SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายงาน
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวตและสิ่งแวดล้อม
ิ
จัดทาโดย
1.นายวิศิษฏ์

ชู ทอง

ม.5/1 เลขที่
2.นายเนติพงษ์
วงศ์ ประพันธ์ ม.5/1 เลขที่
3.นางสาวปิ ยนันท์ เพชรสุ ข ม.5/1 เลขที่
4.นายทศพร
สินศรชัย ม.5/1 เลขที่

4
2
8
6

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา เคมี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์
ิ
ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
นาหลักการของสมดุลเคมีมาใช้ อธิบาย กระบวนการ
และ ปฏิกริยาต่ างๆ ทีเ่ กิดขึน ในร่ างกายของสิ่ งมีชีวต และ
ิ
้
ิ
อธิบาย ปรากฏการณ์ในธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้
สมดุลเคมีในสิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้ อม
ิ
สมดุลเคมีในสิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้ อม นั้นเกิดขึนได้ ในหลากหลาก
ิ
้
รู ปแบบไม่ ว่าจะเป็ น
1. ปฏิกริยาทีเ่ กิดขึน ภายในร่ างกาย ทีมีลกษณะสมดุลไดนามิก เช่ น
ิ
้
่ ั
กระบวนการหายใจ และ แลกเปลียนแก๊ สในระบบ หมุนเวียนเลือด
่
2. การนาความรู้ เกี่ยวกับสมดุลเคมีอธิบายสมดุลของแคลเซียมในร่ างกาย
3. การเกิดปรากฎการณ์ วัฏจักรคาร์ บอน
4. เกิดปรากฏการณ์ทพบเห็นในธรรมชาติ เช่ น การเกิดหินงอกและหินย้อย
ี่
การดารงชี วตของมนุษย์ จะเกียวข้ องกับกระบวนการและปฏิกริยาต่ างๆ
ิ
่
ิ
ภายในร่ างกาย ซึ่งเกิดขึนในลักษณะชองสมดุลไดนามิก เช่ น กระบวนการ
้
หายใจและแลกเปลียนแก๊ สในระบบหมุนเวียนเลือด ในภาวะปกติขณะที่
่
ร่ างกายพักผ่อน
ผู้ชายจะใช้ O2 ประมาณ 250 มิลลิลตรต่ อนาที และมีความต้ องการ
ิ
เพิมขึนเมื่อทากิจกรรมหรือออกแรงมากขึน O2 จะถูกลาเลียงไปยังส่ วนต่ างๆ
่ ้
้
ของร่ างกายโดยรวมไปกับโมเลกุลของฮีโมโกลบิน (Hb) ซึ่งเป็ นโปรตีนในเม็ด
เลือดแดง โมเลกุลของฮีโมโกลบินทีรวมอยู่กบ O2 เรียกว่า ออกซีฮีโมโกลบิน
่
ั
เขียนสมการอย่างง่ ายๆแสดงได้ ดังนี้
ขณะทีหายใจเข้ า O2 จะผ่านหลอดลมฝอยและเข้ าสู่ ถุงลมปอด ความดันของ O2 ใน
่
ถุงลมปอดจะสู งกว่ าความดันในเส้ นเลือดฝอยและรวมตัวกับฮีโมโกลบินทีเ่ ม็ดเลือด
แดงกลายเป็ นออกซิโมโกลบิน ปฏิกริยาจะดาเนินไปข้ างหน้ า เมือเลือดไหลเวียนไป
ิ
่
ยังเนือเยือต่ างๆของร่ างกายซึ่งจาเป็ นต้ องใช้ O2 เพือทากิจกรรมต่ างทีเ่ ป็ นผลจากเม
้ ่
่
ทาบอลิซึม O2 ในเลือดจึงถูกปล่ อยออกมา ปฏิกริยาจะเกิดในทิศทางย้ อนกลับเพือ
ิ
่
เพิมปริมาณ O2 เนื่องจาก กระบวนการทั้งสองนีดาเนินไปอย่ างต่ อเนื่องรวมทั้งมี
่
้
อัตราการเกิดปฏิกริยาไปข้ างหน้ าและปฏิกริยาย้ อนกลับเท่ ากัน จึงทาให้ มภาวะ
ิ
ิ
ี
สมดุลเกิดขึน
้
ในกระบวนการหายใจ นอกจากจะมีการปรับสมดุลของ O2 แล้ว ให้
พิจารณาสมการแสดงปฏิกิริยาทีเ่ กิดขึนในกระบวนการเมทาบอลิซึมของ
้
กลูโคส ซึ่งใช้ ออกซิเจนดังต่ อไปนี้

จากสมการทาให้ ทราบว่ าในการเผาผลาญกลูโคส 1 โมเลกุล จะต้ องใช้ O2
จานวนมากและทาให้ เกิด CO2 มากด้ วยเช่ นกัน เมื่อ CO2 ทีเ่ นือเยือมี
้ ่
ปริมาณสู งขึน CO2 จะแพร่ เข้ าสู่ เลือดในหลอดเลือดฝอยเพือส่ งผ่ านไปยัง
้
่
ปอด ซึ่ง CO2 จะทาปฏิกริยากับนาเกิดเป็ นกรดคาร์ บอนิก (H2 CO3) และ
ิ
้
แตะตัวอยู่ในรู ปของไฮโดรเจนคาร์ บอเนตไอออน (HCO3) กับไฮโดรเจน
ไอออน (H+) ดังสมการ
ไฮโดรเจนคาร์ บอเนตไอออนถูกส่ งถึงหลอดเลือดฝอยรอบถุงลมปอด ซึ่งภายในถุง
ลมปอดมีความดันของ CO2น้ อย ปฏิกริยาจะเกิดย้ อนกลับเพือเพิมความดัน โดย
ิ
่ ่
CO2ในหลอดเลือดฝอยจะแพร่ เจ้ าสู่ ถุงลมปอดและถูกขับออกจากปอดในขณะทีเ่ รา
หายใจออก ระบบการขนส่ ง O2 และ CO2 ของร่ างกายจากการศึกษาพบว่ าในเลือด
ของคนทีอาศัยอยู่ในพืนทีทสูงกว่ าระดับนาทะเลมากๆจะมีความเข้ มข้ นของ
่
้ ่ ี่
้
ฮีโมโกลบินเม็ดเลือดแดงสู ง แสดงว่ าภาวะแวดล้ อมทีแตกต่ างกันเป็ นปัจจัยทีมผลต่ อ
่
่ ี
การทางานของระบบต่ างๆภายในร่ างกาย
ดังนั้นผู้ทต้องเดินทางไปในพืนทีทสูกว่ า
ี่
้ ่ ี่
ระดับนาทะเลมากๆ อาจเกิดอาการที่
้
เรียกว่ าไฮพอกเซีย (hypoxia) ซึ่งเกิด
จากทีมออกซิเจนไปเลียงเนือเยือของ
่ ี
้ ้ ่
ร่ างกายไม่ เพียงพอ ในรายทีเ่ ป็ นรุนแรง
อาจถึงตายได้ เราทราบมานานแล้ วว่ า
หน้ าทีหลักของฮีโมโกลบินคือการขนส่ ง
่
ออกซิเจนไปเลียงส่ วนต่ างๆของร่ างกาย
้
เนื่องจากความดันของออกซิเจนทีระดับความสู งจากระดับนาทะเลมากๆ มีค่าตากว่ า
่
้
่
ความดันของออกซิเจนในบรรยากาศมีค่าประมาณ 0.14 บรรยากาศ ส่ วนความดัน
ย่ อยของออกซิเจนในบรรยากาศทีระดับนาทะเลมีค่าประมาณ 0.2 บรรยากาศ ดังนั้น
่
้
การอยู่ในทีระดับความสู งมากๆ จึงมีปริมาณของ O2 ในอากาศลดลง ตามหลักของ
่
เลอชาเตอลิเอ เมือความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ นในทีนีคอออกซิเจนลดลง ปฏิกริยา
่
่ ้ื
ิ
ย้ อนกลับจะเกิดมากขึน ทาให้ ปริมาณของออกซีฮีโมโกลบินลดลง เป็ นผลให้ การ
้
ขนส่ ง O2 ไปเลียงเนือเยือส่ วนต่ างๆได้ น้อยลง จึงทาให้ เกิดอาการไฮพอกเซีย
้ ้ ่
อย่ างไรก็ตามถ้ าอยู่ในบริเวณนั้นนานๆ ร่ างกายสามารถปรับตัวโดยสร้ าง Hb ใน
เลือดให้ เพิมมากขึนจนมีผลให้ ฮีโมโกลบินสามารถจับกับ O2เกิดเป็ นออกซี
่
้
ฮีโมโกลบินได้ อย่ างเพียงพอ ด้ วยเหตุนีคนทีอยู่ในบริเวณทีมความสู งมากๆ จึงมี
้ ่
่ ี
ระดับความเข้ มข้ นของฮีโมโกลบินในเลือดสู งกว่ าของคนทีอยู่ทระดับนาทะเลปกติ
่ ี่
้
เนื่องจากกระบวนการทั้งสองเกิดขึนอย่ างต่ อเนื่องและมีอตราการเกิดปฏิกริยาไป
้
ั
ิ
ข้ างหน้ าและปฏิกริยาย้ อนกลับเท่ ากัน ในทีสุดระบบก็จะปรับตัวเข้ าสู่ ภาวะสมดุล
ิ
่
การนาความรู้ เกียวกับสมดุลเคมีอธิบายสมดุลของแคลเซียมในร่ างกาย
่
แคลเซียมจัดเป็ นธาตุทมปริมาณมากทีสุดในร่ างกายของมนุษย์ โดยคิดเป็ นร้ อยละ1.5 – 2 ของนาหนัก
ี่ ี
่
้
ร่ างกายผู้ใหญ่ ปริมาณแคลเซียมในร่ างกายร้ อยละ 98-99 เป็ นองค์ ประกอบของฟันและกระดูก ส่ วนทีเ่ หลือ
จะอยู่ในเนือเยือและกระแสเลือด หน้ าทีหลักของแคลเซียมในร่ างกายคือการเสริมสร้ างและซ่ อมแซม
้ ่
่
กระดูกและฟัน นอกจากนียงมีส่วนร่ วมในการทางานของเอนไซม์ กระบวนการเมทาบอลิซึมของวิตามินดี
้ั
การหดตัวของกล้ ามเนือ การเต้ นของหัวใจ การแข็งตัวของเลือด การเจริญเติบโตของกระดูกจะถึง
้
จุดสู งสุ ดเมืออายุประมาณ35 ปี และหลังจากอายุ 40 ปี จะเกิดการสู ญเสี ยแคลเซียมในกระดูกไปร้ อยละ
่
1 – 2 ต่ อปี เมืออายุประมาณ 65 ปี จะสู ญเสี ยแคลเซียมได้ ถึงร้ อยละ 30 – 50 ต่ อปี การสู ญเสี ยแคลเซียม
่
ของผู้หญิงจะเกิดเร็วในช่ วงภาวะหมดประจาเดือนเพือให้ การทางายของระบบต่ างๆในร่ างกายอยู่ในสภาพ
่
ปกติ จึงต้ องมีการรักษาระดับแคลเซียมในเลือดให้ คงทีและอยู่ในภาวะสมดุลกับปริมาณแคลเซียมใน
่
กระดูก ภายใต้ การควบคุมของวิตามินดีและพาราทอร์ โมน การลดปริมาณแคลเซียมในเลือดเพียงเล็กน้ อย
จะไปกระตุ้นให้ มการปลดปล่ อยแคลเซียมจากกระดูก เพิมการดูดซึมแคลเซียมจากลาไส้ พร้ อมกับลด
ี
่
การสู ญเสี ยทางปัสสาวะ หรือขณะทีร่างกายอยู่ภาวะทีมการซ่ อมแซมกระดูกทีแตกหักก็จะเกิด
่
่ ี
่
การดูดซึมแคลเซียมเข้ าไปในกระแสเลือดเพิมมากขึน กระบวนการทีเ่ กิดขึนตามทีกล่ าวมาแล้ วมี
่
้
้
่
ลักษณะของสมดุลไดนามิกทั้งสิ้น
การรักษาสมดุลของแคลเซียมในเลือด
การทางานของต่ อมไทรอยด์ และพาราไทรอยด์ จะทางานร่ วมกัน เพือควบคุม
่
สมดุลของปริมาณแคลเซียมในเลือด โดย
ถ้ าแคลเซียมในเลือดสู ง จะกระตุ้นให้ ต่อมไทรอยด์ หลัง
่
ฮอร์ โมนแคลซิโทนิน เพือลดระดับแคลเซียม
่
ถ้ าแคลเซียมในเลือดตา จะกระตุ้นให้ ต่อมพาราไทรอยด์ หลังพาราทอร์ โมน เพือ
่
่
่
เพิมระดับแคลเซียม
่
พาราทอร์ โมน
หรือ พาราไทรอยด์ ฮอร์ โมน

เป็ นฮอร์ โมนทีสร้ างจากต่ อมพารา
่
ไทรอยด์ มีหน้ าทีควบคุมภาวะ
่
สมดุลของแคลเซียมและ
ฟอสฟอรัสในร่ างกาย ซึ่งได้ แก่
- การเคลือนย้ ายแคลเซียมและ
่
ฟอสฟอรัสออกจากกระดูกและ
การดูดซึมกลับ
- การเพิมการดูดซึมกลับของ
่
แคลเซียมทีไต
่
- การเพิมการดูดซึมของแคลเซียม
่
ทีลาไส้
่
- การลดการดูดซึมฟอสฟอรัสทีไต
่
มารู้จักกับ ต่ อมพาราไทรอยด์
ต่ อมพาราไทรอยด์ หรือ Parathyroid
Glands เป็ นต่ อมไร้ ท่อประเภททีจาเป็ น
่
ต่ อชีวต (Essentail endocrine gland)
ิ
ขนาดเล็กเท่ าเมล็ดถั่วเขียว ฝังอยู่ด้านหลัง
ของต่ อมไทรอยด์ ด้านละ 2 ต่อม รวมเป็ น
4 ต่อม ทำหน้ำที่ผลิต และหลังฮอร์โมน
่
"พาราทอร์ โมน" (Parathormone) ซึ่ง
เป็ นสำรพอลิเพปไทด์ ประกอบด้วย
กรดอะมิโน 84 โมเลกุล ทำหน้ำที่ร่วมกับ
แคลซิโทนิน และวิตำมินดี

ต่ อมพาราไทรอยด์
การเกิดปรากฎการณ์ วัฏจักรคาร์ บอน
สมดุลเคมีนอกจากจะเกิดขึนในระบบต่ างๆของร่ างกายตามทีกล่ าวมาแล้ ว ยังเกิดกับ
้
่
ปรากฎการณ์ ต่างๆในธรรมชาติอกด้ วย เช่ น วัฎจักรของคาร์ บอน อะตอมของคาร์ บอนมี
ี
บทบาทสาคัญในกระบวนการทางเคมีต่างๆ ทั้งในสิ่งมีชีวตและสิ่งไม่ มชีวต ทาให้ เกิด
ิ
ี ิ
สารประกอบของคาร์ บอนจานวนมาก สารประกอบของคาร์ บอนอาจจะสะสมในรูปของ
มวลชีวภาพ สารอินทรีย์ทตกตะกอนทับถมกัน หรือในรูปของคาร์ บอเนตในหินปูนใน
ี่
เปลือกหอยและปะการังสารประกอบของคาร์ บอนจะมีการหมุนเวียนกลับสู่ บรรยากาศ
และแหล่ งนาได้ โดยกระบวนการหายใจ
้
การเผาไหม้ และการเน่ าเปื่ อย เมือ CO2
่
ถูกปล่อยออกมาในบรรยากาศ บางส่ วน
จะคงอยู่ในบรรยากาศ บางส่ วนจะ
ละลายลงในแหล่ งนา มหาสมุทร
้
หรือละลายในนาฝนแล้ วซึมลงดิน
้
ปริมาณของแก๊ ส CO2ในบรรยากาศกับในแหล่ งนาบนพืนโลกจะ
้
้
อยู่ในภาวะสมดุลกันการเพิมปริมาณ CO2 ให้ กบบรรยากาศจะมีผลให้ เกิดการ
่
ั
ละลายของ CO2 ลงในแหล่ งนามากขึน เพือลดผลของการรบกวนสมดุลตามหลัก
้
้ ่
ของเลอชาเตอลิเอ ซึ่งในทีสุดก็จะปรับเข้ าสู่ สมดุลใหม่ การละลายนาของแก๊ ส
่
้
CO2 เป็ นสาเหตุสาคัญทีทาให้ นาในธรรมชาติมสภาพเป็ นกรด ปัจจุบันแก๊ ส CO2
่
้
ี
ในบรรยากาศมีปริมาณเพิมขึน เพราะว่ ามีการเผาไหม้ เชื้อเพลิงจานวนมากใน
่ ้
กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม การขับเคลือนยามพาหนะทีใช้ สัญจร และใน
่
่
การดารงชีวตประจาวัน รวมทั้งการทาลายป่ า มีผลทาให้ ฝนทีตกลงมาและนาใน
ิ
่
้
แหล่ งต่ างๆมีความเป็ นกรดเพิมขึน ปฏิกริยาจากการละลายของ CO2 ทีทาให้ มี
่ ้
ิ
่
สภาพความเป็ นกรดเป็ นดังนี้
เกิดปรากฏการณ์ ทพบเห็นในธรรมชาติ
ี่
การเกิดหินงอกและหินย้ อย
สภาพความเป็ นกรดของน้าในสิ่ งแวดล้ อมทาให้ เกิดปรากฏการณ์ ต่างๆ
ตัวอย่ างที่พบเห็นในธรรมชาติ เช่ น การเกิดหินงอกและหินย้ อน ซึ่งเกิดจาก
นาที่มสภาพความเป็ นกรดไหลซึมผ่ านพืนดินและทาปฏิกริยากับหินปูน จะ
้ ี
้
ิ
ได้ ผลิตภัณฑ์ เป็ นแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์ บอเนต แคลเซียมไฮโดรเจน
คาร์ บอเนตจะละลายในน้าที่ซึมผ่ านจนอิมตัวและอาจมีความเข้ มข้ นถึง 200
่
ppm เมือนาไหลซึมผ่ านเข้ าไปในถาซึ่งมี CO2 ในบรรยากาศเข้ มข้ น
่ ้
้
ประมาณร้ อยละ 0.04 สารละลายดังกล่ าวจะอยู่ในภาวะสมดุลกับบรรยากาศ
ภายในถ้า ปฏิกริยาที่เกิดขึนเป็ นดังนี้
ิ
้
ปฏิกริยาไปข้ างหน้ าถึงการละลายนาของ CO2 จากอากาศหรือจากการเน่ าเปื่ อย
ิ
้
ของซากพืชและสัตว์ ในดิน ทาให้ นามีสภาพเป็ นกรด ถ้ าสารละลายมีความเป็ น
้
กรดสู งจะละลาย Ca CO2 จากแหล่ งหินปูนได้ ดี หินปูนจึงเกิดการผุกร่ อนเป็ น
โพรงหรือถาได้ เมือสารละลายไหลไปตามผนังหรือหยดลงบนพืนถาและนาหรือ
้
่
้ ้
้
CO2 สามารถแยกตัวออกจากสารละลายได้ ปฏิกริยาจะเกิดย้ อนกลับ เป็ นผลให้ มี
ิ
Ca CO2 ตกผลึกแยกออกมาเกิดเป็ นหินย้ อยตามเพดานหรือหินงอกบนพืนภายใน
้
ถา ปฏิกริยาย้ อนกลับเกิดได้ ช้ามาก ต้ องใช้ เวลานานหลายร้ อยหลายพันปี กว่ าจะได้
้
ิ
หินย้ อยและหินงอกทีมสภาพใหญ่ โตและสวยงามดังทีเ่ ห็น ดังรูป
่ ี
หินงอก - หินย้อย
หินงอกคือหินทีงอกจากพืนหินย้อย คือหินทีย้อยลงมาจากด้ านบนเกิดมาก
่
้
่
โดยเฉพาะภูเขาหินปูน(CO2 ) ซึ่งละลายในนาฝน กลายเป็ นกรดคาร์ บอนิก
้
(H2CO3)ไหลไปตามก้ อนหิน และทาปฏิกริยากับแคลเซียมตาร์ บอเนตทีมี
ิ
่
อยู่ในหินปูนเกิดเป็ นสารละลายแคลเซียมไฮโดรเจน-คาร์ บอเนต ซี่งไหลไป
ตามพืนผนังถาเมือนาระเหยหมดก็เหลือตะกอนสะสมเป็ นหินงอกหินย้ อย
้
้ ่ ้
แหล่ งอ้ างอิง
•http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem18/
7.6.htm
•chemical.gulife.com/diary/%3Fdat...page%3D1
•www.becthai.com/events_detail.ph...ail%3D42
•61.7.235.246/basic_nurse/apichat...ell.html
•health.kapook.com/view5652.html
•www.thaigoodview.com/node/72701
•gotoknow.org/blog/ort2511/209800

•202.143.160.21/LM/Sci%40/bio/atm...tion.htm
•mybody-by-urng.blogspot.com/2009...ive.html

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
Tatthep Deesukon
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
Kruthai Kidsdee
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
Kittivut Tantivuttiki
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
savokclash
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 

Was ist angesagt? (20)

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Ähnlich wie สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
วิศิษฏ์ ชูทอง
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
wisita42
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
supreechafkk
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
klainil
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
N'apple Naja
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
Bios Logos
 

Ähnlich wie สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (20)

สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
=U;t
=U;t=U;t
=U;t
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 

Mehr von วิศิษฏ์ ชูทอง (6)

อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
การไทเทรตกรด เบส
การไทเทรตกรด เบสการไทเทรตกรด เบส
การไทเทรตกรด เบส
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 

สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

  • 1. รายงาน เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวตและสิ่งแวดล้อม ิ จัดทาโดย 1.นายวิศิษฏ์ ชู ทอง ม.5/1 เลขที่ 2.นายเนติพงษ์ วงศ์ ประพันธ์ ม.5/1 เลขที่ 3.นางสาวปิ ยนันท์ เพชรสุ ข ม.5/1 เลขที่ 4.นายทศพร สินศรชัย ม.5/1 เลขที่ 4 2 8 6 รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา เคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ ิ
  • 2. ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง นาหลักการของสมดุลเคมีมาใช้ อธิบาย กระบวนการ และ ปฏิกริยาต่ างๆ ทีเ่ กิดขึน ในร่ างกายของสิ่ งมีชีวต และ ิ ้ ิ อธิบาย ปรากฏการณ์ในธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้
  • 3. สมดุลเคมีในสิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้ อม ิ สมดุลเคมีในสิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้ อม นั้นเกิดขึนได้ ในหลากหลาก ิ ้ รู ปแบบไม่ ว่าจะเป็ น 1. ปฏิกริยาทีเ่ กิดขึน ภายในร่ างกาย ทีมีลกษณะสมดุลไดนามิก เช่ น ิ ้ ่ ั กระบวนการหายใจ และ แลกเปลียนแก๊ สในระบบ หมุนเวียนเลือด ่ 2. การนาความรู้ เกี่ยวกับสมดุลเคมีอธิบายสมดุลของแคลเซียมในร่ างกาย 3. การเกิดปรากฎการณ์ วัฏจักรคาร์ บอน 4. เกิดปรากฏการณ์ทพบเห็นในธรรมชาติ เช่ น การเกิดหินงอกและหินย้อย ี่
  • 4. การดารงชี วตของมนุษย์ จะเกียวข้ องกับกระบวนการและปฏิกริยาต่ างๆ ิ ่ ิ ภายในร่ างกาย ซึ่งเกิดขึนในลักษณะชองสมดุลไดนามิก เช่ น กระบวนการ ้ หายใจและแลกเปลียนแก๊ สในระบบหมุนเวียนเลือด ในภาวะปกติขณะที่ ่ ร่ างกายพักผ่อน ผู้ชายจะใช้ O2 ประมาณ 250 มิลลิลตรต่ อนาที และมีความต้ องการ ิ เพิมขึนเมื่อทากิจกรรมหรือออกแรงมากขึน O2 จะถูกลาเลียงไปยังส่ วนต่ างๆ ่ ้ ้ ของร่ างกายโดยรวมไปกับโมเลกุลของฮีโมโกลบิน (Hb) ซึ่งเป็ นโปรตีนในเม็ด เลือดแดง โมเลกุลของฮีโมโกลบินทีรวมอยู่กบ O2 เรียกว่า ออกซีฮีโมโกลบิน ่ ั เขียนสมการอย่างง่ ายๆแสดงได้ ดังนี้
  • 5. ขณะทีหายใจเข้ า O2 จะผ่านหลอดลมฝอยและเข้ าสู่ ถุงลมปอด ความดันของ O2 ใน ่ ถุงลมปอดจะสู งกว่ าความดันในเส้ นเลือดฝอยและรวมตัวกับฮีโมโกลบินทีเ่ ม็ดเลือด แดงกลายเป็ นออกซิโมโกลบิน ปฏิกริยาจะดาเนินไปข้ างหน้ า เมือเลือดไหลเวียนไป ิ ่ ยังเนือเยือต่ างๆของร่ างกายซึ่งจาเป็ นต้ องใช้ O2 เพือทากิจกรรมต่ างทีเ่ ป็ นผลจากเม ้ ่ ่ ทาบอลิซึม O2 ในเลือดจึงถูกปล่ อยออกมา ปฏิกริยาจะเกิดในทิศทางย้ อนกลับเพือ ิ ่ เพิมปริมาณ O2 เนื่องจาก กระบวนการทั้งสองนีดาเนินไปอย่ างต่ อเนื่องรวมทั้งมี ่ ้ อัตราการเกิดปฏิกริยาไปข้ างหน้ าและปฏิกริยาย้ อนกลับเท่ ากัน จึงทาให้ มภาวะ ิ ิ ี สมดุลเกิดขึน ้
  • 6. ในกระบวนการหายใจ นอกจากจะมีการปรับสมดุลของ O2 แล้ว ให้ พิจารณาสมการแสดงปฏิกิริยาทีเ่ กิดขึนในกระบวนการเมทาบอลิซึมของ ้ กลูโคส ซึ่งใช้ ออกซิเจนดังต่ อไปนี้ จากสมการทาให้ ทราบว่ าในการเผาผลาญกลูโคส 1 โมเลกุล จะต้ องใช้ O2 จานวนมากและทาให้ เกิด CO2 มากด้ วยเช่ นกัน เมื่อ CO2 ทีเ่ นือเยือมี ้ ่ ปริมาณสู งขึน CO2 จะแพร่ เข้ าสู่ เลือดในหลอดเลือดฝอยเพือส่ งผ่ านไปยัง ้ ่ ปอด ซึ่ง CO2 จะทาปฏิกริยากับนาเกิดเป็ นกรดคาร์ บอนิก (H2 CO3) และ ิ ้ แตะตัวอยู่ในรู ปของไฮโดรเจนคาร์ บอเนตไอออน (HCO3) กับไฮโดรเจน ไอออน (H+) ดังสมการ
  • 7. ไฮโดรเจนคาร์ บอเนตไอออนถูกส่ งถึงหลอดเลือดฝอยรอบถุงลมปอด ซึ่งภายในถุง ลมปอดมีความดันของ CO2น้ อย ปฏิกริยาจะเกิดย้ อนกลับเพือเพิมความดัน โดย ิ ่ ่ CO2ในหลอดเลือดฝอยจะแพร่ เจ้ าสู่ ถุงลมปอดและถูกขับออกจากปอดในขณะทีเ่ รา หายใจออก ระบบการขนส่ ง O2 และ CO2 ของร่ างกายจากการศึกษาพบว่ าในเลือด ของคนทีอาศัยอยู่ในพืนทีทสูงกว่ าระดับนาทะเลมากๆจะมีความเข้ มข้ นของ ่ ้ ่ ี่ ้ ฮีโมโกลบินเม็ดเลือดแดงสู ง แสดงว่ าภาวะแวดล้ อมทีแตกต่ างกันเป็ นปัจจัยทีมผลต่ อ ่ ่ ี การทางานของระบบต่ างๆภายในร่ างกาย ดังนั้นผู้ทต้องเดินทางไปในพืนทีทสูกว่ า ี่ ้ ่ ี่ ระดับนาทะเลมากๆ อาจเกิดอาการที่ ้ เรียกว่ าไฮพอกเซีย (hypoxia) ซึ่งเกิด จากทีมออกซิเจนไปเลียงเนือเยือของ ่ ี ้ ้ ่ ร่ างกายไม่ เพียงพอ ในรายทีเ่ ป็ นรุนแรง อาจถึงตายได้ เราทราบมานานแล้ วว่ า หน้ าทีหลักของฮีโมโกลบินคือการขนส่ ง ่ ออกซิเจนไปเลียงส่ วนต่ างๆของร่ างกาย ้
  • 8. เนื่องจากความดันของออกซิเจนทีระดับความสู งจากระดับนาทะเลมากๆ มีค่าตากว่ า ่ ้ ่ ความดันของออกซิเจนในบรรยากาศมีค่าประมาณ 0.14 บรรยากาศ ส่ วนความดัน ย่ อยของออกซิเจนในบรรยากาศทีระดับนาทะเลมีค่าประมาณ 0.2 บรรยากาศ ดังนั้น ่ ้ การอยู่ในทีระดับความสู งมากๆ จึงมีปริมาณของ O2 ในอากาศลดลง ตามหลักของ ่ เลอชาเตอลิเอ เมือความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ นในทีนีคอออกซิเจนลดลง ปฏิกริยา ่ ่ ้ื ิ ย้ อนกลับจะเกิดมากขึน ทาให้ ปริมาณของออกซีฮีโมโกลบินลดลง เป็ นผลให้ การ ้ ขนส่ ง O2 ไปเลียงเนือเยือส่ วนต่ างๆได้ น้อยลง จึงทาให้ เกิดอาการไฮพอกเซีย ้ ้ ่ อย่ างไรก็ตามถ้ าอยู่ในบริเวณนั้นนานๆ ร่ างกายสามารถปรับตัวโดยสร้ าง Hb ใน เลือดให้ เพิมมากขึนจนมีผลให้ ฮีโมโกลบินสามารถจับกับ O2เกิดเป็ นออกซี ่ ้ ฮีโมโกลบินได้ อย่ างเพียงพอ ด้ วยเหตุนีคนทีอยู่ในบริเวณทีมความสู งมากๆ จึงมี ้ ่ ่ ี ระดับความเข้ มข้ นของฮีโมโกลบินในเลือดสู งกว่ าของคนทีอยู่ทระดับนาทะเลปกติ ่ ี่ ้ เนื่องจากกระบวนการทั้งสองเกิดขึนอย่ างต่ อเนื่องและมีอตราการเกิดปฏิกริยาไป ้ ั ิ ข้ างหน้ าและปฏิกริยาย้ อนกลับเท่ ากัน ในทีสุดระบบก็จะปรับตัวเข้ าสู่ ภาวะสมดุล ิ ่
  • 9. การนาความรู้ เกียวกับสมดุลเคมีอธิบายสมดุลของแคลเซียมในร่ างกาย ่ แคลเซียมจัดเป็ นธาตุทมปริมาณมากทีสุดในร่ างกายของมนุษย์ โดยคิดเป็ นร้ อยละ1.5 – 2 ของนาหนัก ี่ ี ่ ้ ร่ างกายผู้ใหญ่ ปริมาณแคลเซียมในร่ างกายร้ อยละ 98-99 เป็ นองค์ ประกอบของฟันและกระดูก ส่ วนทีเ่ หลือ จะอยู่ในเนือเยือและกระแสเลือด หน้ าทีหลักของแคลเซียมในร่ างกายคือการเสริมสร้ างและซ่ อมแซม ้ ่ ่ กระดูกและฟัน นอกจากนียงมีส่วนร่ วมในการทางานของเอนไซม์ กระบวนการเมทาบอลิซึมของวิตามินดี ้ั การหดตัวของกล้ ามเนือ การเต้ นของหัวใจ การแข็งตัวของเลือด การเจริญเติบโตของกระดูกจะถึง ้ จุดสู งสุ ดเมืออายุประมาณ35 ปี และหลังจากอายุ 40 ปี จะเกิดการสู ญเสี ยแคลเซียมในกระดูกไปร้ อยละ ่ 1 – 2 ต่ อปี เมืออายุประมาณ 65 ปี จะสู ญเสี ยแคลเซียมได้ ถึงร้ อยละ 30 – 50 ต่ อปี การสู ญเสี ยแคลเซียม ่ ของผู้หญิงจะเกิดเร็วในช่ วงภาวะหมดประจาเดือนเพือให้ การทางายของระบบต่ างๆในร่ างกายอยู่ในสภาพ ่ ปกติ จึงต้ องมีการรักษาระดับแคลเซียมในเลือดให้ คงทีและอยู่ในภาวะสมดุลกับปริมาณแคลเซียมใน ่ กระดูก ภายใต้ การควบคุมของวิตามินดีและพาราทอร์ โมน การลดปริมาณแคลเซียมในเลือดเพียงเล็กน้ อย จะไปกระตุ้นให้ มการปลดปล่ อยแคลเซียมจากกระดูก เพิมการดูดซึมแคลเซียมจากลาไส้ พร้ อมกับลด ี ่ การสู ญเสี ยทางปัสสาวะ หรือขณะทีร่างกายอยู่ภาวะทีมการซ่ อมแซมกระดูกทีแตกหักก็จะเกิด ่ ่ ี ่ การดูดซึมแคลเซียมเข้ าไปในกระแสเลือดเพิมมากขึน กระบวนการทีเ่ กิดขึนตามทีกล่ าวมาแล้ วมี ่ ้ ้ ่ ลักษณะของสมดุลไดนามิกทั้งสิ้น
  • 10. การรักษาสมดุลของแคลเซียมในเลือด การทางานของต่ อมไทรอยด์ และพาราไทรอยด์ จะทางานร่ วมกัน เพือควบคุม ่ สมดุลของปริมาณแคลเซียมในเลือด โดย ถ้ าแคลเซียมในเลือดสู ง จะกระตุ้นให้ ต่อมไทรอยด์ หลัง ่ ฮอร์ โมนแคลซิโทนิน เพือลดระดับแคลเซียม ่ ถ้ าแคลเซียมในเลือดตา จะกระตุ้นให้ ต่อมพาราไทรอยด์ หลังพาราทอร์ โมน เพือ ่ ่ ่ เพิมระดับแคลเซียม ่
  • 11. พาราทอร์ โมน หรือ พาราไทรอยด์ ฮอร์ โมน เป็ นฮอร์ โมนทีสร้ างจากต่ อมพารา ่ ไทรอยด์ มีหน้ าทีควบคุมภาวะ ่ สมดุลของแคลเซียมและ ฟอสฟอรัสในร่ างกาย ซึ่งได้ แก่ - การเคลือนย้ ายแคลเซียมและ ่ ฟอสฟอรัสออกจากกระดูกและ การดูดซึมกลับ - การเพิมการดูดซึมกลับของ ่ แคลเซียมทีไต ่ - การเพิมการดูดซึมของแคลเซียม ่ ทีลาไส้ ่ - การลดการดูดซึมฟอสฟอรัสทีไต ่
  • 12. มารู้จักกับ ต่ อมพาราไทรอยด์ ต่ อมพาราไทรอยด์ หรือ Parathyroid Glands เป็ นต่ อมไร้ ท่อประเภททีจาเป็ น ่ ต่ อชีวต (Essentail endocrine gland) ิ ขนาดเล็กเท่ าเมล็ดถั่วเขียว ฝังอยู่ด้านหลัง ของต่ อมไทรอยด์ ด้านละ 2 ต่อม รวมเป็ น 4 ต่อม ทำหน้ำที่ผลิต และหลังฮอร์โมน ่ "พาราทอร์ โมน" (Parathormone) ซึ่ง เป็ นสำรพอลิเพปไทด์ ประกอบด้วย กรดอะมิโน 84 โมเลกุล ทำหน้ำที่ร่วมกับ แคลซิโทนิน และวิตำมินดี ต่ อมพาราไทรอยด์
  • 13. การเกิดปรากฎการณ์ วัฏจักรคาร์ บอน สมดุลเคมีนอกจากจะเกิดขึนในระบบต่ างๆของร่ างกายตามทีกล่ าวมาแล้ ว ยังเกิดกับ ้ ่ ปรากฎการณ์ ต่างๆในธรรมชาติอกด้ วย เช่ น วัฎจักรของคาร์ บอน อะตอมของคาร์ บอนมี ี บทบาทสาคัญในกระบวนการทางเคมีต่างๆ ทั้งในสิ่งมีชีวตและสิ่งไม่ มชีวต ทาให้ เกิด ิ ี ิ สารประกอบของคาร์ บอนจานวนมาก สารประกอบของคาร์ บอนอาจจะสะสมในรูปของ มวลชีวภาพ สารอินทรีย์ทตกตะกอนทับถมกัน หรือในรูปของคาร์ บอเนตในหินปูนใน ี่ เปลือกหอยและปะการังสารประกอบของคาร์ บอนจะมีการหมุนเวียนกลับสู่ บรรยากาศ และแหล่ งนาได้ โดยกระบวนการหายใจ ้ การเผาไหม้ และการเน่ าเปื่ อย เมือ CO2 ่ ถูกปล่อยออกมาในบรรยากาศ บางส่ วน จะคงอยู่ในบรรยากาศ บางส่ วนจะ ละลายลงในแหล่ งนา มหาสมุทร ้ หรือละลายในนาฝนแล้ วซึมลงดิน ้
  • 14. ปริมาณของแก๊ ส CO2ในบรรยากาศกับในแหล่ งนาบนพืนโลกจะ ้ ้ อยู่ในภาวะสมดุลกันการเพิมปริมาณ CO2 ให้ กบบรรยากาศจะมีผลให้ เกิดการ ่ ั ละลายของ CO2 ลงในแหล่ งนามากขึน เพือลดผลของการรบกวนสมดุลตามหลัก ้ ้ ่ ของเลอชาเตอลิเอ ซึ่งในทีสุดก็จะปรับเข้ าสู่ สมดุลใหม่ การละลายนาของแก๊ ส ่ ้ CO2 เป็ นสาเหตุสาคัญทีทาให้ นาในธรรมชาติมสภาพเป็ นกรด ปัจจุบันแก๊ ส CO2 ่ ้ ี ในบรรยากาศมีปริมาณเพิมขึน เพราะว่ ามีการเผาไหม้ เชื้อเพลิงจานวนมากใน ่ ้ กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม การขับเคลือนยามพาหนะทีใช้ สัญจร และใน ่ ่ การดารงชีวตประจาวัน รวมทั้งการทาลายป่ า มีผลทาให้ ฝนทีตกลงมาและนาใน ิ ่ ้ แหล่ งต่ างๆมีความเป็ นกรดเพิมขึน ปฏิกริยาจากการละลายของ CO2 ทีทาให้ มี ่ ้ ิ ่ สภาพความเป็ นกรดเป็ นดังนี้
  • 15. เกิดปรากฏการณ์ ทพบเห็นในธรรมชาติ ี่ การเกิดหินงอกและหินย้ อย สภาพความเป็ นกรดของน้าในสิ่ งแวดล้ อมทาให้ เกิดปรากฏการณ์ ต่างๆ ตัวอย่ างที่พบเห็นในธรรมชาติ เช่ น การเกิดหินงอกและหินย้ อน ซึ่งเกิดจาก นาที่มสภาพความเป็ นกรดไหลซึมผ่ านพืนดินและทาปฏิกริยากับหินปูน จะ ้ ี ้ ิ ได้ ผลิตภัณฑ์ เป็ นแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์ บอเนต แคลเซียมไฮโดรเจน คาร์ บอเนตจะละลายในน้าที่ซึมผ่ านจนอิมตัวและอาจมีความเข้ มข้ นถึง 200 ่ ppm เมือนาไหลซึมผ่ านเข้ าไปในถาซึ่งมี CO2 ในบรรยากาศเข้ มข้ น ่ ้ ้ ประมาณร้ อยละ 0.04 สารละลายดังกล่ าวจะอยู่ในภาวะสมดุลกับบรรยากาศ ภายในถ้า ปฏิกริยาที่เกิดขึนเป็ นดังนี้ ิ ้
  • 16. ปฏิกริยาไปข้ างหน้ าถึงการละลายนาของ CO2 จากอากาศหรือจากการเน่ าเปื่ อย ิ ้ ของซากพืชและสัตว์ ในดิน ทาให้ นามีสภาพเป็ นกรด ถ้ าสารละลายมีความเป็ น ้ กรดสู งจะละลาย Ca CO2 จากแหล่ งหินปูนได้ ดี หินปูนจึงเกิดการผุกร่ อนเป็ น โพรงหรือถาได้ เมือสารละลายไหลไปตามผนังหรือหยดลงบนพืนถาและนาหรือ ้ ่ ้ ้ ้ CO2 สามารถแยกตัวออกจากสารละลายได้ ปฏิกริยาจะเกิดย้ อนกลับ เป็ นผลให้ มี ิ Ca CO2 ตกผลึกแยกออกมาเกิดเป็ นหินย้ อยตามเพดานหรือหินงอกบนพืนภายใน ้ ถา ปฏิกริยาย้ อนกลับเกิดได้ ช้ามาก ต้ องใช้ เวลานานหลายร้ อยหลายพันปี กว่ าจะได้ ้ ิ หินย้ อยและหินงอกทีมสภาพใหญ่ โตและสวยงามดังทีเ่ ห็น ดังรูป ่ ี
  • 17. หินงอก - หินย้อย หินงอกคือหินทีงอกจากพืนหินย้อย คือหินทีย้อยลงมาจากด้ านบนเกิดมาก ่ ้ ่ โดยเฉพาะภูเขาหินปูน(CO2 ) ซึ่งละลายในนาฝน กลายเป็ นกรดคาร์ บอนิก ้ (H2CO3)ไหลไปตามก้ อนหิน และทาปฏิกริยากับแคลเซียมตาร์ บอเนตทีมี ิ ่ อยู่ในหินปูนเกิดเป็ นสารละลายแคลเซียมไฮโดรเจน-คาร์ บอเนต ซี่งไหลไป ตามพืนผนังถาเมือนาระเหยหมดก็เหลือตะกอนสะสมเป็ นหินงอกหินย้ อย ้ ้ ่ ้