SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 53
การบริหารคุณภาพนั้นการเกิดปัญหา
หมายถึงจุดเริ่มต้นของการสูญเสีย ไม่ว่าจะเป็น
ความสูญเสียในด้านคุณภาพสินค้า สูญเสียต้นทุน
ความมั่นคง ความน่าเชื่อถือขององค์กร ความพึง
พอใจของลูกค้า และความสูญเสียอื่นอีกมากมาย
องค์กรจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีเครื่องมือหรือ
วิธีการในการค้นหาปัญหา วิเคราะห์ปัญหา
ป้องกันปัญหา และหาวิธีการในการแก้ปัญหา
1. ขั้นตอนการค้นหาปัญหาและคัดเลือกปัญหา
2. ขั้นตอนการสารวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้ าหมาย
3. ขั้นตอนการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและกาหนดแผนการแก้ไข
4. ขั้นตอนการปฏิบัติตามแผน
5. ขั้นตอนการติดตามผลและตรวจสอบผล
6. ขั้นตอนการกาหนดมาตรฐาน
7. ขั้นตอนการสรุปและวางแผนกิจกรรม
1.1 การค้นหาปัญหา ซึ่งปัญหาส่วนมากที่เป็นประเด็นในการค้นหาได้แก่ปัญหาใน
เรื่องคุณภาพของสินค้าหรือการให้บริการ(Q) ปัญหาทางด้านต้นทุนของการผลิตหรือ
การดาเนินการ(C) ปัญหาทางด้านการส่งมอบสินค้าหรือการให้การบริการ(D) และ
ปัญหาด้านความปลอดภัยในการทางาน (S) โดยกลุ่มผู้ระดมสมองพยายามหา
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ QCDS นี้ให้มากที่สุด
1.2 แต่ละหน่วยงานคัดเลือกปัญหาจากหัวข้อที่ค้นพบมากมายจะต้องพิจารณา
ปัญหาทั้งหมดแล้วคัดเลือกเพียง 1 ปัญหา
1.3 นาปัญหาของกลุ่มหรือส่วนงานมาวิเคราะห์ว่าเกิดจากสาเหตุใด เป็นปัญหาจริง
หรือไม่
1.4 การคัดเลือกปัญหาโดยพิจารณาว่าสาเหตุใดที่กลุ่มสามารถดาเนินการได้ นั่น
คือสมาชิกกลุ่มสามารถแก้ปัญหานั้นได้
2.1 การสารวจสภาพปัจจุบันทาได้โดยการเก็บข้อมูลของปัญหานั้น ๆ ว่าเกิดมาก-
น้อยแค่ไหน โดยการใช้ใบตรวจสอบหรือใช้การวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่
2.2 กาหนดเป้ าหมายของการดาเนินการว่าในการแก้ปัญหาจะมีเป้ าหมายเท่าใด
และใช้เวลานานเท่าใดในการบรรลุเป้ าหมายที่ได้กาหนดไว้
3.1 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ทาได้โดยการระดมสมองและวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลโดยการใช้แผนภาพแสดงเหตุและผลเป็นเครื่องมือ
3.2 เลือกสาเหตุที่จะดาเนินการแก้ไขบนพื้นฐานคือ เป็นสาเหตุเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไข
เพราะมีผลกระทบกับสาเหตุอื่นมาก
3.3 กาหนดแผนการแก้ไข ทาได้โดยนาสาเหตุที่สมาชิกกลุ่มสามารถดาเนินการแก้ไข
ได้มาหาวิธีการแก้ไข ด้วยการตอบคาถาม 6 ข้อตามหลักการของ 5W 1H
3.4 สร้างแผนภาพแสดงขั้นตอนการดาเนินงานประกอบช่วงเวลารวมทั้งกาหนด
ช่วงเวลาที่จะใช้ดาเนินการแก้ไขปัญหาประกอบแต่ละขั้นตอน
ได้แก่การดาเนินการแก้ไขปัญหาตามขั้นตอน หรือวิธีการที่กาหนดไว้ ซึ่งใน
ขั้นตอนการดาเนินการแก้ไขปัญหานี้อาจจาเป็นต้องใช้เครื่องมือทางสถิติมาช่วย เช่น
ใบตรวจสอบ กราฟ หรือแผนภูมิควบคุม
เป็นการนาวิธีการแก้ไขปัญหาที่สามารถปฏิบัติแล้วบรรลุสู่เป้ าหมายมาจัดทา
มาตรฐานการปฏิบัติเพื่อให้บุคคลอื่นสามารถนาไปปฏิบัติตามได้ โดยจาแนกเป็น
มาตรฐานด้านอุปกรณ์ที่ต้องใช้และมาตรฐานวิธีการทางานที่ดี
โดยการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้หลังจากการดาเนินการแก้ไข ซึ่งการวิเคราะห์ใน
ขั้นตอนนี้จะต้องใช้เครื่องมือทางสถิติประเภทเดียวกับขั้นตอนการวิเคราะห์สาเหตุ
ทั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการปฏิบัติตามแผนว่าสามารถบรรลุสู่เป้ าหมาย
ได้มากน้อยระดับใด
ได้แก่การสรุปผลการปฏิบัติงานซึ่งจาแนกได้เป็นผลที่ได้รับทางตรงและผลที่
ได้รับทางอ้อมจากการแก้ไขปัญหาที่สาเหตุดังกล่าวลุล่วง
ทั้ง 7 ขั้นตอนในการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้นสอดคล้องกับวงจรเดมมิง
(PDCA) และสามารถนาเครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพมาใช้ในแต่ละขั้นตอนได้
ดังแสดงตามตารางที่ 5.2
เครื่องมือที่นิยมใช้สาหรับการแก้ปัญหาดังกล่าวไว้ในตารางที่ 5.2 เรียกว่า
เครื่องมือ 7 แบบเพื่อการควบคุมคุณภาพ (the seven tools of quality control หรือ
7 QC tools) อันได้แก่ กราฟ แผนภูมิควบคุม ใบตรวจสอบ แผนภาพพาเรโต
ฮีสโตแกรม แผนภาพแสดงเหตุและผล และแผนภาพการกระจาย
1. ใบตรวจสอบ (Check Sheet)
2. แผนภูมิพาเรโต (Pareto Chart)
3. ฮิสโตแกรม (Histogram) หรือลาต้นและใบ (The Stem-and-Leaf Plot)
4. แผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram)
5. แผนภาพเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
6. กราฟ (Graph) ประกอบด้วยกราฟแท่ง กราฟเส้น
7. แผนภูมิควบคุม (Control charts)
QC 7 Tools
ใบตรวจสอบ
(Check Sheets)
 ใบตรวจสอบ คือแผนผังหรือตารางที่มีการออกแบบไว้ล่วงหน้า โดยมี
วัตถุประสงค์คือ สามารถเก็บข้อมูลได้ง่ายและถูกต้อง สามารถดูและเข้าใจง่าย
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ง่าย
 โดยปกติในสถานประกอบการมักมีงานยุ่งอยู่แล้วการเก็บข้อมูลจึงเป็นงานที่เบื่อ
หน่ายทาให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย ในการตรวจสอบจึงใช้ขีด (/) แทนจะ
สะดวกกว่า เช่น ในกรณีที่มีข้อมูลประเภทเดียวกันหรือในกรณีที่มีข้อมูลอยู่หลาย
ประเภท

QC 7 Tools
แผนภูมิพาเรโต
 ปัญหาด้านคุณภาพเกิดขึ้นในรูปของการสูญเสีย ( ของเสียหรือราคา ) สิ่งที่
สาคัญมากอย่างยิ่งคือ การตรวจสอบว่าการสูญเสียแจกแจงอย่างไร เพราะมัน
ต้องไม่แจกแจงอย่างปกติ แต่เป็นเป็นการแจกแจงเบ้สัมพันธ์กับชนิดของความ
บกพร่อง หรือสาเหตุของความบกพร่อง ชนิดของการแจกแจงเบ้นี้มีประโยชน์
อย่างยิ่งกับการแก้ปัญหา เพราะการสูญเสียส่วนใหญ่มักจะเนื่องมาจาก
ความบกพร่องเพียงสองสามชนิด(80-20) และการสูญเสียที่เกิดขึ้นจาก
ความบกพร่องเหล่านี้เกิดจากจานวนสาเหตุน้อยมาก ดังนั้นถ้าประเด็นปัญหาที่
สาคัญจานวนน้อยนี้สามารถพิสูจน์ได้ เราสามารถกาจัดการสูญเสียเกือบทั้งหมด
โดยสนใจที่สาเหตุเฉพาะเหล่านี้ แล้วจัดประเด็นปัญหาที่สาคัญน้อยจานวนมาก
ทิ้งในขณะนี้ก่อน โดยการใช้แผนภูมิพาเรโต้ เราสามารถแก้ปัญหาชนิดนี้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
QC 7 Tools
Pareto
กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดส่งที่คลังสารภี
ตารางสรุปงานค้างส่ง
สินค้า งานค้างส่ง % % สะสม
1.ปูนถง 115 82% 0.82
2.ปูนผง 15 11% 0.93
3.บล็อก 10 7% 1.00
140 100%
กราฟพาเรโต้ก่อนการแก้ไข
0
20
40
60
80
100
120
140
1. ปูนถง 2. ปูนผง 3. บล็อก
ปัญหาที่เกิดขึ้น (สินค้า)
ความรุนแรง(เที่ยว)
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
% สะสม
QC 7 Tools
Pareto
ตารางสรุปงานค้างส่ง
สินค้า งานค้างส่ง % % สะสม
1.ปูนถง 45 76 76
2.ปูนผง 10 17 93
3.บล็อก 4 7 100
59 100
ปูนผง 3. บล็อก
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
กราฟพาเรโต้หลังการแก้ไข
1. ปูนถง 2. ปูนผง 3. บล็อก
ปัญหาที่เกิดขึ้น (สินค้า)
0
50
100
150
200
งานค ้างส่ง
% สะสม
กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดส่งที่คลังสารภี
ตารางสรุปงานค้างส่ง ตารางสรุปงานค้างส่ง
สินค้า งานค้างส่ง % % สะสม สินค้า งานค้างส่ง % % สะสม
1.ปูนถง 115 82% 0.82 1.ปูนถง 45 76 76
2.ปูนผง 15 11% 0.93 2.ปูนผง 10 17 93
3.บล็อก 10 7% 1.00 3.บล็อก 4 7 100
140 100% 59 100
กราฟพาเรโต้ก่อนการแก้ไข
0
20
40
60
80
100
120
140
1. ปูนถง 2. ปูนผง 3. บล็อก
ปัญหาที่เกิดขึ้น (สินค้า)
ความรุนแรง(เที่ยว)
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
% สะสม
กราฟพาเรโต้หลังการแก้ไข
1. ปูนถง 2. ปูนผง 3. บล็อก
ปัญหาที่เกิดขึ้น (สินค้า)
0
50
100
150
200
งานค ้างส่ง
% สะสม
QC 7 Tools Pareto
ไดอะแกรมพาเรโต้มีคุณลักษณะพิเศษต่อไปนี้
 สามารถบ่งชี้ให้เห็นได้ว่าหัวข้อใดมีปัญหามากที่สุด
 สามารถเข้าใจลาดับความสาคัญมากน้อยของปัญหาได้ทันที
 สามารถเข้าใจว่าแต่หัวข้อมีอัตราส่วนเพียงใดในส่วนทั้งหมด
 เนื่องจากใช้กราฟแท่งบ่งชี้ขนาดของปัญหา ทาให้สามารถโน้มน้าวจิตใจได้ดี
 ไม่ต้องใช้การคานวณให้ยุ่งยาก ก็สามารถจัดทาได้
QC 7 Tools
Histogram
and Stem-and-Leaf Plot
 คือกราฟแท่งชนิดหนึ่งซึ่งแสดงการกระจายความถี่ของข้อมูลที่ได้จากการวัดหรือข้อมูล
ที่มีค่าต่อเนื่อง
1.แสดงการกระจายของข้อมูล
- ทาให้ทราบความถี่ของข้อมูลแต่ล่ะช่วงต่างๆ
- แสดงการกระจายและการแจกแจงของข้อมูล
2.ใช้เปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด
- แสดงให้ทราบว่าข้อมูลนั้นได้ตามเกณฑ์
- เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่เก็บมากับค่าเฉลี่ยของเกณฑ์ที่กาหนด
3.ใช้ดูจานวนข้อมูลที่มีค่ามากกว่าหรือมีค่าน้อยกว่าขอบเขตกาหนด
4.สามารถนาเอากราฟฮีสโตแกรมช่วยในการเปรียบเทียบและวิเคราะห์ในการหา
สาเหตุความผันแปรของการผลิตจากสายการผลิตต่างๆได้
4.350 4.366 4.374 4.381 4.375 4.382 4.358 4.366 4.396 4.351
4.366 4.374 4.375 4.380 4.367 4.376 4.381 4.396 4.351 4.366
4.383 4.361 4.369 4.377 4.374 4.382 4.354 4.366 4.383 4.377
4.369 4.361 4.374 4.382 4.354 4.366 4.369 4.361 4.378 4.383
4.384 4.378 4.370 4.362 4.362 4.365 4.373 4.388 4.365 4.373
4.380 4.390 4.363 4.372 4.373 4.387 4.384 4.362 4.372 4.378
4.379 4.372 4.379 4.364 4.384 4.389 4.373 4.362 4.385 4.364
4.379 4.373 4.372 4.379 4.384 4.385 4.385 4.365 4.372 4.379
เส ้นผ่าศูนย์กลางของลูกปืนมีหน่วยเป็นมิลลิเมตร
4.3954.3904.3854.3804.3754.3704.3654.3604.3554.350
15
10
5
0
Frequency
Histogram of C1, with Normal Curve
4.350 4.366 4.374 4.381 4.375 4.382 4.358 4.366 4.396 4.351
4.366 4.374 4.375 4.380 4.367 4.376 4.381 4.396 4.351 4.366
4.383 4.361 4.369 4.377 4.374 4.382 4.354 4.366 4.383 4.377
4.369 4.361 4.374 4.382 4.354 4.366 4.369 4.361 4.378 4.383
4.384 4.378 4.370 4.362 4.362 4.365 4.373 4.388 4.365 4.373
4.380 4.390 4.363 4.372 4.373 4.387 4.384 4.362 4.372 4.378
4.379 4.372 4.379 4.364 4.384 4.389 4.373 4.362 4.385 4.364
4.379 4.373 4.372 4.379 4.384 4.385 4.385 4.365 4.372 4.379
เส ้นผ่าศูนย์กลางของลูกปืนมีหน่วยเป็นมิลลิเมตร
15
10
5
Frequency
Histogram of C1, with Normal Curve
ใบ Check Sheets
4.404.394.384.374.364.354.34
Upper SpecLower Spec
Process Capability Analysis for C1
Histogram เป็นสิ่งสาคัญต่อการศึกษาการแจกแจง(Distribution)
QC 7 Tools
แผนภาพ
การกระจาย (Scatter
Diagram)
 คีอผังที่ใช้แสดงค่าของข้อมูลที่เกิดจากความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัวว่ามี
แนวโน้มไปในทางใด เพื่อที่จะใช้หาความสัมพันธ์ที่แท้จริง
 การวิเคราะห์ข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่งนั้น เครื่องมือที่ใช้งานคือ แผนภูมิพาเรโต้
หรือฮีสโตแกรม แต่ปัญหาในชีวิตประจาวันนั้น มักจะมีกรณีที่มี 2 ข้อมูล
รวมกันอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการวิเคราะห์ปัญหา เมื่อเขียนแผนภูมิเหตุและ
ผลดูแล้ว จะพบว่ามีปัจจัยต่าง ๆ มากมายที่ปรากฏอยู่ เมื่อถึงขั้นตอน
ปฏิบัติการแก้ไขที่แท้จริงนั้น มักจะพิจารณาคัดเลือกปัจจัยที่มีผลกระทบกับ
ปัญหามากที่สุด โดยการจับความสัมพันธ์เชิงปริมาณระหว่างปัจจัยและค่า
ลักษณะสมบัติ (หรือผลลัพธ์) ที่เป็นปัญหา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์จะเป็น
เครื่องมือที่มีประสิทธิผลอย่างมากในการทาความเข้าใจถึงความสัมพันธ์
ระหว่างข้อมูล 2 ชนิดได้
QC 7 Tools
ใบ Check Sheets
เพื่อทาแผนภาพ
การกระจาย
วันที่ ชั่วโมงทางาน งานเสีย (ชิ้น) สัดส่วนงานเสีย (ชิ้น/ชั่วโมง)
1 8 2 0.25
2 8 3 0.38
3 9 3 0.33
4 10.5 4 0.38
5 8 4 0.50
6 5 2 0.40
7 5 0 0.00
8 10.5 6 0.57
9 9 5 0.56
10 9 4 0.44
11 9 3 0.33
12 10.5 6 0.57
13 5 1 0.20
14 6 1 0.17
15 6 1 0.17
16 8 5 0.63
17 8 5 0.63
18 10.5 5 0.48
19 15 10 0.67
20 15 10 0.67
21 5 0 0.00
22 5 0 0.00
23 10.5 5 0.48
24 10.5 4 0.38
25 5 0 0.00
QC 7 Tools Scatter Diagram
y = 0.0617x - 0.1051
R² = 0.41
0
0.1
0.2
0.3
0.4
0.5
0.6
0.7
0 2 4 6 8 10 12
แผนภาพการกระจาย
สัดส่วนงานเสีย (ชิ้น/ชั่วโมง)
Linear (สัดส่วนงานเสีย (ชิ้น/ชั่วโมง))
QC 7 Tools
Fish Bone Diagram
QC 7 Tools Fish Bone Diagram
ผังแสดงเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
ผังแสดงเหตุและผล อาจจะเรียกย่อ ๆ ว่า ผังก้างปลา หรือถ้าเรียกเป็น
ภาษาอังกฤษอาจจะใช้ตัวย่อว่า CE Diagram ซึ่งมีนิยามปรากฏในมาตรฐานของญี่ปุ่น หรือ
JIS Standards ( Japanese Industrial Standards) ในมาตรฐาน JIS ได้ระบุนิยามของ CE
Diagram ไว้ดังนี้คือ ผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะทางคุณภาพ กับ
ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
คาอธิบาย คุณสมบัติหรือคุณลักษณะทางคุณภาพ ( Quality Characteristics ) คือ
ผลที่เกิดขึ้นจากเหตุ ซึ่งก็คือปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นต้นเหตุของคุณลักษณะอันนั้นหรือ
อาจจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เป็นแผนผังที่ใช้ในการวิเคราะห์ค้นหาสาเหตุต่าง ๆว่า มี
อะไรบ้างที่มาเกี่ยวข้องกัน สัมพันธ์ต่อเนื่องกันอย่างไรจึงทาให้ผลปรากฏตามมาในขั้น
สุดท้าย โดยวิธีการระดมความคิดอย่างเป็นอิสระของทุกคนในกลุ่มกิจกรรมด้านการ
ควบคุมคุณภาพ
QC 7 Tools Fish Bone Diagram
ประโยชน์ของการใช้ผังก้างปลา
1.ใช้เป็นเครื่องมือในการระดมความคิดจากสมองของทุกคนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม
คุณภาพอย่างเป็นหมวดหมู่ ซึ่งได้ผลมากที่สุด
2. แสดงให้เห็นสาเหตุต่าง ๆ ของปัญหา ของผลที่เกิดขึ้นที่มีมาอย่างต่อเนื่อง จนถึง
ปมสาคัญที่จานาไปปรับปรุงแก้ไข
3. แผนผังนี้สามารถนาไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ได้มากมาย ทั้งในหน้าที่
การงาน สังคม แม้กระทั่งชีวิตประจาวัน
QC 7 Tools Fish Bone Diagram
โครงสร้างของผังก้างปลา
ผังก้างปลาหรือผังแสดงเหตุและผล ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ
ส่วนโครงกระดูกที่เป็นตัวปลา ซึ่งได้รวบรวมปัจจัย อันเป็นสาเหตุของปัญหา และ
ส่วนหัวปลา ที่เป็นข้อสรุปของสาเหตุที่กลายเป็นตัวปัญหา โดยตามความนิยมจะ
เขียนหัวปลาอยู่ทางขวามือและตัวปลา (หางปลา) อยู่ทางซ้ายมือเสมอ
QC 7 Tools Fish Bone Diagram
Link
การเจียรแต่รอยชารุด
หลังเชื่อมต่อใช้เวลา
มาก
วิธีการซ่อมเครื่องมือ
เครื่องมือผู้ปฏิบัติงาน
เครื่องมือไม่เหมาะสม
กับชิ้นงาน
ใช้เครื่องมือธรรมดา
ทดแทน
รอยเชื่อมพอกหนาเกินไปและต้องพัก
ชิ้นงานเพื่อคลายความร้อนขณะทาการ
เชื่อม
ชิ้นงานบิดตัวได้ถ้า
ร้อนเกินไป
ฝีมือเจ้าหน้าที
ต้องการความแม่นยา
สูง
การเจียรแต่ง Partition
ต้องให้พื้นที่ Nozzle
ตามเกณฑ์คู่มือ
กาหนด
ซับซ้อน
จานวนใบ
Partition 62 ใบ
มีรอยชารุด
เกือบทุกใบ
ขาด
ประสบการณ์ เมื่อยล้า
ใช้หัวเจียร
ขนาดใหญ่
QC 7 Tools
Graph & Diagram
กราฟ แท่ง (Bar Chart)
กราฟ เส้น (Line Chart)
กราฟ เส้น และกราฟแท่ง
กราฟ พื้นผิว (Surface Chart)
แผนที่ (Map)
แผนที่เส้นทาง (Bus Route map)
กราฟวงกลม (Pie Chart)
แผนที่วงกลม (Pie Chart)
QC 7 Tools
Control Chart
QC 7 Tools Control Chart
3020100
50
40
30
20
Subgroup
Means
1
1
X=32.85
3.0SL=46.11
-3.0SL=19.59
50
40
30
20
10
0
Ranges
1
R=18.20
3.0SL=41.52
-3.0SL=0.000
Xbar/R Chart for C1
QC 7 Tools Control Chart
1. แผนภูมิควบคุมเชิงปริมาณ เป็นแผนภูมิที่ได้จากข้อมูลที่วัดค่าในลักษณะ
ต่อเนื่องเป็นตัวเลขที่ได้จากการชั่ง ตวง วัด เช่น การวัดกาลังบิดของ
เครื่องยนต์ , การวัดความยาวของตะปู , การวัดความยาวของ
เส้นผ่าศูนย์กลางของปากขวดน้าอัดลม เป็นต้น
2. แผนภูมิควบคุมเชิงคุณภาพ เป็นแผนภูมิที่ได้จากข้อมูลที่วัดค่าในลักษณะ
คุณภาพงาน เป็นการตรวจสอบคุณภาพของสินค้า โดยอาจจะเป็นการนับ
จานวนของเสีย , จานวนรอยตาหนิ เป็นต้น
p-chart , np-chart , c-chart , u-chart
chartx  chartR  chart
แบบฝึกหัดที่ 4 เรื่อง เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
1) The seven tools of quality control : 7 QC tools ประกอบด้วย
อะไรบ้าง
2) การแก้ปัญหาขององค์กรประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ประกอบด้วย
อะไรบ้าง
3) จงอธิบายวิธีการแก้ไขปัญหาตามหลักการ 5W 1H
4) การแก้ปัญหาขององค์กรในขั้นตอนที่ 1 การค้นหาปัญหาและ
คัดเลือกปัญหา จะใช้เครื่องมือชนิดใดในการแก้ปัญหา
5) วงจรเดมมิง สัมพันธ์กันอย่างไรกับการแก้ปัญหาขององค์กรทั้ง 7
ขั้นตอน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพChapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Ronnarit Junsiri
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
Suwanan Nonsrikham
 

Was ist angesagt? (20)

Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพChapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิตแนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 

Ähnlich wie Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ

ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Nattapon
 
การจำลองความคิด
การจำลองความคิดการจำลองความคิด
การจำลองความคิด
Strisuksa Roi-Et
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
Orapan Chamnan
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
Cuproperty
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
nuknook
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
Weerachat Martluplao
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
nuknook
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
JL'mind Chutimon
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน เนื้อหา
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน เนื้อหาบทที่ 4 ผลการดำเนินงาน เนื้อหา
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน เนื้อหา
Visiene Lssbh
 

Ähnlich wie Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ (20)

From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellence
 
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
การจำลองความคิด
การจำลองความคิดการจำลองความคิด
การจำลองความคิด
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน เนื้อหา
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน เนื้อหาบทที่ 4 ผลการดำเนินงาน เนื้อหา
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน เนื้อหา
 
Research report2
Research report2Research report2
Research report2
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 

Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ