SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
Downloaden Sie, um offline zu lesen
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9 
สมาชิก
เรขาคณิตระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สาระที่ ๓ เรขาคณิต 
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับ ปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา 
หลักสูตรแกนกลางและมาตรฐานการเรียนรู้
ต้องการให้นักเรียนมีทักษะ/คุณลักษณะอย่างไร 
กาหนดวัตถุประสงค์ในการจัดการเรียนรู้ โดยระบุคุณลักษณะของนักเรียนให้ ชัดเจน และสอดคล้องกับเนื้อหา 
1.ผู้เรียนสามารถบอกรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 
2.ผู้เรียนสามารถวาดภาพสิ่งต่างให้เห็นถึงรูปร่าง รูปทรง ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกน สมมาตร เขียนชื่อจุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม และเขียนสัญลักษณ์ได้ 
3.ผู้เรียนเห็นความสาคัญของรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อ งานทัศนศิลป์ 
4.ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการทางาน ใฝ่รู้ใฝ่เรียนและมีนิสัยรักการทางาน
มีวิธีการจัดการเรียนรู้อย่างไร 
ทฤษฎีการเรียนรู้ 
จากแนวคิดของกลุ่มการสร้างความรู้ ทั้ง กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive constructivism) และ กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social constructivism) สรุปเป็นสาระสาคัญได้ ดังนี้
1) ความรู้ของบุคคลใด คือ โครงสร้างทางปัญญาของบุคคลนั้นที่สร้าง ขึ้นจากประสบการณ์ในการคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็นปัญหาและ สามารถนาไปใช้เป็นฐานในการแก้ปัญหาหรืออธิบายสถานการณ์อื่นๆ ได้ 
2) ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีการที่ต่างๆ กัน โดยอาศัย ประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม ความสนใจและ แรงจูงใจภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น
3) ครูมีหน้าที่จัดนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียน เอง ภายใต้ข้อสมมติฐานต่อไปนี้ 
-สถานการณ์ที่เป็นปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา 
-ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจภายในให้เกิดกิจกรรมการไตร่ตรองเพื่อขจัดความ ขัดแย้งนั้น Dewey ได้อธิบายเกี่ยวกับลักษณะการไตร่ตรอง (Reflection) เป็นการ พิจารณาอย่างรอบคอบ กิจกรรมการไตร่ตรองจะเริ่มต้นด้วยสถานการณ์ที่เป็นปัญหา น่า สงสัย ยุ่งยาก ซับซ้อน เรียกว่า สถานการณ์ก่อนไตร่ตรอง และจะจบลงด้วยความเข้าใจที่ สามารถอธิบายสถานการณ์ดังกล่าว สามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนได้เรียนรู้และพึงพอใจกับ ผลที่ได้รับ 
-การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิมภายใต้การมี ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม กระตุ้นให้มีการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา
ตัวอย่างแบบฝึกหัด
1.การนารูปเรขาคณิตสองมิติภาพเล็กไปวางในรูปเรขาคณิตภาพใหญ่โดยต้องวางได้ พอดีและจะนารูปเรขาคณิตสองมิติภาพเล็กชนิดใดไปวางก็ได้ และให้บอกว่าใช้รูป เรขาคณิตภาพเล็กกี่ชนิด และกี่รูป
แบบฝึกหัด
2.ให้นักเรียนคลี่รูปทรงสามมิติที่กาหนดให้ แล้วบอกว่าจะรูปทรงสองมิติ อะไรบ้าง
ใช้สื่อ/แหล่งเรียนรู้ใดบ้าง 
เลือกให้สื่อ/ เทคโนโลยี/ แหล่งการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ ในแต่ละขั้น/ แต่ละกระบวนการ 
เลือกใช้สื่อที่อยู่รอบตัวเด็กมาเป็นสื่อการเรียนรู้ในเบื้องต้นในเด็ก ซึ่ง สามารถพบเห็นได้โดยง่ายในชีวิตประจาวัน เพื่อง่ายต่อการทาความเข้าใจของ เด็ก เด็กเห็นภาพได้ชัดเจนถึงสิ่งที่ต้องการจะสื่อให้เด็กได้เรียนรู้ เช่น ขนมเทียน แทนรูปทรงพีระมิด ลูกบอลแทนทรงกลม กระป๋องน้าอัดลมแทนทรงกระบอก 
กล่องนมแทนปริซึมสี่เหลี่ยม
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้จะสร้าง/ผลิตอย่างไร 
1.สร้างสื่อที่เกี่ยวกับรูปเรขาคณิต สร้าง pattern block รูปเรขาคณิตให้เด็กได้ เรียนรู้ได้สัมผัสได้เรียนรู้ด้วยตัวเด็กเอง 
2.เก็บรวบข้อมูลที่จะนามาสร้าง pattern block โดยหาข้อมูลของรูปเรขคณิต ต่างๆ เพื่อที่จะนามาสร้าง pattern block ให้หลากหลาย สะดวกต่อการประกอบ และหาอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการสร้าง เพื่อความแข็งแรง และคงทนของ pattern block 
3.การประเมินผลผลิต โดยการสังเกตนักเรียนว่า นักเรียนมีความสนใจในสื่อการ เรียนรู้หรือไม่ และสามารถต่อยอดความรู้ความเข้าใจให้กับนักเรียนได้
1. กระดาษแข็ง 2.กรรไกร 3.ไม้บรรทัด 4.ดินสอ 
อุปกรณ์สร้าง Pattern Block
1. วาดรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าขึ้นมา ในกระดาษแข็ง 
2. วัดความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 
วิธีการสร้างPattern Block 
1หน่วย
3. นาความยาวที่ได้ไปสร้างสี่เหลี่ยมจัตุรัส 
1หน่วย 
1หน่วย
4. นาความยาวด้านที่ได้ไปสร้างสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
5.สร้างรูปหกเหลี่ยมด้วยการใช้สามเหลี่ยมด้านเท่ามาประกอบกัน 6. สร้างสี่เหลี่ยมคางหมูจากสามเหลี่ยมด้านเท่าสามรูปต่อกัน
มีวิธีการประเมินผลการเรียนรู้อย่างไร 
-เมื่อเด็กทากิจกรรมแล้ว ให้เด็กเขียนสรุปแนวคิดของตัวเองมานาเสนอหน้าห้อง แล้วครูก็สรุปสิ่งที่ได้เรียนในเรื่องเรขาคณิต แล้วอาจจะมีคาถามเพื่อทดสอบ นักเรียน เช่น รูปที่มีสามมุมสามด้านเป็นรูปอะไร 
-ประเมินโดยใช้แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ เพื่อจะได้ทราบว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหามากน้อยเพียงใด เช่น กาหนดสิ่งของในชีวิตประจาวัน แล้ว ให้นักเรียนบอกว่าประกอบด้วยรูปเรขาคณิตสองมิติแบบใดบ้าง
Step for learning environments design1 (1)

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

เรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติเรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติPalm Teenakul
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติSuparat Boonkum
 
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง รูปทรงเรขาคณิต
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง รูปทรงเรขาคณิตสื่อการเรียนการสอน เรื่อง รูปทรงเรขาคณิต
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง รูปทรงเรขาคณิตวิรัช กรเอี่ยม
 
รูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติNat Basri
 
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรรวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรguest48c0b10
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry) เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry) pratumma
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรRitthinarongron School
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่างสูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่างguest63819e
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวkhanida
 

Andere mochten auch (12)

เรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติเรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติ
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
 
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง รูปทรงเรขาคณิต
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง รูปทรงเรขาคณิตสื่อการเรียนการสอน เรื่อง รูปทรงเรขาคณิต
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง รูปทรงเรขาคณิต
 
รูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติ
 
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรรวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry) เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry)
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่างสูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 

Ähnlich wie Step for learning environments design1 (1)

มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอนวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอPronsawan Petklub
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)Pochchara Tiamwong
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทองneungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานทับทิม เจริญตา
 
สถานการณ์บทที่ 8
สถานการณ์บทที่ 8สถานการณ์บทที่ 8
สถานการณ์บทที่ 8Bow Tananya
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 

Ähnlich wie Step for learning environments design1 (1) (20)

บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอนวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
 
962
962962
962
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
โครงสร้างรายวิชาค33201
โครงสร้างรายวิชาค33201โครงสร้างรายวิชาค33201
โครงสร้างรายวิชาค33201
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
 
1
1 1
1
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
สถานการณ์บทที่ 8
สถานการณ์บทที่ 8สถานการณ์บทที่ 8
สถานการณ์บทที่ 8
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 

Mehr von N'Fern White-Choc

บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาN'Fern White-Choc
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอN'Fern White-Choc
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptN'Fern White-Choc
 

Mehr von N'Fern White-Choc (9)

บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
 

Step for learning environments design1 (1)