพนธ์ถ่ายภาพปริญญาตรี
โครงร่างวิทยานิพนธ์ถ่ายภาพปริญญาตรี
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
พื้นฐานชีวิต 1.pptx
พื้นฐานชีวิต 1.pptxพื้นฐานชีวิต 1.pptx
พื้นฐานชีวิต 1.pptx
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
Lectures14-6-65.pdf
Lectures14-6-65.pdfLectures14-6-65.pdf
Lectures14-6-65.pdf
 
การทำวิทยฐานะ.ppt
การทำวิทยฐานะ.pptการทำวิทยฐานะ.ppt
การทำวิทยฐานะ.ppt
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
แนวทางการพัฒนาปรับปรุงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
แนวทางการพัฒนาปรับปรุงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์แนวทางการพัฒนาปรับปรุงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
แนวทางการพัฒนาปรับปรุงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
 
Readingcorner 120621045147-phpapp02
Readingcorner 120621045147-phpapp02Readingcorner 120621045147-phpapp02
Readingcorner 120621045147-phpapp02
 

ทำตำราอย่างไร