SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
หน่วยที่ 8
การสื่อสารข้อมูล
แนวคิด
การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จะต้องอาศัยสื่อกลางในการรับข้อมูล
จากผู้ส่งต้นทางไปยังผู้รับปลายทาง ซึ่งก็คือเครื่องหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วน
สื่อกลางที่ใช้ในการรับส่งข้อมูล ในปัจจุบันมีอยู่ 2 ประเภทหลักประเภทแรกเป็น
สื่อกลางหรืออุปกรณ์ทางสาย อีกประเภทเป็นอุปกรณ์ไร้สาย ดังนั้น การเรียนรู้เพื่อทา
ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์รับส่งข้อมูลแต่ละประเภท รวมทั้งอุปกรณ์ส่งข้อมูลใน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงเป็นเรื่องที่จาเป็นเพื่อนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ
สาระการเรียนรู้
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลระดับเครือข่าย
การสื่อสารข้อมูลกับระบบสานักงานอัตโนมัติ
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
การเชื่อมต่อสายสื่อสาร
วิธีการสื่อสารข้อมูล
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล
ทิศทางการส่งข้อมูล
ตัวกลางการสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารข้อมูล
กระบวนการสื่อสารที่ประสบผลสาเร็จ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
บอกบทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้
อธิบายองค์ประกอบ ชนิด การเชื่อมต่อ วิธีการ รูปแบบ ทิศทาง ตัวกลางและอุปกรณ์ของการสื่อสารได้
บอกกระบวนการสื่อสารที่ทาให้ประสบผลสาเร็จในการสื่อสารได้
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การติดต่อสื่อสารข้อมูลสมัยนี้ มีรากฐานมาจากความพยายามในการเชื่อมต่อระหว่าง
คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยระบบสื่อสารที่มีอยู่แล้ว เช่น โทรศัพท์ ดังนั้นการสื่อสาร
ข้อมูลจึงอยู่ในขอบเขตที่จากัด ต่อมาเมื่อมีการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้น ความต้องการในการติดจ่อ
ระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน ที่เรียกว่า ระบบเครือข่าย (Network)
ได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้นเป็นลาดับ
ในตอนเริ่มจ้นของยุคสื่อสาร เมื่อประมาณ พ.ศ.2513-2515 ความต้องการใช้
คอมพิวเตอร์ร่วมกันมีมากขึ้น แต่คอมพิวเตอร์ยังมีราคาสูงมาก เมื่อเทียบกับอุปกรณ์สื่อสารที่มีอยู่
แล้วบางอย่าง การสื่อสารด้วยระบบเครือข่ายในระยะนั้นจึงเน้นการใช้คอมพิวเตอร์ที่ศูนย์
คอมพิวเตอร์เป็นผู้ให้บริการแก่ผู้ใช้ปลายทางหลายคน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายของระบบ
ต่อมาเมื่อถึงยุคสมัยของไมโครคอมพิวเตอร์ พบว่าขีดความสามารถในด้านความเร็วของ
การทางานของเมนเฟรม มีความเร็วมมากกว่า 10 เท่า เมื่อเทียบกับไมโครคอมพิวเตอร์ตัวที่ดีที่
สุดแต่ราคาของเมนเฟรมแพงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์หลายพันเท่า การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์จึง
แพร่หลายและกระจายออกไป การสื่อสารจึงกลายเป็นระบบเครือข่ายแบบกระจาย กล่าวคือแมนที่
จะออกแบบให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางต่อกับเมนเฟรม ก็เปลี่ยนเป็นระบบเครือข่ายที่ใช้
คอมพิวเตอร์ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์แทน
การสื่อสารข้อมูลระดับเครือข่าย
การส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายจาเป็นต้องมีมาตรฐานกลาง ที่ทาให้
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างรุ่นต่างยี่ห้อทุกเครื่องหรือทุกระบบสามารถเชื่อมโยงกันได้ ในระบบเครือข่าย
จะมีการดาเนินงานพื้นฐานต่างๆ เช่น การรับส่งข้อมูล การเข้าใช้งานเครือข่าย การพิมพ์งานโดยใช้อุปกรณ์
ของเครือข่าย เป็นต้น องค์กรว่าด้วยมาตรฐานระหว่างประเทศจึงได้กาหนดมาตรฐานการจัดระบบการ
เชื่อมต่อสื่อสารเปิด(Open System Interconnection : OSI ) แบ่งเป็น 7 ขั้น
ตามลาดับ ซึ่งเป็นแนวคิดในการสร้างเครือข่ายเพื่อจัดแบ่งการดาเนินงานพื้นฐานของเครือข่ายออกเป็นงาน
ย่อย ทาให้การออกแบบและใช้งานเครือข่าย รวมทั้งการติดต่อเชื่อมโยงเป็นไปด้วยความสะดวก มีวิธี
ปฏิบัติในกรอบเดียวกัน
การสื่อสารข้อมูลกับระบบสานักงานอัตโนมัติ
ในช่วงระยะเวลาเพียง 20 ปีที่ผ่านมา พบว่าพัฒนาการเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
คอมพิวเตอร์และการสื่อสารส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมและสภาพความเป็นอยู่ของ
มนุษย์ และทาให้โลกพัฒนาเข้าสู่ยุคของสารสนเทศ ปัจจุบันไม่ว่าจะอยู่ที่ส่วนใดของโลกก็
สามารถติดต่อโทรศัพท์พูดคุยกันได้เสมือนว่าอยู่ใกล้กัน พัฒนาการของการสื่อสารกาลังทา
ให้วิธีการทางานบางอย่างของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไป มีการใช้ข้อมูลมากขึ้น การแลกเปลี่ยน
ข้อมูลทาได้อย่างรวดเร็ว ด้วยเหตุนี้เองธุรกิจที่แข่งขันจาเป็นต้องใช้ข้อมูลเป็นจานวนมาก
เพื่อการตัดสินใจ และเพื่อให้บริการด้วยความสะดวกและรวดเร็ว
ยุคของสารสนเทศได้ก้าวหน้าและเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น มีการใช้บัตรเอทีเอ็ม บัตร
เครดิต การสื่อสารผ่านกระดานข่าว ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และอื่น ๆ นอกจากนี้ยังได้
ยินคาว่า ระบบสานักงานอัตโนมัติ ระบบอาคารอัจฉริยะ
หากพิจารณาอย่างลึกซึ้ง จะพบว่า ความสาเร็จของเทคโนโลยีทางด้านสารสนเทศ
เกือบทุกประเภท มีพื้นฐานมาจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล จนมีผู้
กล่าวว่า ยุคสารสนเทศในปัจจุบันฝากไว้กับเทคโนโลยีซีแอนซี (Computer and
Communication : C&C)
ระบบสานักงานอัตโนมัติกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนาเอาคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องต่อเชื่อมโยงให้มี
การสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน เหตุผลของการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าหากัน
เนื่องจากราคาของคอมพิวเตอร์ถูกลง และมีความต้องการเพิ่มขีดความสามารถของระบบ
โดยรวมเพราะอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียวก็ทางานได้ในตัวเองอย่างหนึ่ง แต่เมื่อ
ต่อรวมกันจะทางานได้เพิ่มขึ้นและสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันและแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างกัน ทาให้เกิดความสะดวกสบายในการใช้งาน และมีความรวดเร็วเพิ่มขึ้น
การทางานในสานักงานก็เช่นเดียวกัน จาเป็นต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
โต๊ะทางานแต่ละตัวจะเป็นเสมือนจุดหนึ่งของการประมวลผล การวิเคราะห์ การแยกแยะ
ข้อมูล แล้วส่งให้โต๊ะอื่นๆหรือหน่วยอื่น ๆ ต่อไป การเชื่อมโยงเครือข่ายทาให้เกิดเป็นระบบ
ประมวลผล หรือทาให้คอมพิวเตอร์หลายๆระบบเชื่อมเข้าด้วยกัน ระบบสานักงานอัตโนมัติ
จึงเป็นเรื่องของการประมวลผลในจุดต่าง ๆ แล้วส่งข้อมูลถึงกันผ่านทางเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สานักงานที่เชื่อมต่อเป็นเครือข่าย
ภายในสานักงานย่อมมีเครื่องใช้สานักงานต่าง ๆ ประกอบกันอยู่มาก ในสานักงานที่ยังไม่ได้
ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ต้องมีตู้เก็บเอกสารสาหรับเก็บแฟ้มข้อมูล มีเครื่องคิดเลข กระดาษ ดินสอ
การทางานก็มีแบบฟอร์มต่าง ๆ ที่ต้องกรอก ต้องประมวลผลหรือคิดคานวณการส่งเอกสารกระทา
โดยมีคนส่งหนังสือ การสรุปผล หรือทารายงานซึ่งมักจะเป็นงานที่ยุ่งยากเสียเวลา เช่น การสรุป
ยอดขาย หรือทาบัญชีต้องมีการกรอกข้อมูล คิดคานวณตัวเลขเป็นจานวนมาก
ในสานักงานที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ มีอุปกรณ์สานักงานช่วยอานวยความสะดวกมากมาย มี
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในงานพิมพ์ เรียกว่าการประมวลคา ส่วนที่ก้าวหน้าขึ้นไปก็เรียกว่า การ
จัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคิดคานวณและประมวลผล
เก็บข้อมูลลงสื่อตัวกลาง เช่น แผ่นบันทึก ฮาร์ดดิสก์ ข้อมูลที่จัดเก็บสามารถเรียกคืนมาใช้สรุปผล
สร้างรายงาน ทากราฟ การส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างกันก็ทาในรูปการสื่อสารข้อมูล ระบบการ
ทางานจึงเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายอย่างซึ่งสามารถผนวกเข้าหากันเป็นระบบ
เดียวกันได้อุปกรณ์สานักงานเหล่านี้ ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์
ตลอดจนอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดต่าง ๆ เมื่อนามาเชื่อมโยงเข้ากันเป็นเครือข่ายจะทาให้ตรวจสอบ
ระบบต่าง ๆ ได้เช่น ตรวจวัดอุณหภูมิ ความชื้น ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบการนับจานวน
เป็นต้น การเชื่อมโยงเหล่านี้ก็เพื่อให้มีการส่งถ่ายหรือรับข้อมูลได้อย่างอัตโนมัติ
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล
1.ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของ
การสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
2.ผู้รับ (Receiver)เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้เช่น
ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
3.สื่อกลาง (Medium)หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้น
ทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือ
คลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่าน
ดาวเทียม
4.ข้อมูลข่าวสาร (Message)คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร
ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information)
5.โปรโตคอล (Protocol)คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกัน
ไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การ
ดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC,
HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
ชนิดของสัญญาณข้อมูล สามารถจาแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ
สัญญาณแอนะล็อก (analog signal)
เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละ
คลื่นจะมีความถีและความเข้มของสัญญาณที่แตกต่างกัน เมื่อนาสัญญาณ ข้อมูลเหล่านี้มา
ผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปรงสัญญาณ ก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการได้ ตัวอย่างของการส่ง
ข้อมูลที่มีสัญญาณแบบแอนะล็อกคือ การส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์
สัญญาณดิจิตอล (digital signal)
สัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปแบบของสัญญาณมีความ
เปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่อสาร ด้วยสัญญาณ
ดิจิตอล ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเลขฐานสอง (0 และ 1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณ
ดิจิตอล การแทนข้อมูลดิจิตอลด้วยสัญญาณดิจิตอล มีหลายแบบ แบบที่แสดงไว้ในรูปที่
6.4 เรียกว่า Unipolar เป็นวิธีที่แทนบิตข้อมูล 0 ด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นกลาง และ
บิตข้อมูล 1 ด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นบวก
วิธีการสื่อสารข้อมูล (DATATRANSMISSION)
ลักษณะของการสื่อสารข้อมูล มี 2 รูปแบบคือ
1. การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรม (serial data transmission) เป็นการ
ส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิต ไปบนสัญญาณจนครบจานวนข้อมูลที่มีอยู่ สามารถนาไปใช้
กับสื่อนาข้อมูลที่มีเพียง1ช่องสัญญาณได้สื่อนาข้อมูลที่มี 1 ช่องสัญญาณนี้จะมีราคา
ถูกกว่าสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ และเนื่องจากการสื่อสารแบบอนุกรมมีการ
ส่งข้อมูลได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น การส่งข้อมูลประเภทนี้จึงช้ากว่าการส่งข้อมูลครั้งละ
หลายบิต
2. การสื่อสารข้อมูลแบบขนาน (parallel data transmission)
เป็นการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิตขนานกันไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ
วิธีนี้จะเป็นวิธีการส่งข้อมูลที่เร็วกว่าการส่งข้อมูลแบบอนุกรมจากรูป เป็นการแสดง
การสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัว ที่มีการส่งข้อมูลแบบขนาน โดยส่งข้อมูลครั้ง
ละ 8 บิตพร้อมกัน
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล (MODES OF DATATRANSMISSION)
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ (asynchronous transmission)
เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุดๆมีช่องว่าง
(gap) อยู่ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็นชุดๆเมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมีสีญญาณ
บอกจุดเริ่มต้นของข้อมูลขนาด 1 บิต (start bit) และมีสัญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 บิต
(stop bit) ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูลจะมีลาดับ
ดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นขนาด 1 บิตข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอกจุดสิ้นสุด 1 บิต ตัวอย่างการส่ง
ข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ เช่น การส่งข้อมูล ของแป้นพิมพ์ และโมเด็ม เป็นต้น
2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission)
เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้
สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอกจังหวะ เหล่านั้นการส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่องว่าง(gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละชุด
และไม่มีสัญญาณบอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดการส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะนิยมใช้กับการส่งข้อมูล ของ
ระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีการส่งข้อมูล ปริมาณมากๆ ด้วยความเร็วสูง
ทิศทางการส่งข้อมูล ( TRANSMISSION MODE )
การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกทิศทางการส่งข้อมูลเป็น 3 รูปแบบดังนี้
1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว ( simplex transmission )เป็นการสื่อสารข้อมูลที่
ทาหน้าที่ส่งเพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูลก็ทาหน้าที่รับข้อมูลเพียงอย่างเดียวด้วยเช่นเดียวกัน
การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่นการส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์
จะทาหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทาหน้าที่ รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน
2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ( half-duplex transmission )
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่ง
และผู้รับข้อมูล จะเป็นผู้ส่งข้อมูลพร้อมกัน ทั้งสองฝ่ายไม่ได้ลักษณะการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น การ
สื่อสารแบบวิทยุสื่อสาร ซึ่งผู้ที่จะส่งข้อมูลที่จะส่งข้อมูลต้องกดปุ่มเพื่อส่งข้อมูล ในขณะนั้นผู้อื่นจะ
เป็นผู้รับข้อมูล
3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน( full- duplex transmission )
เป็นการสื่อสารข้อมูลทีมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถ
เป็นผู้ส่งและผู้รับได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถ ส่งข้อมูลได้พร้อมกัน ลักษณะการส่งข้อมูลแบบ
สองทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์ ซึ่งทั้งสอองฝ่ายสามารถพูดพร้อมกันได้ใน
เวลาเดียวกัน
ตัวกลางการสื่อสาร (COMMUNICATION MEDIA)
1. สายคู่บิตเกลียว ( twisted-pair cable )
สายคู่บิตเกลียว เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้า สายแต่ละเส้น จานวนสายจะมีเป็นคู่เช่น 2 ,4 หรือ 6 เส้น
แต่ละคู่จะมีการพันบิดกันเป็นเกลียว การบิดเกลียวนี้จะช่วยลดสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในการส่งข้อมูล ทาให้
สามารถส่งข้อมูลได้ไกลกว่าปกติ สายสัญญาณคู่บิดเกลียวมีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ100Hz
2. สายโคแอกเชียล ( coaxial cable )
สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้า มีความถี่ใน การส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 500
MHz สายโคแอกเชียลมีความเร็ว ในการส่งข้อมูลและมีราคาสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว ลักษณะของสายโคแอก
เชียล เป็นสายนาสัญญาณที่มีฉนวนหุ้มเป็นชั้นๆ หลายชั้นสลับกับตัวโลหะตัวนาโลหะชั้นในทาหน้าที่ส่ง
สัญญาณ ส่วนตัวนาโลหะชั้นนอกทาหน้าที่เป็นสายดิน และเป็นเกราะป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก ทา
ให้มีสัญญาณรบกวนตัวนาชั้นในน้อย จึงส่งข้อมูลได้ในระยะไกล
3. สายใยแก้วนาแสง ( optical fiber cable )
สายสัญญาณทาจากใยแก้วหรือสารนาแสงห่อหุ้มวัสดุป้องกันแสง มีความเร็วในการส่งข้อมูลเท่ากับความเร็ว
แสง สามารถใช้ในการส่งข้อมูล ที่มีความถี่สูงได้สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือแสง และสัญญา
รบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจากภายนอก ดังนั้นสายใย แก้วนาแสงที่มีสภาพดี จะมี
สัญญาณรบกวนน้อยมาก สายใยแก้วนาแสงมีราคาค่อนข้างสูงและดูแลรักษายากจึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมสาหรับ
การใช้งานสื่อสารทั่วๆ ไปในองค์การขนาดเล็ก หรือในการสื่อสารที่ไม่ต้องการความเร็วสูง
สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย(Wireless Media)
การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย จะใช้อากาศเป็นตัวกลางของการสื่อสาร เช่น
สัญญาณวิทยุ (RadioWave)สัญญาณวิทยุเป็นสื่อประเภทไร้สาย (WirelessMedia) ที่
มีการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณคลื่นวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ จึงทาให้ถูกสภาพแวดล้อมรบกวนข้อมูล
ได้ในระยะทางไกล หรือในสภาพภูมิประเทศที่ไม่เอื้ออานวยในการใช้สายส่งข้อมูล
ไมโครเวฟภาพพื้นดิน (Terrestrial Microwave) ไมโครเวฟภาคพื้นดิน เป็นการ
สื่อสารโดยใช้สื่อนาข้อมูลแบบไร้สายอีกประเภทหนึ่ง การสื่อสารประเภทนี้จะมีเสาส่งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่
ห่างๆ กันทาการส่งข้อมูลไปในอากาศไปยังเสารับข้อมูล ในกรณีที่ระยะทางห่างกันมาก
การสื่อสารผ่านดาวเทียม (satellite communication)
การสื่อสารผ่านดาวเทียม เป็นการสื่อสารจากพื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดยดาวเทียมจะ
ทาหน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณ เพื่อจัดส่งสัญญาณต่อไปยังสถานีภาคพื้นดินอื่นๆ ระยะทางจากโลกถึง
ดาวเทียมประมาณ 22,000 ไมล์ ซึ่งเป็นระยะทางที่ไกลมาก ทาให้ข้อมูลที่ส่งไปยังดาวเทียมเกิดความล่าช้าขึ้น
ได้โดยเฉลี่ยความล่าช้าที่เกิดขึ้นมีค่าประมาณ 2 วินาที การส่งข้อมูลวิธีนี้จะทาให้ส่งข้อมูลที่มีระยะทางไกล
มากๆ ได้การสื่อสารผ่านดาวเทียมนิยมใช้สาหรับการสื่อสารระหว่างประเทศ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
Nattapon
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
Nattapon
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Sirinat Sansom
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอม
Nattanaree
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Piyanoot Ch
 

Was ist angesagt? (18)

Network
NetworkNetwork
Network
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 

Andere mochten auch

Noorul Hakeem Ambalan
Noorul Hakeem AmbalanNoorul Hakeem Ambalan
Noorul Hakeem Ambalan
Noorul Hakeem
 
Week 2 Exploration -Storyboard
Week 2 Exploration -StoryboardWeek 2 Exploration -Storyboard
Week 2 Exploration -Storyboard
dallesandra
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
ratiporn555
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
ratiporn555
 
Formatted Snappy Sushi
Formatted Snappy SushiFormatted Snappy Sushi
Formatted Snappy Sushi
Marisa Weiner
 
Risk and Insurance Management Society Applauds TRIA Extension
Risk and Insurance Management Society Applauds TRIA ExtensionRisk and Insurance Management Society Applauds TRIA Extension
Risk and Insurance Management Society Applauds TRIA Extension
Alan Reisch
 

Andere mochten auch (20)

Noorul Hakeem Ambalan
Noorul Hakeem AmbalanNoorul Hakeem Ambalan
Noorul Hakeem Ambalan
 
Week 2 Exploration -Storyboard
Week 2 Exploration -StoryboardWeek 2 Exploration -Storyboard
Week 2 Exploration -Storyboard
 
Jenny - Making your site better with EAT
Jenny - Making your site better with EATJenny - Making your site better with EAT
Jenny - Making your site better with EAT
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
Lifang Rendering Samples
Lifang Rendering SamplesLifang Rendering Samples
Lifang Rendering Samples
 
Sistema solar
Sistema solarSistema solar
Sistema solar
 
Calum from Big Surf Digital - keeping safe from penalties
Calum from Big Surf Digital - keeping safe from penaltiesCalum from Big Surf Digital - keeping safe from penalties
Calum from Big Surf Digital - keeping safe from penalties
 
Medical
Medical Medical
Medical
 
Resume Tahir
Resume TahirResume Tahir
Resume Tahir
 
Katalog Oriflame Mei 2015
Katalog Oriflame Mei 2015Katalog Oriflame Mei 2015
Katalog Oriflame Mei 2015
 
CAMM_04252013
CAMM_04252013CAMM_04252013
CAMM_04252013
 
Prestige tech park III
Prestige tech park IIIPrestige tech park III
Prestige tech park III
 
Formatted Snappy Sushi
Formatted Snappy SushiFormatted Snappy Sushi
Formatted Snappy Sushi
 
Contenidos
ContenidosContenidos
Contenidos
 
Asperger's Jupiter Fl
Asperger's Jupiter FlAsperger's Jupiter Fl
Asperger's Jupiter Fl
 
3 ways to kill your brand- Mhairi MacLeod
3 ways to kill your brand- Mhairi MacLeod3 ways to kill your brand- Mhairi MacLeod
3 ways to kill your brand- Mhairi MacLeod
 
Katalog Oriflame Desember 2015
Katalog Oriflame Desember 2015Katalog Oriflame Desember 2015
Katalog Oriflame Desember 2015
 
Risk and Insurance Management Society Applauds TRIA Extension
Risk and Insurance Management Society Applauds TRIA ExtensionRisk and Insurance Management Society Applauds TRIA Extension
Risk and Insurance Management Society Applauds TRIA Extension
 
FIU_Presentation
FIU_PresentationFIU_Presentation
FIU_Presentation
 

Ähnlich wie หน่วยที่ 8

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
ScholarBas Tanaporn
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
Pokypoky Leonardo
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
GRimoho Siri
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
Mareeyalosocity
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
noooom
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
chukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
chukiat008
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
Beauso English
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ป.ปลา ตากลม
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
TuaLek Kitkoot
 

Ähnlich wie หน่วยที่ 8 (20)

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 

Mehr von ratiporn555

หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
ratiporn555
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
ratiporn555
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
ratiporn555
 
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7
ratiporn555
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
ratiporn555
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
ratiporn555
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
ratiporn555
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
ratiporn555
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
ratiporn555
 

Mehr von ratiporn555 (9)

หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

หน่วยที่ 8

  • 2. แนวคิด การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จะต้องอาศัยสื่อกลางในการรับข้อมูล จากผู้ส่งต้นทางไปยังผู้รับปลายทาง ซึ่งก็คือเครื่องหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วน สื่อกลางที่ใช้ในการรับส่งข้อมูล ในปัจจุบันมีอยู่ 2 ประเภทหลักประเภทแรกเป็น สื่อกลางหรืออุปกรณ์ทางสาย อีกประเภทเป็นอุปกรณ์ไร้สาย ดังนั้น การเรียนรู้เพื่อทา ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์รับส่งข้อมูลแต่ละประเภท รวมทั้งอุปกรณ์ส่งข้อมูลใน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงเป็นเรื่องที่จาเป็นเพื่อนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ
  • 3. สาระการเรียนรู้ บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูลระดับเครือข่าย การสื่อสารข้อมูลกับระบบสานักงานอัตโนมัติ องค์ประกอบของการสื่อสาร ชนิดของสัญญาณข้อมูล การเชื่อมต่อสายสื่อสาร วิธีการสื่อสารข้อมูล รูปแบบการสื่อสารข้อมูล ทิศทางการส่งข้อมูล ตัวกลางการสื่อสาร อุปกรณ์การสื่อสารข้อมูล กระบวนการสื่อสารที่ประสบผลสาเร็จ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง บอกบทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ อธิบายองค์ประกอบ ชนิด การเชื่อมต่อ วิธีการ รูปแบบ ทิศทาง ตัวกลางและอุปกรณ์ของการสื่อสารได้ บอกกระบวนการสื่อสารที่ทาให้ประสบผลสาเร็จในการสื่อสารได้
  • 4. บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การติดต่อสื่อสารข้อมูลสมัยนี้ มีรากฐานมาจากความพยายามในการเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยระบบสื่อสารที่มีอยู่แล้ว เช่น โทรศัพท์ ดังนั้นการสื่อสาร ข้อมูลจึงอยู่ในขอบเขตที่จากัด ต่อมาเมื่อมีการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้น ความต้องการในการติดจ่อ ระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน ที่เรียกว่า ระบบเครือข่าย (Network) ได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้นเป็นลาดับ ในตอนเริ่มจ้นของยุคสื่อสาร เมื่อประมาณ พ.ศ.2513-2515 ความต้องการใช้ คอมพิวเตอร์ร่วมกันมีมากขึ้น แต่คอมพิวเตอร์ยังมีราคาสูงมาก เมื่อเทียบกับอุปกรณ์สื่อสารที่มีอยู่ แล้วบางอย่าง การสื่อสารด้วยระบบเครือข่ายในระยะนั้นจึงเน้นการใช้คอมพิวเตอร์ที่ศูนย์ คอมพิวเตอร์เป็นผู้ให้บริการแก่ผู้ใช้ปลายทางหลายคน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายของระบบ ต่อมาเมื่อถึงยุคสมัยของไมโครคอมพิวเตอร์ พบว่าขีดความสามารถในด้านความเร็วของ การทางานของเมนเฟรม มีความเร็วมมากกว่า 10 เท่า เมื่อเทียบกับไมโครคอมพิวเตอร์ตัวที่ดีที่ สุดแต่ราคาของเมนเฟรมแพงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์หลายพันเท่า การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์จึง แพร่หลายและกระจายออกไป การสื่อสารจึงกลายเป็นระบบเครือข่ายแบบกระจาย กล่าวคือแมนที่ จะออกแบบให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางต่อกับเมนเฟรม ก็เปลี่ยนเป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ คอมพิวเตอร์ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์แทน
  • 5. การสื่อสารข้อมูลระดับเครือข่าย การส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายจาเป็นต้องมีมาตรฐานกลาง ที่ทาให้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างรุ่นต่างยี่ห้อทุกเครื่องหรือทุกระบบสามารถเชื่อมโยงกันได้ ในระบบเครือข่าย จะมีการดาเนินงานพื้นฐานต่างๆ เช่น การรับส่งข้อมูล การเข้าใช้งานเครือข่าย การพิมพ์งานโดยใช้อุปกรณ์ ของเครือข่าย เป็นต้น องค์กรว่าด้วยมาตรฐานระหว่างประเทศจึงได้กาหนดมาตรฐานการจัดระบบการ เชื่อมต่อสื่อสารเปิด(Open System Interconnection : OSI ) แบ่งเป็น 7 ขั้น ตามลาดับ ซึ่งเป็นแนวคิดในการสร้างเครือข่ายเพื่อจัดแบ่งการดาเนินงานพื้นฐานของเครือข่ายออกเป็นงาน ย่อย ทาให้การออกแบบและใช้งานเครือข่าย รวมทั้งการติดต่อเชื่อมโยงเป็นไปด้วยความสะดวก มีวิธี ปฏิบัติในกรอบเดียวกัน
  • 6. การสื่อสารข้อมูลกับระบบสานักงานอัตโนมัติ ในช่วงระยะเวลาเพียง 20 ปีที่ผ่านมา พบว่าพัฒนาการเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์และการสื่อสารส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมและสภาพความเป็นอยู่ของ มนุษย์ และทาให้โลกพัฒนาเข้าสู่ยุคของสารสนเทศ ปัจจุบันไม่ว่าจะอยู่ที่ส่วนใดของโลกก็ สามารถติดต่อโทรศัพท์พูดคุยกันได้เสมือนว่าอยู่ใกล้กัน พัฒนาการของการสื่อสารกาลังทา ให้วิธีการทางานบางอย่างของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไป มีการใช้ข้อมูลมากขึ้น การแลกเปลี่ยน ข้อมูลทาได้อย่างรวดเร็ว ด้วยเหตุนี้เองธุรกิจที่แข่งขันจาเป็นต้องใช้ข้อมูลเป็นจานวนมาก เพื่อการตัดสินใจ และเพื่อให้บริการด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ยุคของสารสนเทศได้ก้าวหน้าและเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น มีการใช้บัตรเอทีเอ็ม บัตร เครดิต การสื่อสารผ่านกระดานข่าว ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และอื่น ๆ นอกจากนี้ยังได้ ยินคาว่า ระบบสานักงานอัตโนมัติ ระบบอาคารอัจฉริยะ หากพิจารณาอย่างลึกซึ้ง จะพบว่า ความสาเร็จของเทคโนโลยีทางด้านสารสนเทศ เกือบทุกประเภท มีพื้นฐานมาจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล จนมีผู้ กล่าวว่า ยุคสารสนเทศในปัจจุบันฝากไว้กับเทคโนโลยีซีแอนซี (Computer and Communication : C&C)
  • 7. ระบบสานักงานอัตโนมัติกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนาเอาคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องต่อเชื่อมโยงให้มี การสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน เหตุผลของการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าหากัน เนื่องจากราคาของคอมพิวเตอร์ถูกลง และมีความต้องการเพิ่มขีดความสามารถของระบบ โดยรวมเพราะอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียวก็ทางานได้ในตัวเองอย่างหนึ่ง แต่เมื่อ ต่อรวมกันจะทางานได้เพิ่มขึ้นและสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างกัน ทาให้เกิดความสะดวกสบายในการใช้งาน และมีความรวดเร็วเพิ่มขึ้น การทางานในสานักงานก็เช่นเดียวกัน จาเป็นต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โต๊ะทางานแต่ละตัวจะเป็นเสมือนจุดหนึ่งของการประมวลผล การวิเคราะห์ การแยกแยะ ข้อมูล แล้วส่งให้โต๊ะอื่นๆหรือหน่วยอื่น ๆ ต่อไป การเชื่อมโยงเครือข่ายทาให้เกิดเป็นระบบ ประมวลผล หรือทาให้คอมพิวเตอร์หลายๆระบบเชื่อมเข้าด้วยกัน ระบบสานักงานอัตโนมัติ จึงเป็นเรื่องของการประมวลผลในจุดต่าง ๆ แล้วส่งข้อมูลถึงกันผ่านทางเครือข่าย คอมพิวเตอร์
  • 8. อุปกรณ์สานักงานที่เชื่อมต่อเป็นเครือข่าย ภายในสานักงานย่อมมีเครื่องใช้สานักงานต่าง ๆ ประกอบกันอยู่มาก ในสานักงานที่ยังไม่ได้ ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ต้องมีตู้เก็บเอกสารสาหรับเก็บแฟ้มข้อมูล มีเครื่องคิดเลข กระดาษ ดินสอ การทางานก็มีแบบฟอร์มต่าง ๆ ที่ต้องกรอก ต้องประมวลผลหรือคิดคานวณการส่งเอกสารกระทา โดยมีคนส่งหนังสือ การสรุปผล หรือทารายงานซึ่งมักจะเป็นงานที่ยุ่งยากเสียเวลา เช่น การสรุป ยอดขาย หรือทาบัญชีต้องมีการกรอกข้อมูล คิดคานวณตัวเลขเป็นจานวนมาก ในสานักงานที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ มีอุปกรณ์สานักงานช่วยอานวยความสะดวกมากมาย มี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในงานพิมพ์ เรียกว่าการประมวลคา ส่วนที่ก้าวหน้าขึ้นไปก็เรียกว่า การ จัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคิดคานวณและประมวลผล เก็บข้อมูลลงสื่อตัวกลาง เช่น แผ่นบันทึก ฮาร์ดดิสก์ ข้อมูลที่จัดเก็บสามารถเรียกคืนมาใช้สรุปผล สร้างรายงาน ทากราฟ การส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างกันก็ทาในรูปการสื่อสารข้อมูล ระบบการ ทางานจึงเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายอย่างซึ่งสามารถผนวกเข้าหากันเป็นระบบ เดียวกันได้อุปกรณ์สานักงานเหล่านี้ ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ ตลอดจนอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดต่าง ๆ เมื่อนามาเชื่อมโยงเข้ากันเป็นเครือข่ายจะทาให้ตรวจสอบ ระบบต่าง ๆ ได้เช่น ตรวจวัดอุณหภูมิ ความชื้น ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบการนับจานวน เป็นต้น การเชื่อมโยงเหล่านี้ก็เพื่อให้มีการส่งถ่ายหรือรับข้อมูลได้อย่างอัตโนมัติ
  • 9. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล 1.ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของ การสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น 2.ผู้รับ (Receiver)เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น 3.สื่อกลาง (Medium)หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้น ทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือ คลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่าน ดาวเทียม 4.ข้อมูลข่าวสาร (Message)คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) 5.โปรโตคอล (Protocol)คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกัน ไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การ ดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น
  • 10. ชนิดของสัญญาณข้อมูล ชนิดของสัญญาณข้อมูล สามารถจาแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ สัญญาณแอนะล็อก (analog signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละ คลื่นจะมีความถีและความเข้มของสัญญาณที่แตกต่างกัน เมื่อนาสัญญาณ ข้อมูลเหล่านี้มา ผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปรงสัญญาณ ก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการได้ ตัวอย่างของการส่ง ข้อมูลที่มีสัญญาณแบบแอนะล็อกคือ การส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์ สัญญาณดิจิตอล (digital signal) สัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปแบบของสัญญาณมีความ เปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่อสาร ด้วยสัญญาณ ดิจิตอล ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเลขฐานสอง (0 และ 1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณ ดิจิตอล การแทนข้อมูลดิจิตอลด้วยสัญญาณดิจิตอล มีหลายแบบ แบบที่แสดงไว้ในรูปที่ 6.4 เรียกว่า Unipolar เป็นวิธีที่แทนบิตข้อมูล 0 ด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นกลาง และ บิตข้อมูล 1 ด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นบวก
  • 11. วิธีการสื่อสารข้อมูล (DATATRANSMISSION) ลักษณะของการสื่อสารข้อมูล มี 2 รูปแบบคือ 1. การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรม (serial data transmission) เป็นการ ส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิต ไปบนสัญญาณจนครบจานวนข้อมูลที่มีอยู่ สามารถนาไปใช้ กับสื่อนาข้อมูลที่มีเพียง1ช่องสัญญาณได้สื่อนาข้อมูลที่มี 1 ช่องสัญญาณนี้จะมีราคา ถูกกว่าสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ และเนื่องจากการสื่อสารแบบอนุกรมมีการ ส่งข้อมูลได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น การส่งข้อมูลประเภทนี้จึงช้ากว่าการส่งข้อมูลครั้งละ หลายบิต 2. การสื่อสารข้อมูลแบบขนาน (parallel data transmission) เป็นการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิตขนานกันไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ วิธีนี้จะเป็นวิธีการส่งข้อมูลที่เร็วกว่าการส่งข้อมูลแบบอนุกรมจากรูป เป็นการแสดง การสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัว ที่มีการส่งข้อมูลแบบขนาน โดยส่งข้อมูลครั้ง ละ 8 บิตพร้อมกัน
  • 12. รูปแบบการสื่อสารข้อมูล (MODES OF DATATRANSMISSION) รูปแบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ (asynchronous transmission) เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุดๆมีช่องว่าง (gap) อยู่ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็นชุดๆเมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมีสีญญาณ บอกจุดเริ่มต้นของข้อมูลขนาด 1 บิต (start bit) และมีสัญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 บิต (stop bit) ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูลจะมีลาดับ ดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นขนาด 1 บิตข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอกจุดสิ้นสุด 1 บิต ตัวอย่างการส่ง ข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ เช่น การส่งข้อมูล ของแป้นพิมพ์ และโมเด็ม เป็นต้น 2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission) เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้ สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอกจังหวะ เหล่านั้นการส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่องว่าง(gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละชุด และไม่มีสัญญาณบอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดการส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะนิยมใช้กับการส่งข้อมูล ของ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีการส่งข้อมูล ปริมาณมากๆ ด้วยความเร็วสูง
  • 13. ทิศทางการส่งข้อมูล ( TRANSMISSION MODE ) การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกทิศทางการส่งข้อมูลเป็น 3 รูปแบบดังนี้ 1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว ( simplex transmission )เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ ทาหน้าที่ส่งเพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูลก็ทาหน้าที่รับข้อมูลเพียงอย่างเดียวด้วยเช่นเดียวกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่นการส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์ จะทาหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทาหน้าที่ รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน 2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ( half-duplex transmission ) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่ง และผู้รับข้อมูล จะเป็นผู้ส่งข้อมูลพร้อมกัน ทั้งสองฝ่ายไม่ได้ลักษณะการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น การ สื่อสารแบบวิทยุสื่อสาร ซึ่งผู้ที่จะส่งข้อมูลที่จะส่งข้อมูลต้องกดปุ่มเพื่อส่งข้อมูล ในขณะนั้นผู้อื่นจะ เป็นผู้รับข้อมูล 3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน( full- duplex transmission ) เป็นการสื่อสารข้อมูลทีมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถ เป็นผู้ส่งและผู้รับได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถ ส่งข้อมูลได้พร้อมกัน ลักษณะการส่งข้อมูลแบบ สองทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์ ซึ่งทั้งสอองฝ่ายสามารถพูดพร้อมกันได้ใน เวลาเดียวกัน
  • 14. ตัวกลางการสื่อสาร (COMMUNICATION MEDIA) 1. สายคู่บิตเกลียว ( twisted-pair cable ) สายคู่บิตเกลียว เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้า สายแต่ละเส้น จานวนสายจะมีเป็นคู่เช่น 2 ,4 หรือ 6 เส้น แต่ละคู่จะมีการพันบิดกันเป็นเกลียว การบิดเกลียวนี้จะช่วยลดสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในการส่งข้อมูล ทาให้ สามารถส่งข้อมูลได้ไกลกว่าปกติ สายสัญญาณคู่บิดเกลียวมีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ100Hz 2. สายโคแอกเชียล ( coaxial cable ) สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้า มีความถี่ใน การส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 500 MHz สายโคแอกเชียลมีความเร็ว ในการส่งข้อมูลและมีราคาสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว ลักษณะของสายโคแอก เชียล เป็นสายนาสัญญาณที่มีฉนวนหุ้มเป็นชั้นๆ หลายชั้นสลับกับตัวโลหะตัวนาโลหะชั้นในทาหน้าที่ส่ง สัญญาณ ส่วนตัวนาโลหะชั้นนอกทาหน้าที่เป็นสายดิน และเป็นเกราะป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก ทา ให้มีสัญญาณรบกวนตัวนาชั้นในน้อย จึงส่งข้อมูลได้ในระยะไกล 3. สายใยแก้วนาแสง ( optical fiber cable ) สายสัญญาณทาจากใยแก้วหรือสารนาแสงห่อหุ้มวัสดุป้องกันแสง มีความเร็วในการส่งข้อมูลเท่ากับความเร็ว แสง สามารถใช้ในการส่งข้อมูล ที่มีความถี่สูงได้สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือแสง และสัญญา รบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจากภายนอก ดังนั้นสายใย แก้วนาแสงที่มีสภาพดี จะมี สัญญาณรบกวนน้อยมาก สายใยแก้วนาแสงมีราคาค่อนข้างสูงและดูแลรักษายากจึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมสาหรับ การใช้งานสื่อสารทั่วๆ ไปในองค์การขนาดเล็ก หรือในการสื่อสารที่ไม่ต้องการความเร็วสูง
  • 15. สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย(Wireless Media) การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย จะใช้อากาศเป็นตัวกลางของการสื่อสาร เช่น สัญญาณวิทยุ (RadioWave)สัญญาณวิทยุเป็นสื่อประเภทไร้สาย (WirelessMedia) ที่ มีการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณคลื่นวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ จึงทาให้ถูกสภาพแวดล้อมรบกวนข้อมูล ได้ในระยะทางไกล หรือในสภาพภูมิประเทศที่ไม่เอื้ออานวยในการใช้สายส่งข้อมูล ไมโครเวฟภาพพื้นดิน (Terrestrial Microwave) ไมโครเวฟภาคพื้นดิน เป็นการ สื่อสารโดยใช้สื่อนาข้อมูลแบบไร้สายอีกประเภทหนึ่ง การสื่อสารประเภทนี้จะมีเสาส่งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่ ห่างๆ กันทาการส่งข้อมูลไปในอากาศไปยังเสารับข้อมูล ในกรณีที่ระยะทางห่างกันมาก การสื่อสารผ่านดาวเทียม (satellite communication) การสื่อสารผ่านดาวเทียม เป็นการสื่อสารจากพื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดยดาวเทียมจะ ทาหน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณ เพื่อจัดส่งสัญญาณต่อไปยังสถานีภาคพื้นดินอื่นๆ ระยะทางจากโลกถึง ดาวเทียมประมาณ 22,000 ไมล์ ซึ่งเป็นระยะทางที่ไกลมาก ทาให้ข้อมูลที่ส่งไปยังดาวเทียมเกิดความล่าช้าขึ้น ได้โดยเฉลี่ยความล่าช้าที่เกิดขึ้นมีค่าประมาณ 2 วินาที การส่งข้อมูลวิธีนี้จะทาให้ส่งข้อมูลที่มีระยะทางไกล มากๆ ได้การสื่อสารผ่านดาวเทียมนิยมใช้สาหรับการสื่อสารระหว่างประเทศ