SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 36
Downloaden Sie, um offline zu lesen
งานวิจัย
  	       ประเภทขยะส่วนใหญ่เป็นถุงพลาสติก สอดคล้องกับสมบัติ ชมพูน้อย (2550 )พบว่าขยะที่เหลือจากครัว
เรือนส่วนใหญ่เป็นขยะประเภทพลาสติก เศษถุงพลาสติก และกล่องโฟมซึ่งแตกต่างการการศึกษาของ กรรณิกา
พุ่มมาก ( 2547) ขยะส่วนใหญ่ประกอบด้วยขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะเป็นพิษ และขยะอันตรายการที่ผลการวิจัย
ปรากฏเช่นนี้อาจเนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศของท้องถิ่นมีความส�ำคัญต่อการเกิดมูลฝอยเป็นอย่างมากเพราะมี
ส่วนส�ำคัญต่อการประกอบอาชีพหลักของประชาชนในท้องถิ่นนั้นและท�ำให้มีผลแตกต่างของการเกิดมูลฝอยทั้งใน
ด้านปริมาณและองค์ประกอบ
	         ขยะที่รีไซเคิลได้ ก�ำจัดโดยเก็บไว้ขายและทิ้งในที่ทิ้งขยะชุมชน สอดคล้องกับผกาวรรณ อินทวงษา
( 2550 )การก�ำจัดขยะแต่ละประเภทหากเป็นขยะที่ขายได้เช่นกระดาษ ขวดแก้ว ขวดพลาสติก ก�ำจัดโดยการเก็บ
ขายที่ผลการวิจัยปรากฏเช่นนี้อาจเนื่องมาจากลักษณะนิสัยของประชาชนในท้องถิ่นถ้ามีความรักความสะอาดมี
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ก็มกจะมีการเก็บรวบรวมมูลฝอยให้เป็นทีเ่ ป็นทางไม่ทงเกลือนกลาด ซึงอาจท�ำให้ปริมาณ
                              ั                                           ิ้ ่          ่
มูลฝอยมีมากขึ้น แต่ถ้ามีความรู้จักประหยัดมัธยัธถ์รวมถึงถ้ามีการอบรมให้มีการแยกประเภทขยะมูลฝอย เพื่อน� ำ
กลับมาใช้ประโยชน์จะท�ำให้ปริมาณของมูลฝอยลดน้อยลง

บทสรุป (Conclusion)
	               การวิจยครังนีมวตถุประสงค์เพือศึกษาปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชมชุนฉวะโคกเลาะ
                      ั ้ ้ีั               ่
กลุ่มตัวอย่างได้แก่ครัวเรือนที่อาศัยอยู่จริงที่บ้านฉวะ หมู่ 4 หมู่ 5 หมู่ 10 บ้านโคกเลาะหมู่ 6 อ�ำเภอหนองพอก
จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 118 ครัวเรือน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random)
เครืองมือทีใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสังเกตและสัมภาษณ์การจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนชุมชนฉวะ-โคกเลาะ
      ่       ่
ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .84 ค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.36 ถึง 0.79 ค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.29
ถึง 0.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
	               ผลการวิจัยพบว่าประชาชนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 45.72 ปี สถานภาพโสด จบการศึกษาระดับ
ประถมศึกษา อาชีพไม่มีอาชีพ สถานภาพในครอบครัวเป็นหัวหน้าครอบครัว รายได้เฉลี่ย 5,000 บาทต่อเดือนและ
จ�ำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4 คน ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 52.5 มีทัศนคติในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 99.2
ครัวเรือนส่วนใหญ่ไม่ได้ขายของ คิดเป็นร้อยละ 81.36 ปริมาณขยะเฉลี่ยต่อวัน 0.88 กิโลกรัม ประเภทขยะส่วน
ใหญ่เป็นถุงพลาสติก คิดเป็นร้อยละ 97.46 มีวิธีการก�ำจัดขยะ คือขยะเปียกก�ำจัดด้วยวิธีการน�ำไปเลี้ยงสัตว์ และ
ทิ้งในที่ทิ้งขยะชุมชน ขยะแห้งและถุงพลาสติกก�ำจัดด้วยวิธีการเผา ขยะที่รีไซเคิลได้ก�ำจัดโดยเก็บไว้ขายและทิ้งใน
ที่ทิ้งขยะชุมชน และขยะอันตรายก�ำจัดด้วยการฝัง
	               ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
	               1.	 จากการวิจยพบว่าประชาชนยังขาดความรูในเรืองการเลือกซืออาหารทีใช้ภาชนะบรรจุเช่นถุงพลาสติก
                              ั                            ้ ่              ้       ่
เพื่อความสะดวกและง่ายต่อการก�ำจัด ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริมให้ความรู้แก่ประชาชนในการเลือกใช้
ภาชะที่บรรจุอาหารเช่น อาจใช้ใบตองห่อแทนถุงพลาสติกหรือเลือกใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าไปตลาดแทน
	               2.	 จากการวิจยพบว่าปริมาณขยะเฉลียต่อวันประมาณ 1 กิโลกรัม ชุมชนฉวะโคกเลาะมีครัวเรือนทังหมด
                                ั                   ่                                                    ้
481 ครัวเรือน ใน 1 วันจะมีปริมาณขยะเกิดขึ้นประมาณ 481 กิโลกรัมหรือประมาณครึ่งตันต่อวันหากขยะเหล่านี้
ไม่ได้รบการจัดการทีถกวิธอาจท�ำให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชน ซึงอาจก่อให้เกิดโรคต่างๆเป็นภัยต่อสุขภาพของ
        ั               ู่ ี                                          ่
ประชาชนในชุมชนได้
                                                                                                        101
3.	 จากการวิจัยพบว่าขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนส่วนใหญ่เป็นถุงพลาสติกซึ่งยากต่อการย่อยสลาย แต่คนใน
ชุมชนก�ำจัดโดยวิธีการเผาซึ่งเป็นวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่เหมาะสม หากไม่มีการแก้ไขที่ถูกต้อง อาจเกิดเป็น
ปัญหามลพิษในชุมชนได้			
			

	       ข้อเสนอแนะส�ำหรับการศึกษาครั้งต่อไป
	       ควรมีการศึกษาความต้องการการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนเพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนในการแก้ไขปัญหา
ขยะมูลฝอยในชุมชนต่อไป

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement)
	            งานวิจัยฉบับนี้ส�ำเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก คุณประสิทธิ์ มณีโสม นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ ที่
ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ อ่านและตรวจแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ตลอดจนข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์และให้ก�ำลังใจแก่
ผู้วิจัยด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่งเสมอมาผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
	            ขอขอบสาธารณสุขอ�ำเภอหนองพอก และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านฉวะทุกคน
ที่ให้ก�ำลังใจแก่ผู้วิจัยด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่งเสมอมา
	            นอกเหนือที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยขอขอบคุณอาสาสมัครสาธารณสุข ตลอดจนผู้ป่วยเบาหวานทุกคน
ที่ให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูลและร่วมกันทดลองใช้เครื่องมือในการวิจัยในครั้งนี้

เอกสารอ้างอิง(References)
กรรณิกา พุ่มมาก . พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์.
          วิทยานิพนธ์. ศศ.ม. อุตรดิตถ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 2547.
กาบแก้ว ปัญญาแก้ว . การมีสวนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอยในพืนทีเ่ ขตเทศบาลเกาะคา จังหวัดล�ำปาง.
                               ่                                          ้
          วิทยานิพนธ์.ร.ม. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2554.
จีระพรรณ สุขศรีงาม .ชีวสถิติ. มหาวิทยาลัยมหาสาราคม,2552.
ชม ภูมิภาค .จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานิช,2516.
ธีระพร อุวรรณโณ . จิตวิทยาสังคม.กรุงเทพ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2529.
นันทพร มณีรตน์ . การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอ
             ั
          เสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด.วิทยานิพนธ์. วท.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2551.
ผกาวรรณ อินทวงษา . การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต� ำบลจ�ำปา
          อ�ำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ . รป.ม. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2550.
ราตี กุณา . การศึกษาวิธีการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในพื้นที่ต�ำบลควร อ�ำเภอปง จังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์.
          รป.ม. อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์,2547.
สมบัติ ชมพูน้อย . รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลงิ้วงาม จังหวัด
          อุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์. ศศ.ม. อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์,2550.
สันต์ ไชยกาล . แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างยั่งยืนของเทศบาลต�ำบลห้วยขยะพุง อ�ำเภอวารินช�ำราบ
          จังหวัดอุบลราชธานี .วิทยานิพนธ์ .รป.ม. ขอนแก่น. : มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2550.
เอกนรินทร์ กลิ่นหอม. การศึกษาความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการจัดการจัดการขยะของประชาชนในเขตต�ำบล
          จันจร้า อ�ำเภอแม่จน จังหวัดเชียงราย . วิทยานิพนธ์. วท.ม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย,2553.
                             ั
102
งานวิจัย
        ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรม
      การป้องกันโรคเบาหวานของประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
   บ้านค�ำโพนสูง ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด
                                                                                ณัฐณิชานันท์ สุขพร้อม
                                                                 นักวิชาการสาธารณสุข รพ.สต. ค�ำโนนสูง

บทคัดย่อ
	          การวิจยครังนีมวตถุประสงค์เพือพัฒนาโปรแกรมการป้องกันโรคเบาหวานของกลุมเสียง และเพือทดลอง
                 ั ้ ้ีั               ่                                            ่ ่         ่
และประเมินผลการใช้โปรแกรมการป้องกันโรคเบาหวานของกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมายได้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน
จ�ำนวน 30 คนซึ่งได้มาจากการเลือกสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling)เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
เป็นแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน และโปรแกรมการป้องกันโรคเบาหวานของกลุ่มทดลอง
วิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติ Paired T-test ผล
วิเคราะห์ข้อมูลได้จากการเปรียบเทียบสองกลุ่มที่มีตัวแปรอิสระ โดยการรวบรวมข้อมูลจากแนวคิดการดูแลสุขภาพ
แบบองค์รวม และทฤษฎีส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ น�ำมาสร้างเป็นรูปแบบทดลองปฏิบัติจริง
	          ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มควบคุมมีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
คิดเป็นร้อยละ 62.91 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า กลุ่มควบคุมมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร คิดเป็น
ร้อยละ 53.4 และกลุ่มควบคุมมีพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 14.0 ส่วนพฤติกรรมการคลายเครียด
คิดเป็นร้อยละ 32.6 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า กลุ่มควบคุมมีพฤติกรรมในการป้องกันโรคเบาหวานอยู่ใน
ระดับปานกลาง จ�ำนวน 11 ข้อ	
	          กลุ่มทดลอง พบว่า มีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน หลังการใช้โปรแกรมโดยรวมอยู่ในระดับสูง
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน อยู่ในระดับสูง จ�ำนวน 21 ข้อ
ซึ่งกลุ่มทดลองมีการรับรู้สาเหตุโรคเบาหวาน การป้องกัน และปฏิบัติตนที่ถูกต้องเพิ่มมากขึ้น

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา	
  	        การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลให้การด�ำเนินชีวิตและสภาวะสุขภาพของประชาชนไทย
เปลี่ยนแปลงไปทั้งในทางบวกและทางลบ กล่าวคือ ประชาชนมีอายุไขเฉลี่ยเพิ่มขึ้น การเจ็บป่วยและเสียชีวิตจาก
โรคติดเชื้อลดลง แต่เจ็บป่วยและเสียชีวิตจากโรคไร้เชื้อเพิ่มมากขึ้น เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิต
โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และอุบัติเหตุต่างๆ สาเหตุการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าวมีสาเหตุที่ส�ำคัญ มาจาก
การมีพฤติกรรมสุขภาพทีไม่ถกต้องของประชาชนเป็นส่วนใหญ่และพฤติกรรมสุขภาพทีไม่เหมาะสม ท�ำให้เกิดปัญหา
                        ่ ู                                                      ่
สุขภาพของบุคคลและครอบครัวหรือปัญหาสาธารณสุข ดังรายงานในปี พ.ศ. 2548 พบมีผเู้ สียชีวตจากโรคไม่ตดต่อ
                                                                                          ิ             ิ
ร้อยละ 60 (ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ. 2552.) ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้วิเคราะห์ข้อมูลและอัตราตายด้วย
โรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขส�ำคัญของประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2540-2550 นั้น พบว่า จ�ำนวนอัตราตาย
ด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจาก 148.7 ต่อประชากรแสนคนใน พ.ศ.2540 เป็น 650.4 ต่อประชากรแสนคนใน

                                                                                                    103
พ.ศ.2550 (ส�ำนักงานโรคไม่ติดต่อ. 2552.) จากการส�ำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจ
ร่างกายครั้งที่ 4 พบว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความชุกของโรคเบาหวานในเพศหญิงร้อยละ 8.1 เพศชาย
ร้อยละ 6.8 สูงเป็นอันดับ 2 ของประเทศ (ส�ำนักงานส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทย. 2551.) จากรายงานข้อมูล
และสถิติของส�ำนักงานโรคไม่ติดต่อพบว่าใน พ.ศ. 2552 จังหวัดร้อยเอ็ดมีจ�ำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานจ�ำนวน
11,836 ราย อัตรา 905.11 ต่อประชากรแสนคน จากสถิติอ�ำเภอหนองพอกมีอัตราผู้ป่วยเบาหวานจ�ำนวน 1,568
ราย อัตรา 119.95 ต่อประชากรแสนคน (ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด. 2551.) โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูงมีอตราผูปวยด้วยโรคเบาหวาน จ�ำนวน 89 ราย (สถานีอนามัยบ้านค�ำโพนสูง. 2554.)
                               ั ้ ่
     	      จากการตรวจคัดกรองสุขภาพของประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบของรพ.สต.
บ้านค�ำโพนสูง เมื่อ พ.ศ. 2554 โดยคัดกรองได้ทั้งหมด 3,728 คน มีกลุ่มเสี่ยงด้านรอบเอวเกิน น�้ำตาลเกิน
ความดันโลหิตผิดปกติ จ�ำนวนทั้งหมด 605 คน คิดเป็นร้อยละ 46.77 และมีกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานจ�ำนวน
283 คน
   	        การศึกษาเรืองพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนจึงเป็นสิงส�ำคัญทีทำให้ทราบถึงสาเหตุ และ ปัจจัย ทีทำให้
                        ่                                    ่       ่ �                           ่ �
เกิดการมีพฤติกรรมทางด้านสุขภาพที่ไม่เหมาะสม
 ดังนัน เพือลดปัจจัยเสียงทีกอให้เกิดโรคดังกล่าว แนวทางการปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึง
       ้ ่                ่ ่่                                   ่                                     ่
ที่สามารถสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาวะที่ดี
     	      ผูทำวิจย จึงได้มการศึกษาความรู้ พฤติกรรมและทัศนคติในกลุมเสียงเบาหวาน และ ในเขตการรับผิดชอบ
              ้ � ั         ี                                      ่ ่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง จ�ำนวน 8 หมู่บ้าน ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัด
ร้อยเอ็ด เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปเป็นแนวทางเพื่อด�ำเนินการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
เพื่อการป้องกันความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ของประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต� ำบล
บ้านค�ำโพนสูงต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
	         1.	 เปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
	         2.	 เปรียบเทียบค่าน�้ำตาลในช่วงเวลาที่ก�ำหนดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม

วิธีด�ำเนินการวิจัย
	         การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quassi Experimental Research) ชนิดสองกลุ่มวัดซ�้ำ โดยมีวิธีการ
ด�ำเนินงานวิจัย ดังนี้

รูปแบบการวิจัย
	         รูปแบบการวิจัย ได้วางแผนการศึกษาวิจัยไว้ 2 รูปแบบ คือ
	         1. 	 ขันวิจย (Research phase) การศึกษาเอกสารและประมวลงานวิจยทีเกียวข้องความรูและพฤติกรรม
                 ้ ั                                                 ั ่ ่             ้
การป้องกันโรคเบาหวาน
   	      2. 	 ขั้นพัฒนา (Development phase) การสร้างและทดลองใช้โปรมแกรมการสร้างสุขภาพกับกลุ่ม
ทดลอง

104
งานวิจัย
ขั้นวิจัย (Research phase)
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
	            1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
	            ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ หมายถึง ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปี ที่มีชื่อในส�ำเนาทะเบียน
บ้านและอาศัยอยู่จริงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอ
หนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ซึงได้รบการตรวจคัดกรองสุขภาพจากบุคลากรทางด้านสาธารณสุข ทีได้รบการประเมิน
                                ่ ั                                                               ่ ั
ว่ามีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและได้ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จ�ำนวน 283 คน
	            กลุ่มตัวอย่าง
	            หมายถึง ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพและได้รับการประเมิน
ว่ามีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและได้ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ที่ใช้ในการเข้าเป็นกลุ่มทดลอง
คัดเลือกโดยการสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling) ท�ำการสุ่มอย่างง่ายให้ได้ จ�ำนวน 30 คน จัดเป็นกลุ่ม
ทดลอง กลุ่มควบคุมได้จากการสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling) จากกลุ่มเสี่ยงที่เหลือ จัดเป็นกลุ่ม
ควบคุมให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มทดลองในด้านเพศเดียวกัน อายุต่างกันไม่เกิน 3 ปี น�้ำหนักตัวต่างกันไม่เกิน
3 กิโลกรัม และรอบเอว และท�ำการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราค(Cronbach’s Alpha Coeffcient)
ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.85
	            เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
	            1.	 โปรมแกรมการสร้างเสริมสุขภาพซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นตามแบบจ� ำลองการสร้างเสริมสุขภาพของ
เพนเดอร์ (Pender,2011)ประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้ 1) การให้ความรู้เกียวกับเรื่องโรคเบาหวานด้านโภชนาการและ
                                                                      ่
การออกก�ำลังกายในสัปดาห์แรกเพื่อให้กลุ่มทดลอง เกิดการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้ความสามารถ
แห่งตน การสร้างอารมณ์ที่เกี่ยวข้อง 2) การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านการออกก�ำลังกายในสัปดาห์แรกเพื่อ
ให้เกิดการรับรู้ความสามารถแห่งตน 3) การบันทึกการออกก�ำลังกาย น�้ำหนักตัว รอบเอว ค่าน�้ำตาลในแต่ละสัปดาห์
เพื่อให้เกิดการสร้างอารมณ์ที่เกี่ยวข้องและเกิดการรับรู้ความสามารถแห่งตน 4) ครอบครัวกับเพื่อนชี้ชวนลดพุงใน
สัปดาห์ที่ 2-16 เพื่อให้เกิดอิทธิพลระหว่างบุคคล 5) หอกระจายข่าวชุมชน
	            2.	 แบบสอบถามพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันกลุ่มอาการเสี่ยงเบาหวาน ในด้านการบริโภค
อาหาร ด้านการออกก�ำลังกาย ด้านการจัดการความเครียด เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงเบาหวาน ซึ่งได้แบบสอบถาม
ของคุณเพ็ญศรี พงษ์ประภาพันธ์(2553) ค�ำถามเป็นมาตราประมาณค่า 4 ระดับ จ�ำนวน 40 ข้อ ลักษณะของค�ำถาม
เป็นแบบปลายปิด ให้เลือกตอบเพียงค�ำตอบเดียวตามระดับการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ตอบ คือ
ปฏิบัติเป็นประจ�ำ 5 ครั้งขึ้นไปใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 3-4 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 1-2 ครั้ง
ใน 1 สัปดาห์ ไม่เคยปฏิบัติเหตุการณ์นั้นเลย
	            การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา จาก
ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท่าน แบบสอบถามพฤติกรรมได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.89 และน�ำไปทดสอบหา
ความเที่ยงกับประชาชนบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 30 รายและมี
คุณสมบัตคล้ายกันกับกลุมตัวอย่างดังได้กล่าวแล้ว และท�ำการหารค่าสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบราค (Cronbach’s
           ิ                ่                                               ์
Alpha Coefficient)ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.85		



                                                                                                          105
การสร้างเครื่องมือ
	          - 	 ศึกษารายละเอียดจากเอกสาร ต�ำรา บทความ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตามกรอบ
แนวคิดและวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเป็นข้อมูลในการสร้างแบบสอบถาม แล้วรวบรวมและด�ำเนินการร่าง
แบบสอบถาม
            การหาคุณภาพเครื่องมือ
	          - 	 หาความตรงของเนื้อหา (Content Validity) โดยน�ำแบบสอบถามที่สร้างเสร็จแล้วให้ผู้เชี่ยวชาญที่
มีความรู้และมีประสบการณ์สูง จ�ำนวน 3 ท่าน ได้ท�ำการตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหาและความเข้าใจของ
ภาษาของแบบสอบถาม และน�ำมาแก้ไขปรับปรุงตามค�ำแนะน�ำของผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นน�ำไปทดลองใช้
	          - 	 หาความเที่ยง (Reliability) โดยน�ำแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้ว ไปทดสอบใช้ (Try Out)ในกลุ่ม
ประชากรบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 30 คน โดยน�ำแบบสอบถาม
เกียวกับแบบแผนความรูและพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน จากนันหาค่าความเชือมัน โดยวิธหาค่าคงทีภายใน
   ่                    ้                                           ้             ่ ่        ี        ่
ด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบราค (Cronbach)
	          วิธีด�ำเนินการวิจัยช่วงแรก
	          1. 	 ติดต่อประสานงานกับประธานอาสาสมัครสาธารณสุข เพือท�ำการประสานงานในการนัดกลุมเป้าหมาย
                                                                      ่                           ่
	          2. 	 เตรียมความพร้อมแก่กลุ่มตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ในการวิจัยและเพื่อสร้างความเข้าใจใน
ตัวแปรที่จะไปท�ำการสัมภาษณ์
	          3. 	 วิเคราะห์และสรุปปัญหาของผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ขั้นพัฒนา (Development phase)
กลุ่มทดลองมีขั้นตอนดังนี้
	              1.	 ผู้วิจัยนัดกลุ่มเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรมแกรมในขั้นตอนที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 ในสัปดาห์ที่ 1 โดย
การเข้ากระบวนการกลุ่ม มีผู้วิจัยเป็นผู้ด�ำเนินการตามรายละเอียดของโปรแกรมและมีทะเบียนบันทึกข้อมูลสุขภาพ
ซึ่งผู้วิจัยจัดท�ำขึ้น
	              2.	 ผู้วิจัยนัดกลุ่มท�ำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพครั้งที่ 2, 3 และ 4 ใน
สัปดาห์ที่ 4, 8 และ 16 พร้อมเก็บข้อมูลแบบสอบถามพฤติกรรม น�้ำหนักตัว ดัชนีมวลกายและรอบเอว และแจ้ง
การสิ้นสุดโปรแกรม ในสัปดาห์ที่ 12
	              กลุ่มควบคุมมีขั้นตอนดังนี้
	              ผูวจยแนะน�ำตัว อธิบายวัตถุประสงค์การวิจยขันตอนการด�ำเนินการวิจย ขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล
                 ้ิั                                      ั ้                      ั
สุขภาพและตอบแบบสอบถามพฤติกรรม นัดอีกครั้งในสัปดาห์ที่ 4, 8 และ 12 เพื่อเก็บข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถาม
พฤติกรรมโดยกลุ่มควบคุมจะได้รับความรู้เรื่องการป้องกันโรคเบาหวานจากเจ้าหน้าที่ประจ�ำโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง
เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
	              1.	 ชุดกิจกรรม
	              ผู้วิจัยได้ก�ำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการทดลองของกลุ่มตัวอย่าง เป็นชุดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันโรคเบาหวาน จากข้อมูลของแบบสัมภาษณ์น�ำประเด็นส�ำคัญที่ได้ มาเป็นข้อมูลใน
การสร้างชุดกิจกรรม และทดลองใช้ พร้อมทั้งประเมินผลชุดกิจกรรม
106
งานวิจัย
	          ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน เพื่อให้กลุ่มตัวอย่าง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ความหมาย สาเหตุ อาการ โรคแทรกซ้อนและผลกระทบของโรค
	          ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่องพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคและวิธีการป้องกันโรคเบาหวาน เพื่อให้
กลุ่มตัวอย่าง เข้าใจถึงวิธีการป้องกันโรคเบาหวานที่ถูกต้อง
	          2. 	 แบบประเมินชุดกิจกรรม ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น โดยการศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ประกอบด้วยข้อมูล 3 ส่วน

	            ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
		 วิธีการแปลผลข้อมูล
		 ผู้ศึกษาด�ำเนินการศึกษาข้อมูลจากเครื่องมือวิจัยที่ได้รับจากกลุ่มตัวอย่าง ในเขตรับผิดชอบของ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด โดยใช้คอมพิวเตอร์
โปรแกรมส�ำเร็จรูป การวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ได้วิเคราะห์ตามขั้นตอนและกระบวนการ ดังนี้
		 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม เมื่อเก็บข้อมูลแล้วน�ำแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมส�ำเร็จรูป
		 2. วิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างโดยค�ำนวณค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน
           	 ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ เป็นต้น
           	 ส่วนที่ 2 แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร มีทั้งหมด 10 ข้อ มี 4 ตัวเลือก คือ ปฏิบัติเป็นประจ�ำ
5 ครั้งขึ้นไปใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 3-4 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 1-2 ครั้งใน 1 สัปดาห์
ไม่เคยปฏิบัติเหตุการณ์นั้นเลย
 	           ส่วนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย มีทั้งหมด 10 ข้อ มี 4 ตัวเลือก คือ ปฏิบัติเป็นประจ�ำ
5 ครั้งขึ้นไปใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 3-4 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 1-2 ครั้งใน 1 สัปดาห์
ไม่เคยปฏิบัติเหตุการณ์นั้นเลย
             ส่วนที่ 4 แบบสอบถามพฤติกรรมการคลายเครียด มีทั้งหมด 10 ข้อ มี 4 ตัวเลือก คือ ปฏิบัติเป็นประจ�ำ
5 ครั้งขึ้นไปใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 3-4 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 1-2 ครั้งใน 1 สัปดาห์
ไม่เคยปฏิบัติเหตุการณ์นั้นเลย

	         การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในงานวิจัย
	         วิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�ำเร็จรูปโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวนแบบวัดซ�้ำ (repeated measure ANOVA)

	        สถานที่ในการด�ำเนินการวิจัย
	        หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอ
หนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 8 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านค�ำโพนสูง บ้านโพนวิลัย บ้านบะยาว บ้านกุดเต่า บ้าน
กุดทรายดี บ้านหนองผักแว่น บ้านวังใหญ่และบ้านวังใหม่


                                                                                                       107
ผลวิจัย
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปด้านคุณลักษณะทางประชากร
	           เพศ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นเพศหญิง ร้อยละ63.3 และเพศชาย ร้อยละ 36.7
	           อายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 41-45 ปี ร้อยละ 43.3และน้อยที่สุด 46-50 ปี
ร้อยละ 3.3 ตามล�ำดับ
	           ระดับการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษาร้อยละ 73.3 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้นร้อยละ 16.7 มัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ6.7 และน้อยที่สุดคือปริญญาตรี ร้อยละ3.3
  	         อาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 56.7 รองลงมามีอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 33.3 และ
น้อยที่สุดมีอาชีพรับราชการ ร้อยละ 3.3
	           รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว พบว่า ส่วนใหญ่มีรายได้ต�่ำกว่า 5,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 76.7
น้อยที่สุดมีรายได้ 15,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 3.3
	           อ้วน (BMI ≥ 25 กก./ ม2) พบว่า ส่วนใหญ่อ้วน ร้อยละ 58.2 และไม่อ้วน ร้อยละ 41.8
	           ระดับน�้ำตาลในเลือดก่อนเข้าร่วมโครงการ พบว่า ส่วนใหญ่จะมีระดับน�้ำตาล 110-119 mg/dl
ร้อยละ50.0 และรองลงมา จะมีระดับน�้ำตาล 100-109 mg/dl ร้อยละ 36.7 และน้อยที่สุดคือ 120 mg/dl ขึ้นไป
ร้อยละ 13.3
	           ระดับน�้ำตาลในเลือดหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่า ส่วนใหญ่จะมีระดับน�้ำตาลน้อยกว่า 100 mg/dl
ร้อยละ66.7 และรองลงมา มีระดับน�้ำตาล 100-109 mg/dl ร้อยละ30.0 และน้อยที่สุดคือ 110 -119mg/dl
ร้อยละ 3.3

ตาราง 1 จ�ำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มทดลองจ�ำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (n=30)

          ลักษณะทางประชากร                           จำ�นวน( n=30 คน)            ร้อยละ
          เพศ
               ชาย                                          11                    36.7
               หญิง                                         19                    63.3
          อายุ
               35 - 40 ปี                                    4                    13.3
               41 - 45 ปี                                   13                    43.3
               46 – 50 ปี                                    6                     20
             50 ปี ขึ้นไป                                    7                    23.4
          ระดับการศึกษาสูงสุด
               ประถมศึกษา                                   22                    73.3
               มัธยมศึกษาตอนต้น                              5                    16.7
               มัธยมศึกษาตอนปลาย                             2                     6.7
               อนุปริญญา/ประกาศณียบัตรวิชาชีพชั้นสูง         1                     3.3
               อื่นๆ(ปริญญาตรี)                              0                      0


108
งานวิจัย
ตาราง 1 จ�ำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มทดลองจ�ำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (n=30) (ต่อ)

         ลักษณะทางประชากร                     จำ�นวน (n=30 คน)        ร้อยละ
         อาชีพ
             ไม่ได้ทำ�/อยู่บ้าน                      2                  6.7
             รับจ้าง                                 10                33.3
             รับราชการ                               1                  3.3
         รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว
             ต่ำ�กว่า 5,000 บาท                      23                76.7
             5,001 – 10,000 บาท                      5                 16.7
             10,001 – 15,000 บาท                     1                  3.3
             สูงกว่า 15,000 บาท                      1                  3.3
         อ้วน (BMI ≥ 25 กก./ม2)
             ไม่อ้วน                                 18                60.0
             อ้วน                                    12                40.0
         ระดับน�้ำตาลก่อนเข้าร่วมโครงการ
             ต่ำ�กว่า 100 mg/dl                      0                  0
             100-109 mg/dl                           11                36.7
             110-119 mg/dl                           15                50.0
             120 mg/dl ขึ้นไป                        4                 13.3
         ระดับน�้ำตาลหลังเข้าร่วมโครงการ
             ต�่ำกว่า 100 mg/dl                      20                66.7
             100-109 mg/dl                           9                 30.0
             110-119 mg/dl                           1                  3.3
            120 mg/dl ขึ้นไป                         0                   0




                                                                                     109
ตาราง 2 ผลวิเคราะห์ของผู้ตอบแบบสอบถามการเปรียบเทียบคะแนนด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (n=30)

                                                   กลุ่มทดลอง      กลุ่มควบคุม        T         P
                    ข้อความ                                                         value     valuea
                                                   X       S.D     X       S.D
 1. ดื่มน�้ำหวาน น�้ำอัดลม ชา กาแฟ น�้ำปั่นความ
                                                   3.4    0.77    2.3      0.83     24.18     .001*
 อ้วนไม่ใช่สาเหตุของโรคเบาหวาน
 2. กินอาหารหวานหรือขนมหวานที่ปรุงด้วยกะทิ        3.3     0.70   2.06      0.69     25.74      .001*
 3. กินอาหารทอด เช่น ไก่ชุบแป้งทอด                3.16    0.79   2.33       0.6     21.9       .001*
 4. กินอาหารผัด เช่น ผัดผัก ผัดซีอิ้ว             3.16    0.64    2.2       0.7     26.77      .001*
 5. กินเนื้อติดมัน เช่น แค็ปหมู หมูกรอบ           4.5     7.12    2.2      0.76     3.46        .002
 6. กินผลไม้ เช่น ทุเรียน ละมุด ลำ�ไย             3.3     0.74   3.03       0.8     24.1        .133
 7. กินอาหารที่ใส่น�้ำตาล เช่น แยม เยลลี่         3.1     0.71    2.3      0.79     23.84      .001*
 8. ดื่มน�้ำเปรี้ยว ครีม นมข้นหวาน                3.5     0.56    2.4      0.73     34.37       .006
 9. กินอาหารครบ 3 มื้อใน 1 วัน                    3.8     0.4     3.1      0.79     51.15       .083
 10. กินอาหาร ขนมขบเคี้ยว ขนมกรอบ                 3.8     0.37   3.06      0.86     55.39     0.001*
 11. กินอาหารไขมันสูง เช่น ข้าวขาหมู ข้าวมันไก่   3.7     0.52    2.0      0.85     39.26     0.001*
 12. กินอาหารหลากหลายไม่ซ�้ำกันครบ 5หมู่          3.36    0.61   2.33       0.8     29.98     0.001*
 13. รับประทานอาหารที่มีรสหวานจัดเช่นการ
                                                   3.4    0.62   2.03      0.85      30.0     0.001*
 ปรุงอาหารคาวแล้วเติมน�้ำตาลด้วย
 14. กินปลา ไข่ขาว เนื้อไก่ต้มไม่ติดมัน            3.4    .72     2.33      .88     25.83      .133
 15. ดื่มนมจืด นมพร่องมันเนย วันละ 1 แก้ว          1.6    0.67    1.56     0.77     12.99      .083
 16. เติมน�้ำปลา น�้ำตาล ในการกินก๋วยเตี๋ยว        3.03   0.85     1.6     0.66     19.54       .38
 17. เคี้ยวอาหารช้าๆ ในการทานอาหาร                 3.46   0.62    2.26      0.9     30.19     .001*
 18. กินอาหารเมื่อรู้สึกหิว                        3.7    0.53    2.03      0.8     37.88     .001*
 19. กินอาหารประเภทผัดมากกว่าเนื้อทุกชนิด          3.4    0.62    1.96     0.76     29.96      .012
 20. กินข้างกล้องแทนข้าวขัดขาว                     1.43   0.56    1.23      0.5     13.81       .35
 เฉลี่ยโดยรวม                                     65.73   6.54   44.56     3.75     -14.3     .001*

	         จากตารางพบว่ามีนยส�ำคัญทางสถิตที่ .05 กลุมทดลองมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการใช้โปรแกรม
                            ั             ิ        ่
โดยรวมเพิ่มขึ้น (p-value<.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน
โรคเบาหวาน เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 11 ข้อ (p-value<.05) แต่กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร จ�ำนวน 9 ข้อ
ไม่แตกต่างกัน

110
งานวิจัย
ตาราง 3 ผลวิเคราะห์ของผู้ตอบแบบสอบถามการเปรียบเทียบคะแนนด้านพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย (n=30)

                                                    กลุ่มทดลอง     กลุ่มควบคุม       T        P
                     ข้อความ                                                       value    valuea
                                                     X     S.D      X      S.D
 1. เดินเร็วต่อเนื่อง วันละ 30-40 นาที              3.2 09.6       1.76 0.67       25.85    .001*
 2. เดินหลังมื้ออาหารวันละ 2-3 ครั้งต่อวันเป็น      2.9 0.7        1.66 0.7        22.31    .001*
 อย่างน้อย 20 นาที
 3. เล่นกีฬา เช่น เตะบอล ตะกร้อ วิ่งเยาะๆอย่างน้อย 2.6     0.76    1.66    0.75    18.85    .001*
 วันละ 30-40 นาที
 4. มีการเคลื่อนไหวในการทำ�งานบ้านงานอาชีพ เช่น     2.8    0.66     1.6    0.72    23.08    .001*
 ทำ�งานบ้าน/ทำ�สวน/ทำ�ไร่/ทำ�นา/ขี่จักรยานหรือเดิน
 ไปทำ�งานจนรู้สึกเหนื่อยกำ�ลังดีสะสมอย่างน้อยวันละ
 30 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน
 5. ไปเล่นกีฬาหรือออกกำ�ลังกายตามลำ�พัง             3.4    0.62    1.43    0.56    29.96      .59
 6. ดูโทรทัศน์วันละมากกว่า 2 ชม.                    3.2    0.67    1.93     0.8     26.0     .083
 7. ไม่เคยออกกำ�ลังกายจนมีเหงื่อ                    3.7    0.43    1.56    0.56    47.95    .001*
 8. มีการยืดเหยียด เช่น การก้มเอามือแตะพื้น         3.5    0.62    1.5      0.5    30.44    .001*
 ประสานมือไว้เหนือศีรษะหลังดันขึ้น การก้มลงเอามือ
 แตะพื้น การเหยียดและฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
 ต่อเนื่องกันสัปดาห์ละ 2-3 วัน
 9. ออกกำ�ลังกายหรือเล่นกีฬา (ด้วยความแรงระดับ      2.5    0.68    1.96     0.7    20.36     .38
 หนักคือเหนื่อยหอบ หรือไม่ สามารถพูดคุยกับคน
 ข้างเคียงได้จบประโยคขณะออกกำ�ลังกาย)อย่างน้อย
 สัปดาห์ละ 2-3วัน อย่างน้อยวันละ 2 นาที
 10. ออกกำ�ลังกายหรือเล่นกีฬา (ด้วยความแรงระดับ     2.9     0.6     2.1     1.9    26.15    0.012
 ปานกลางคือเหนื่อย พูดคุยกับคนข้างเคียงได้จบ
 ประโยค)อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที
 เฉลี่ยโดยรวม                                      30.93   2.55 17.26 3.17         9.74      .466

	         จากตารางพบว่ามีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ .05 กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการออกก�ำลังกายหลังการใช้
โปรแกรมโดยรวมเพิ่มขึ้น (p-value<.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรู้เกี่ยวกับ
การป้องกันโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 6 ข้อ (p-value<.05) แต่กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย
จ�ำนวน 4 ข้อไม่แตกต่างกัน



                                                                                              111
ตาราง 4 ผลวิเคราะห์ของผู้ตอบแบบสอบถามการเปรียบเทียบคะแนนด้านการคลายเครียด (n=30)

                                                กลุ่มทดลอง        กลุ่มควบคุม         T         p-
                  ข้อความ                                                           value     valuea
                                                 X     S.D       X        S.D
 1. ท่านมีงานอดิเรกเป็นประจำ�เช่นการปลูก        3.0    0.74     1.5       0.57      22.12      .006
 ต้นไม้ สะสม เลี้ยงสัตว์
 2. เมื่อท่านมีอาการเครียด ท่านจะระบายให้       3.6    0.49     1.7       0.63      39.57     0.001*
 คนที่ไว้ใจได้ฟัง
 3. ท่านชอบฟังเพลง                             3.66    0.47     1.7       0.56      41.88       .55
 4. เมื่อท่านมีอาการเครียด ท่านจะเก็บ          3.7     0.46     1.7       0.74      43.48     0.001*
 ความรู้สึกไว้คนเดียว
 5. ท่านมีความคับข้องใจ ความโกรธ                3.5    0.5      2.5       0.86      38.14      .012
 ความเสียใจ ไม่พอใจ
 6. ท่านทำ�จิตใจให้ผ่อนคลายเพลิดเพลิน เช่น      3.6    0.49     2.0       0.64      39.57     .001*
 หารฟังเพลง นั่งสมาธิ ฟังเทศน์
 7. ท่านนึกคิดในเรื่องใดๆซ้ำ�ๆ ติดต่อกันเป็น    3.4    0.62     2.0        0.8      29.96      .083
 เวลานานไม่สามารถขจัดออกไปได้
 8. ท่านคิดใช้วิธีคลายเครียด โดยการฝึก          2.5    0.57     2.0       0.87      24.28     .001*
 หายใจ การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หรือวิธีอื่นๆ
 9. ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เมื่อรู้สึกโกรธไม่     3.46    0.62     2.1       0.74      30.19      .011
 ขว้างปาสิ่งของ ไม่เอะอะโวยวาย
 10. มีกิจกรรมสันทนาการร่วมกับ                  3.0    0.8      2.1       0.64      20.29      .65
 กลุ่มเครือข่ายของตน เช่น เพื่อนเก่า
 เพื่อนร่วมงาน
 เฉลี่ยโดยรวม                                  33.56   2.14    19.63      2.48      27.34     .001*

	         จากตารางพบว่ามีนยส�ำคัญทางสถิตที่ .05 กลุมทดลองมีพฤติกรรมการคลายเครียดหลังการใช้โปรแกรม
                            ั             ิ        ่
โดยรวมเพิ่มขึ้น (p-value<.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน
โรคเบาหวาน เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 4 ข้อ (p-value<.05) แต่กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการคลายเครียด จ�ำนวน 6 ข้อ
ไม่แตกต่างกัน




112
งานวิจัย
สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล
	         โปรแกรมสุขศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยประยุ ก ต์ ใช้ ท ฤษฎี แรงจู ง ใจเพื่ อ ป้ อ งกั น โรคของโรเจอร์ ส
มีประสิทธิผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานของกลุ่มเสี่ยง ทั้งทางด้านความรู้ เจตคติและการปฏิบัติ

บรรณานุกรม
เพ็ญศรี พงษ์ประภาพันธ์ สุวิมล แสนเวียงจันทร์ ประทีป ปัญญา. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์
         รวมของผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวัดปุรณาวาส, 2553.




                                                                                                           113
สภาวะการสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารในเขต
 รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง
   ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด
                                                                             นางสาวเสาวณีย์ สีหาบุญจันทร์
                                                                     นักวิชาการสาธารณสุข รพ.สต.บ้านดงบัง

บทคัดย่อ
	              การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร และหา
แนวทางในการแก้ปัญหาการสุขาภิบาลอาหารด้านกายภาพของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ในเขตรับผิดชอบของ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มเป้าหมาย
ได้แก่ผู้สัมผัสอาหารประเภทแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร จ�ำนวน 20 แผงลอย ผู้สัมผัสอาหาร 27 คนซึ่งได้มาจากการ
เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามความรู้ การปฏิบัติตาม
ข้อก�ำหนดการสุขาภิบาลอาหาร โดยผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือของกาญจนี บุณยวงศ์วิโรจน์ (2548) แบบสอบถามแบ่ง
เป็น 3 ส่วนคือ ข้อมูลทั่วไป ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร และแบบตรวจ
ร้านอาหารตามข้อก�ำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
	             ผลการวิจัย ระยะวิจัย พบว่า ผู้สัมผัสอาหารส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 59.3 มีอายุอยู่ระหว่าง
36 – 45 ปี มีสถานภาพสมรส ร้อยละ 96.3 จบการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 55.6 ประกอบการจ�ำหน่าย
อาหารแผงลอยมาเป็นเวลา 2 ปีขึ้นไป ร้อยละ 55.6 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 6,001-8,000 บาท ร้อยละ 37
ไม่เคยเข้ารับการอบรมเกียวกับงานสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 63 บทบาทหน้าทีในร้านอาหารส่วนใหญ่เป็นผูประกอบ
                        ่                                                ่                           ้
การ/เจ้าของร้าน ร้อยละ 48.1 การรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารผ่านทางสื่อโทรทัศน์/วิทยุ ร้อยละ
70.4 ผลการศึกษาด้านความรู้เกี่ยวกับข้อก�ำหนดงานสุขาภิบาลอาหารเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่ผู้สัมผัส
อาหารตอบผิดมากที่สุดคือ จัดให้มีถังขยะขนาดที่เหมาะสม ไม่จ�ำเป็นต้องมีฝาปิด ร้อยละ 48.1                       ผล
การศึกษาด้านการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลที่ผู้สัมผัสอาหารปฎิบัติน้อยที่สุดในเรื่อง เมื่อมีคนในบ้านป่วยก็ให้นั่งรับ
ประทานอาหารร่วมกับคนอื่นตามปกติ โดยใช้ช้อนกลาง และการก�ำจัดขยะ เศษอาหาร น�้ำเสีย ท่านจะใส่ถังขยะมี
ฝาปิดมีบ่อดักไขมันจากน�้ำเสียก่อนแล้วจึงปล่อยลงร่องน�้ำสาธารณะ ร้อยละ 22.2
	              ระยะพัฒนา พบว่า ผลการตรวจสภาวะการสุขาภิบาลอาหารด้านกายภาพ พบว่า แผงลอยจ� ำหน่าย
อาหารผ่านมาตรฐานตามข้อก�ำหนดพืนฐานแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารน้อยทีสด คือ ผูสมผัสอาหารแต่งกายสะอาด สวม
                                       ้                            ุ่   ้ั
เสื้อมีแขน ผู้ปรุงต้องผูกผ้ากันเปื้อน และสวมหมวกหรือเน็ทคลุมผม ร้อยละ 95




114
งานวิจัย
ค�ำส�ำคัญ
	            สภาวะสุขาภิบาลอาหาร หมายถึง สภาพการต่างๆทางด้านสิงแวดล้อมทัวไปของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร
                                                                    ่       ่
ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต� ำบลบ้านดงบัง ที่มีผลก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดการปนเปื้อน
อาหารได้
	            แผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร หมายถึง สถานที่ตั้งบนพื้นที่ ทางสาธารณะ มีการขายเป็นประจ�ำในบริเวณที่
แน่นอน มีการเตรียม ปรุงประกอบ จ�ำหน่าย ณ บริเวณที่ตั้งแผง เป็นการจ�ำหน่ายอาหารที่พร้อมบริโภค บนโต๊ะหรือ
แผงใช้วางอาหารเพื่อจ�ำหน่ายในบริเวณใต้อาคารบ้านเรือน ส�ำหรับจ�ำหน่ายอาหาร น�้ำแข็ง เครื่องดื่มอย่างใด
อย่างหนึ่ง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก
จังหวัดร้อยเอ็ด
	            ผูสมผัสอาหาร หมายถึง ผูเตรีม ผูปรุง ผูเสิรฟอาหาร หรือผูลางภาชนะบรรจุอาหารในแผงลอยจ�ำหน่าย
               ้ั                   ้       ้      ้ ์              ้้
อาหาร
	            เกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร หมายถึง เกณฑ์มาตรฐานตามข้อก�ำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารส�ำหรับ
ร้านอาหารแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร จ�ำนวน 15 ข้อ (ตามมาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร กรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข)
  	          การตรวจประเมินด้านกายภาพ หมายถึง หลักเกณฑ์ที่ใช้ตรวจมาตรฐานทางกายภาพของแผงลอย
จ�ำหน่ายอาหาร จ�ำนวน 12 ข้อ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่น
ใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ตามแบบตรวจแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารทางแบคทีเรีย ของกองสุขาภิบาล
อาหาร กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

บทน�ำ
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา
	             อาหาร เป็นปัจจัยสี่ของมนุษย์ซึ่งมีความจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิต ร้านอาหารและแผงลอยจ�ำหน่าย
อาหาร เป็นสถานที่มีการผลิตปรุง และจ�ำหน่ายอาหาร เพื่อการบริโภคที่ส�ำคัญของประชาชนทุกคน หากสถาน
ประกอบการดังกล่าวมีการจัดสุขาภิบาลอาหารได้ไม่ถูกต้องครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐาน ก็จะส่งผลต่อสุขภาพของ
ผู้บริโภคที่มาใช้บริการ เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคของคนในปัจจุบัน บริโภคอาหารโดยไม่ค�ำนึงถึงสุขภาพของ
ตนเอง ท�ำให้เกิดโรคต่างๆ ท�ำให้เกิดโรคต่างๆมากมายและเป็นสาเหตุที่ท�ำให้เกิดโรคระบาดต่างๆ เช่น โรคอุจจาระ
ร่วงอย่างแรง บิด ไทฟอยด์ และอาหารเป็นพิษซึ่งเป็นปัญหาส� ำคัญ ทางด้านการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
อย่างหนึ่ง
	             ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย จึงต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพ
ความปลอดภัยอาหารที่ผลิตทุกขั้นตอน ตลอดห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) หรือที่กล่าวว่าจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร
(From farm to table) หรือจากฟาร์มสู่ช้อน(From farm to fork) ส�ำหรับระบบการควบคุมตรวจสอบคุณภาพ
ความปลอดภัยอาหารของประเทศไทย มีหน่วยงานที่รับผิดชอบและเกี่ยวข้องหลัก 2 กระทรวง ได้แก่ กระทรวง
สาธารณสุข และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากความส�ำคัญ                   ดังกล่าว รัฐบาลจึงมีนโยบายประกาศ
ตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นไป เป็นปีแห่งอาหารปลอดภัย ซึ่งได้ก�ำหนดนโยบาย           เร่งด่วนในการสร้างเสริมสุขภาพ
เพื่อรณรงค์และเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานของอาหารไทย ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและกว้างขวางออกไปทั้งใน


                                                                                                    115
ประเทศและต่างประเทศ โดยให้มีการรณรงค์เชิญชวน ให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ให้
ความส�ำคัญในเรืองสุขาภิบาลอาหาร ซึงได้ใช้มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหารส�ำหรับร้านอาหารมี 15 ข้อ และส�ำหรับ
                ่                     ่
แผงลอยจ�ำหน่ายอาหารมี 12 ข้อ (กรมอนามัย)
 	            จากกการที่กรมอนามัย ได้ด�ำเนินโครงการสุขาภิบาลอาหาร ส่งเสริมการท่องเที่ยว สนับสนุนเศรษฐกิจ
ไทย “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” หรือ Clean Food Good Taste ขึ้น ตั้งแต่ พ.ศ.2542 จนถึงปัจจุบัน มีร้าน
อาหารและแผงลอยเข้าร่วมโครงการ และได้มาตรฐานไปแล้วทั้งสิ้น 25,502 แห่ง จาก 76 จังหวัด ทั่วประเทศ จาก
ทั้งหมด 123,371 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20.67 ซึ่งยังนับว่าต�่ำมาก และการครอบคลุมยังกระจุกตัวอยู่ ในเขตเทศบาล
และเมืองใหญ่ๆ ท�ำให้การดูแลสุขภาพประชาชนที่จะสนับสนุนให้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จึงยังไม่
ครอบคลุม(กรมอนามัย.2546) ดังนั้นการด�ำเนินงานสุขาภิบาลอาหาร โดยการให้ความรู้ ฝึกอบรม จัดนิทรรศการ
ควบคู่ไปกับการรณรงค์ตามโครงการอาหารอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) โดยการมีส่วน
ร่วมของภาครัฐและเอกชน ผูประกอบการร้านอาหาร แผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร เพือเป็นการเสริมสร้างการเตรียมและ
                            ้                                                 ่
ปรุงอาหารจ�ำหน่ายที่สะอาด ปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภคอย่างต่อเนื่องจึงนับว่าเป็นสิ่งส�ำคัญและมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง
 	            จากปัญหาดังกล่าวผูวจยจึงศึกษาสภาวะการสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารของหมูบาน
                                  ้ิั                                                                    ่ ้
ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัด
ร้อยเอ็ด ในด้านข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการที่เป็นผู้สัมผัสอาหาร ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ด้านการปฏิบัติ
เกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหาร ตลอดถึงได้ทราบสภาวะสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ซึ่งจะได้มาซึ่ง
ข้อมูลประกอบการวางแผนพัฒนาด�ำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในเขตรับผิดชอบ ประชาชนผู้บริโภคเกิดความมั่นใจ
ด้านความปลอดภัยของอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร และเป็นแนวทางส�ำหรับสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้กับ
ผู้ประกอบการจ�ำหน่ายอาหารประเภทแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารและประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบังได้อย่างถูกต้องจนน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดงาน
ของงานสุขาภิบาลอาหารส�ำหรับผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร และน�ำข้อมูลไปใช้ในงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ที่เกิดจากการรับประทานอาหาร ลดผลกระทบด้านสุขภาพและเตรียมความพร้อมในการให้บริการประชาชนต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
	          เพื่อศึกษาสภาวะสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร และหาแนวทางในการพัฒนาสภาวะ
การสุขาภิบาลอาหาร ด้านกายภาพของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด

วิธีการด�ำเนินการวิจัย
ลักษณะประชากร
 	         กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ศึกษาเฉพาะผู้สัมผัสอาหารประเภทแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารในเขต
รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด
จ�ำนวน 20 แผงลอย ผู้สัมผัสอาหาร 27 คน ดังตาราง




116
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยguestd1493f
 
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]Sirirat Yimthanom
 
ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59riders
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านUtai Sukviwatsirikul
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล Rujira Lertkittivarakul
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุgel2onimal
 
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Yuwadee
 

Was ist angesagt? (17)

พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
 
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
 
ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุรา
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
 
Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3
 

Andere mochten auch

แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสสำเร็จ นางสีคุณ
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1Dok-Dak R-Sasing
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558Chuchai Sornchumni
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Socialkwang_reindiiz
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิกแบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิกtopsaby99
 
ห้องครัวพาเพลิน1
ห้องครัวพาเพลิน1ห้องครัวพาเพลิน1
ห้องครัวพาเพลิน1ปาล์ม มี่
 
แบบสอบถามผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
แบบสอบถามผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ แบบสอบถามผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
แบบสอบถามผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ yim2009
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นRungnapha Thophorm
 
ข้อมูลพื้นฐานจากการตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลพื้นฐานจากการตอบแบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานจากการตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลพื้นฐานจากการตอบแบบสอบถามThai China
 
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ขนมไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ขนมไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ขนมไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ขนมไทยMiemie Pimmie
 

Andere mochten auch (20)

แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Social
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
005
005005
005
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
 
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิกแบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
ห้องครัวพาเพลิน1
ห้องครัวพาเพลิน1ห้องครัวพาเพลิน1
ห้องครัวพาเพลิน1
 
แบบสอบถามผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
แบบสอบถามผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ แบบสอบถามผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
แบบสอบถามผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
Projectbase lobo
Projectbase loboProjectbase lobo
Projectbase lobo
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
ข้อมูลพื้นฐานจากการตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลพื้นฐานจากการตอบแบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานจากการตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลพื้นฐานจากการตอบแบบสอบถาม
 
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ขนมไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ขนมไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ขนมไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ขนมไทย
 

Ähnlich wie หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136

ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Yuwadee
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfSitthichaiChaikhan
 
Di5 qbdrgs su9ylxo709squaumcqn0mjw4ak5k9eo6fnlvdk6ylubmoawbcoxthuy
Di5 qbdrgs su9ylxo709squaumcqn0mjw4ak5k9eo6fnlvdk6ylubmoawbcoxthuyDi5 qbdrgs su9ylxo709squaumcqn0mjw4ak5k9eo6fnlvdk6ylubmoawbcoxthuy
Di5 qbdrgs su9ylxo709squaumcqn0mjw4ak5k9eo6fnlvdk6ylubmoawbcoxthuyeakaratkk
 
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพPreeya Leelahagul
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยDMS Library
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกนายสามารถ เฮียงสุข
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 sspravina Chayopan
 

Ähnlich wie หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136 (20)

ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
Di5 qbdrgs su9ylxo709squaumcqn0mjw4ak5k9eo6fnlvdk6ylubmoawbcoxthuy
Di5 qbdrgs su9ylxo709squaumcqn0mjw4ak5k9eo6fnlvdk6ylubmoawbcoxthuyDi5 qbdrgs su9ylxo709squaumcqn0mjw4ak5k9eo6fnlvdk6ylubmoawbcoxthuy
Di5 qbdrgs su9ylxo709squaumcqn0mjw4ak5k9eo6fnlvdk6ylubmoawbcoxthuy
 
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
News phli bv2n3
News phli bv2n3News phli bv2n3
News phli bv2n3
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
 
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
 

หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136

  • 1. งานวิจัย ประเภทขยะส่วนใหญ่เป็นถุงพลาสติก สอดคล้องกับสมบัติ ชมพูน้อย (2550 )พบว่าขยะที่เหลือจากครัว เรือนส่วนใหญ่เป็นขยะประเภทพลาสติก เศษถุงพลาสติก และกล่องโฟมซึ่งแตกต่างการการศึกษาของ กรรณิกา พุ่มมาก ( 2547) ขยะส่วนใหญ่ประกอบด้วยขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะเป็นพิษ และขยะอันตรายการที่ผลการวิจัย ปรากฏเช่นนี้อาจเนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศของท้องถิ่นมีความส�ำคัญต่อการเกิดมูลฝอยเป็นอย่างมากเพราะมี ส่วนส�ำคัญต่อการประกอบอาชีพหลักของประชาชนในท้องถิ่นนั้นและท�ำให้มีผลแตกต่างของการเกิดมูลฝอยทั้งใน ด้านปริมาณและองค์ประกอบ ขยะที่รีไซเคิลได้ ก�ำจัดโดยเก็บไว้ขายและทิ้งในที่ทิ้งขยะชุมชน สอดคล้องกับผกาวรรณ อินทวงษา ( 2550 )การก�ำจัดขยะแต่ละประเภทหากเป็นขยะที่ขายได้เช่นกระดาษ ขวดแก้ว ขวดพลาสติก ก�ำจัดโดยการเก็บ ขายที่ผลการวิจัยปรากฏเช่นนี้อาจเนื่องมาจากลักษณะนิสัยของประชาชนในท้องถิ่นถ้ามีความรักความสะอาดมี ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ก็มกจะมีการเก็บรวบรวมมูลฝอยให้เป็นทีเ่ ป็นทางไม่ทงเกลือนกลาด ซึงอาจท�ำให้ปริมาณ ั ิ้ ่ ่ มูลฝอยมีมากขึ้น แต่ถ้ามีความรู้จักประหยัดมัธยัธถ์รวมถึงถ้ามีการอบรมให้มีการแยกประเภทขยะมูลฝอย เพื่อน� ำ กลับมาใช้ประโยชน์จะท�ำให้ปริมาณของมูลฝอยลดน้อยลง บทสรุป (Conclusion) การวิจยครังนีมวตถุประสงค์เพือศึกษาปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชมชุนฉวะโคกเลาะ ั ้ ้ีั ่ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ครัวเรือนที่อาศัยอยู่จริงที่บ้านฉวะ หมู่ 4 หมู่ 5 หมู่ 10 บ้านโคกเลาะหมู่ 6 อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 118 ครัวเรือน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random) เครืองมือทีใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสังเกตและสัมภาษณ์การจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนชุมชนฉวะ-โคกเลาะ ่ ่ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .84 ค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.36 ถึง 0.79 ค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.29 ถึง 0.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าประชาชนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 45.72 ปี สถานภาพโสด จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา อาชีพไม่มีอาชีพ สถานภาพในครอบครัวเป็นหัวหน้าครอบครัว รายได้เฉลี่ย 5,000 บาทต่อเดือนและ จ�ำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4 คน ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 52.5 มีทัศนคติในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 99.2 ครัวเรือนส่วนใหญ่ไม่ได้ขายของ คิดเป็นร้อยละ 81.36 ปริมาณขยะเฉลี่ยต่อวัน 0.88 กิโลกรัม ประเภทขยะส่วน ใหญ่เป็นถุงพลาสติก คิดเป็นร้อยละ 97.46 มีวิธีการก�ำจัดขยะ คือขยะเปียกก�ำจัดด้วยวิธีการน�ำไปเลี้ยงสัตว์ และ ทิ้งในที่ทิ้งขยะชุมชน ขยะแห้งและถุงพลาสติกก�ำจัดด้วยวิธีการเผา ขยะที่รีไซเคิลได้ก�ำจัดโดยเก็บไว้ขายและทิ้งใน ที่ทิ้งขยะชุมชน และขยะอันตรายก�ำจัดด้วยการฝัง ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1. จากการวิจยพบว่าประชาชนยังขาดความรูในเรืองการเลือกซืออาหารทีใช้ภาชนะบรรจุเช่นถุงพลาสติก ั ้ ่ ้ ่ เพื่อความสะดวกและง่ายต่อการก�ำจัด ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริมให้ความรู้แก่ประชาชนในการเลือกใช้ ภาชะที่บรรจุอาหารเช่น อาจใช้ใบตองห่อแทนถุงพลาสติกหรือเลือกใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าไปตลาดแทน 2. จากการวิจยพบว่าปริมาณขยะเฉลียต่อวันประมาณ 1 กิโลกรัม ชุมชนฉวะโคกเลาะมีครัวเรือนทังหมด ั ่ ้ 481 ครัวเรือน ใน 1 วันจะมีปริมาณขยะเกิดขึ้นประมาณ 481 กิโลกรัมหรือประมาณครึ่งตันต่อวันหากขยะเหล่านี้ ไม่ได้รบการจัดการทีถกวิธอาจท�ำให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชน ซึงอาจก่อให้เกิดโรคต่างๆเป็นภัยต่อสุขภาพของ ั ู่ ี ่ ประชาชนในชุมชนได้ 101
  • 2. 3. จากการวิจัยพบว่าขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนส่วนใหญ่เป็นถุงพลาสติกซึ่งยากต่อการย่อยสลาย แต่คนใน ชุมชนก�ำจัดโดยวิธีการเผาซึ่งเป็นวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่เหมาะสม หากไม่มีการแก้ไขที่ถูกต้อง อาจเกิดเป็น ปัญหามลพิษในชุมชนได้ ข้อเสนอแนะส�ำหรับการศึกษาครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาความต้องการการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนเพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนในการแก้ไขปัญหา ขยะมูลฝอยในชุมชนต่อไป กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) งานวิจัยฉบับนี้ส�ำเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก คุณประสิทธิ์ มณีโสม นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ ที่ ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ อ่านและตรวจแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ตลอดจนข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์และให้ก�ำลังใจแก่ ผู้วิจัยด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่งเสมอมาผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบสาธารณสุขอ�ำเภอหนองพอก และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านฉวะทุกคน ที่ให้ก�ำลังใจแก่ผู้วิจัยด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่งเสมอมา นอกเหนือที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยขอขอบคุณอาสาสมัครสาธารณสุข ตลอดจนผู้ป่วยเบาหวานทุกคน ที่ให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูลและร่วมกันทดลองใช้เครื่องมือในการวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง(References) กรรณิกา พุ่มมาก . พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์. ศศ.ม. อุตรดิตถ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 2547. กาบแก้ว ปัญญาแก้ว . การมีสวนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอยในพืนทีเ่ ขตเทศบาลเกาะคา จังหวัดล�ำปาง. ่ ้ วิทยานิพนธ์.ร.ม. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2554. จีระพรรณ สุขศรีงาม .ชีวสถิติ. มหาวิทยาลัยมหาสาราคม,2552. ชม ภูมิภาค .จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานิช,2516. ธีระพร อุวรรณโณ . จิตวิทยาสังคม.กรุงเทพ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2529. นันทพร มณีรตน์ . การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอ ั เสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด.วิทยานิพนธ์. วท.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2551. ผกาวรรณ อินทวงษา . การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต� ำบลจ�ำปา อ�ำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ . รป.ม. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2550. ราตี กุณา . การศึกษาวิธีการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในพื้นที่ต�ำบลควร อ�ำเภอปง จังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์. รป.ม. อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์,2547. สมบัติ ชมพูน้อย . รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลงิ้วงาม จังหวัด อุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์. ศศ.ม. อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์,2550. สันต์ ไชยกาล . แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างยั่งยืนของเทศบาลต�ำบลห้วยขยะพุง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี .วิทยานิพนธ์ .รป.ม. ขอนแก่น. : มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2550. เอกนรินทร์ กลิ่นหอม. การศึกษาความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการจัดการจัดการขยะของประชาชนในเขตต�ำบล จันจร้า อ�ำเภอแม่จน จังหวัดเชียงราย . วิทยานิพนธ์. วท.ม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย,2553. ั 102
  • 3. งานวิจัย ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรม การป้องกันโรคเบาหวานของประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน บ้านค�ำโพนสูง ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ณัฐณิชานันท์ สุขพร้อม นักวิชาการสาธารณสุข รพ.สต. ค�ำโนนสูง บทคัดย่อ การวิจยครังนีมวตถุประสงค์เพือพัฒนาโปรแกรมการป้องกันโรคเบาหวานของกลุมเสียง และเพือทดลอง ั ้ ้ีั ่ ่ ่ ่ และประเมินผลการใช้โปรแกรมการป้องกันโรคเบาหวานของกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมายได้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จ�ำนวน 30 คนซึ่งได้มาจากการเลือกสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling)เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เป็นแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน และโปรแกรมการป้องกันโรคเบาหวานของกลุ่มทดลอง วิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติ Paired T-test ผล วิเคราะห์ข้อมูลได้จากการเปรียบเทียบสองกลุ่มที่มีตัวแปรอิสระ โดยการรวบรวมข้อมูลจากแนวคิดการดูแลสุขภาพ แบบองค์รวม และทฤษฎีส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ น�ำมาสร้างเป็นรูปแบบทดลองปฏิบัติจริง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มควบคุมมีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 62.91 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า กลุ่มควบคุมมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร คิดเป็น ร้อยละ 53.4 และกลุ่มควบคุมมีพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 14.0 ส่วนพฤติกรรมการคลายเครียด คิดเป็นร้อยละ 32.6 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า กลุ่มควบคุมมีพฤติกรรมในการป้องกันโรคเบาหวานอยู่ใน ระดับปานกลาง จ�ำนวน 11 ข้อ กลุ่มทดลอง พบว่า มีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน หลังการใช้โปรแกรมโดยรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน อยู่ในระดับสูง จ�ำนวน 21 ข้อ ซึ่งกลุ่มทดลองมีการรับรู้สาเหตุโรคเบาหวาน การป้องกัน และปฏิบัติตนที่ถูกต้องเพิ่มมากขึ้น ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลให้การด�ำเนินชีวิตและสภาวะสุขภาพของประชาชนไทย เปลี่ยนแปลงไปทั้งในทางบวกและทางลบ กล่าวคือ ประชาชนมีอายุไขเฉลี่ยเพิ่มขึ้น การเจ็บป่วยและเสียชีวิตจาก โรคติดเชื้อลดลง แต่เจ็บป่วยและเสียชีวิตจากโรคไร้เชื้อเพิ่มมากขึ้น เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิต โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และอุบัติเหตุต่างๆ สาเหตุการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าวมีสาเหตุที่ส�ำคัญ มาจาก การมีพฤติกรรมสุขภาพทีไม่ถกต้องของประชาชนเป็นส่วนใหญ่และพฤติกรรมสุขภาพทีไม่เหมาะสม ท�ำให้เกิดปัญหา ่ ู ่ สุขภาพของบุคคลและครอบครัวหรือปัญหาสาธารณสุข ดังรายงานในปี พ.ศ. 2548 พบมีผเู้ สียชีวตจากโรคไม่ตดต่อ ิ ิ ร้อยละ 60 (ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ. 2552.) ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้วิเคราะห์ข้อมูลและอัตราตายด้วย โรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขส�ำคัญของประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2540-2550 นั้น พบว่า จ�ำนวนอัตราตาย ด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจาก 148.7 ต่อประชากรแสนคนใน พ.ศ.2540 เป็น 650.4 ต่อประชากรแสนคนใน 103
  • 4. พ.ศ.2550 (ส�ำนักงานโรคไม่ติดต่อ. 2552.) จากการส�ำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจ ร่างกายครั้งที่ 4 พบว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความชุกของโรคเบาหวานในเพศหญิงร้อยละ 8.1 เพศชาย ร้อยละ 6.8 สูงเป็นอันดับ 2 ของประเทศ (ส�ำนักงานส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทย. 2551.) จากรายงานข้อมูล และสถิติของส�ำนักงานโรคไม่ติดต่อพบว่าใน พ.ศ. 2552 จังหวัดร้อยเอ็ดมีจ�ำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานจ�ำนวน 11,836 ราย อัตรา 905.11 ต่อประชากรแสนคน จากสถิติอ�ำเภอหนองพอกมีอัตราผู้ป่วยเบาหวานจ�ำนวน 1,568 ราย อัตรา 119.95 ต่อประชากรแสนคน (ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด. 2551.) โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูงมีอตราผูปวยด้วยโรคเบาหวาน จ�ำนวน 89 ราย (สถานีอนามัยบ้านค�ำโพนสูง. 2554.) ั ้ ่ จากการตรวจคัดกรองสุขภาพของประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบของรพ.สต. บ้านค�ำโพนสูง เมื่อ พ.ศ. 2554 โดยคัดกรองได้ทั้งหมด 3,728 คน มีกลุ่มเสี่ยงด้านรอบเอวเกิน น�้ำตาลเกิน ความดันโลหิตผิดปกติ จ�ำนวนทั้งหมด 605 คน คิดเป็นร้อยละ 46.77 และมีกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานจ�ำนวน 283 คน การศึกษาเรืองพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนจึงเป็นสิงส�ำคัญทีทำให้ทราบถึงสาเหตุ และ ปัจจัย ทีทำให้ ่ ่ ่ � ่ � เกิดการมีพฤติกรรมทางด้านสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ดังนัน เพือลดปัจจัยเสียงทีกอให้เกิดโรคดังกล่าว แนวทางการปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึง ้ ่ ่ ่่ ่ ่ ที่สามารถสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาวะที่ดี ผูทำวิจย จึงได้มการศึกษาความรู้ พฤติกรรมและทัศนคติในกลุมเสียงเบาหวาน และ ในเขตการรับผิดชอบ ้ � ั ี ่ ่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง จ�ำนวน 8 หมู่บ้าน ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัด ร้อยเอ็ด เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปเป็นแนวทางเพื่อด�ำเนินการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อการป้องกันความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ของประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต� ำบล บ้านค�ำโพนสูงต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 2. เปรียบเทียบค่าน�้ำตาลในช่วงเวลาที่ก�ำหนดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quassi Experimental Research) ชนิดสองกลุ่มวัดซ�้ำ โดยมีวิธีการ ด�ำเนินงานวิจัย ดังนี้ รูปแบบการวิจัย รูปแบบการวิจัย ได้วางแผนการศึกษาวิจัยไว้ 2 รูปแบบ คือ 1. ขันวิจย (Research phase) การศึกษาเอกสารและประมวลงานวิจยทีเกียวข้องความรูและพฤติกรรม ้ ั ั ่ ่ ้ การป้องกันโรคเบาหวาน 2. ขั้นพัฒนา (Development phase) การสร้างและทดลองใช้โปรมแกรมการสร้างสุขภาพกับกลุ่ม ทดลอง 104
  • 5. งานวิจัย ขั้นวิจัย (Research phase) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ หมายถึง ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปี ที่มีชื่อในส�ำเนาทะเบียน บ้านและอาศัยอยู่จริงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอ หนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ซึงได้รบการตรวจคัดกรองสุขภาพจากบุคลากรทางด้านสาธารณสุข ทีได้รบการประเมิน ่ ั ่ ั ว่ามีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและได้ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จ�ำนวน 283 คน กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพและได้รับการประเมิน ว่ามีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและได้ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ที่ใช้ในการเข้าเป็นกลุ่มทดลอง คัดเลือกโดยการสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling) ท�ำการสุ่มอย่างง่ายให้ได้ จ�ำนวน 30 คน จัดเป็นกลุ่ม ทดลอง กลุ่มควบคุมได้จากการสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling) จากกลุ่มเสี่ยงที่เหลือ จัดเป็นกลุ่ม ควบคุมให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มทดลองในด้านเพศเดียวกัน อายุต่างกันไม่เกิน 3 ปี น�้ำหนักตัวต่างกันไม่เกิน 3 กิโลกรัม และรอบเอว และท�ำการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราค(Cronbach’s Alpha Coeffcient) ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.85 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. โปรมแกรมการสร้างเสริมสุขภาพซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นตามแบบจ� ำลองการสร้างเสริมสุขภาพของ เพนเดอร์ (Pender,2011)ประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้ 1) การให้ความรู้เกียวกับเรื่องโรคเบาหวานด้านโภชนาการและ ่ การออกก�ำลังกายในสัปดาห์แรกเพื่อให้กลุ่มทดลอง เกิดการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้ความสามารถ แห่งตน การสร้างอารมณ์ที่เกี่ยวข้อง 2) การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านการออกก�ำลังกายในสัปดาห์แรกเพื่อ ให้เกิดการรับรู้ความสามารถแห่งตน 3) การบันทึกการออกก�ำลังกาย น�้ำหนักตัว รอบเอว ค่าน�้ำตาลในแต่ละสัปดาห์ เพื่อให้เกิดการสร้างอารมณ์ที่เกี่ยวข้องและเกิดการรับรู้ความสามารถแห่งตน 4) ครอบครัวกับเพื่อนชี้ชวนลดพุงใน สัปดาห์ที่ 2-16 เพื่อให้เกิดอิทธิพลระหว่างบุคคล 5) หอกระจายข่าวชุมชน 2. แบบสอบถามพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันกลุ่มอาการเสี่ยงเบาหวาน ในด้านการบริโภค อาหาร ด้านการออกก�ำลังกาย ด้านการจัดการความเครียด เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงเบาหวาน ซึ่งได้แบบสอบถาม ของคุณเพ็ญศรี พงษ์ประภาพันธ์(2553) ค�ำถามเป็นมาตราประมาณค่า 4 ระดับ จ�ำนวน 40 ข้อ ลักษณะของค�ำถาม เป็นแบบปลายปิด ให้เลือกตอบเพียงค�ำตอบเดียวตามระดับการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ตอบ คือ ปฏิบัติเป็นประจ�ำ 5 ครั้งขึ้นไปใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 3-4 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 1-2 ครั้ง ใน 1 สัปดาห์ ไม่เคยปฏิบัติเหตุการณ์นั้นเลย การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา จาก ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท่าน แบบสอบถามพฤติกรรมได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.89 และน�ำไปทดสอบหา ความเที่ยงกับประชาชนบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 30 รายและมี คุณสมบัตคล้ายกันกับกลุมตัวอย่างดังได้กล่าวแล้ว และท�ำการหารค่าสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบราค (Cronbach’s ิ ่ ์ Alpha Coefficient)ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.85 105
  • 6. การสร้างเครื่องมือ - ศึกษารายละเอียดจากเอกสาร ต�ำรา บทความ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตามกรอบ แนวคิดและวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเป็นข้อมูลในการสร้างแบบสอบถาม แล้วรวบรวมและด�ำเนินการร่าง แบบสอบถาม การหาคุณภาพเครื่องมือ - หาความตรงของเนื้อหา (Content Validity) โดยน�ำแบบสอบถามที่สร้างเสร็จแล้วให้ผู้เชี่ยวชาญที่ มีความรู้และมีประสบการณ์สูง จ�ำนวน 3 ท่าน ได้ท�ำการตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหาและความเข้าใจของ ภาษาของแบบสอบถาม และน�ำมาแก้ไขปรับปรุงตามค�ำแนะน�ำของผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นน�ำไปทดลองใช้ - หาความเที่ยง (Reliability) โดยน�ำแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้ว ไปทดสอบใช้ (Try Out)ในกลุ่ม ประชากรบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 30 คน โดยน�ำแบบสอบถาม เกียวกับแบบแผนความรูและพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน จากนันหาค่าความเชือมัน โดยวิธหาค่าคงทีภายใน ่ ้ ้ ่ ่ ี ่ ด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบราค (Cronbach) วิธีด�ำเนินการวิจัยช่วงแรก 1. ติดต่อประสานงานกับประธานอาสาสมัครสาธารณสุข เพือท�ำการประสานงานในการนัดกลุมเป้าหมาย ่ ่ 2. เตรียมความพร้อมแก่กลุ่มตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ในการวิจัยและเพื่อสร้างความเข้าใจใน ตัวแปรที่จะไปท�ำการสัมภาษณ์ 3. วิเคราะห์และสรุปปัญหาของผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นพัฒนา (Development phase) กลุ่มทดลองมีขั้นตอนดังนี้ 1. ผู้วิจัยนัดกลุ่มเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรมแกรมในขั้นตอนที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 ในสัปดาห์ที่ 1 โดย การเข้ากระบวนการกลุ่ม มีผู้วิจัยเป็นผู้ด�ำเนินการตามรายละเอียดของโปรแกรมและมีทะเบียนบันทึกข้อมูลสุขภาพ ซึ่งผู้วิจัยจัดท�ำขึ้น 2. ผู้วิจัยนัดกลุ่มท�ำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพครั้งที่ 2, 3 และ 4 ใน สัปดาห์ที่ 4, 8 และ 16 พร้อมเก็บข้อมูลแบบสอบถามพฤติกรรม น�้ำหนักตัว ดัชนีมวลกายและรอบเอว และแจ้ง การสิ้นสุดโปรแกรม ในสัปดาห์ที่ 12 กลุ่มควบคุมมีขั้นตอนดังนี้ ผูวจยแนะน�ำตัว อธิบายวัตถุประสงค์การวิจยขันตอนการด�ำเนินการวิจย ขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล ้ิั ั ้ ั สุขภาพและตอบแบบสอบถามพฤติกรรม นัดอีกครั้งในสัปดาห์ที่ 4, 8 และ 12 เพื่อเก็บข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถาม พฤติกรรมโดยกลุ่มควบคุมจะได้รับความรู้เรื่องการป้องกันโรคเบาหวานจากเจ้าหน้าที่ประจ�ำโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 1. ชุดกิจกรรม ผู้วิจัยได้ก�ำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการทดลองของกลุ่มตัวอย่าง เป็นชุดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันโรคเบาหวาน จากข้อมูลของแบบสัมภาษณ์น�ำประเด็นส�ำคัญที่ได้ มาเป็นข้อมูลใน การสร้างชุดกิจกรรม และทดลองใช้ พร้อมทั้งประเมินผลชุดกิจกรรม 106
  • 7. งานวิจัย ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน เพื่อให้กลุ่มตัวอย่าง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความหมาย สาเหตุ อาการ โรคแทรกซ้อนและผลกระทบของโรค ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่องพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคและวิธีการป้องกันโรคเบาหวาน เพื่อให้ กลุ่มตัวอย่าง เข้าใจถึงวิธีการป้องกันโรคเบาหวานที่ถูกต้อง 2. แบบประเมินชุดกิจกรรม ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น โดยการศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยข้อมูล 3 ส่วน ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล วิธีการแปลผลข้อมูล ผู้ศึกษาด�ำเนินการศึกษาข้อมูลจากเครื่องมือวิจัยที่ได้รับจากกลุ่มตัวอย่าง ในเขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด โดยใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมส�ำเร็จรูป การวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ได้วิเคราะห์ตามขั้นตอนและกระบวนการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม เมื่อเก็บข้อมูลแล้วน�ำแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมส�ำเร็จรูป 2. วิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างโดยค�ำนวณค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ เป็นต้น ส่วนที่ 2 แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร มีทั้งหมด 10 ข้อ มี 4 ตัวเลือก คือ ปฏิบัติเป็นประจ�ำ 5 ครั้งขึ้นไปใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 3-4 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 1-2 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ไม่เคยปฏิบัติเหตุการณ์นั้นเลย ส่วนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย มีทั้งหมด 10 ข้อ มี 4 ตัวเลือก คือ ปฏิบัติเป็นประจ�ำ 5 ครั้งขึ้นไปใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 3-4 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 1-2 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ไม่เคยปฏิบัติเหตุการณ์นั้นเลย ส่วนที่ 4 แบบสอบถามพฤติกรรมการคลายเครียด มีทั้งหมด 10 ข้อ มี 4 ตัวเลือก คือ ปฏิบัติเป็นประจ�ำ 5 ครั้งขึ้นไปใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 3-4 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติเป็นบางวัน 1-2 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ไม่เคยปฏิบัติเหตุการณ์นั้นเลย การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในงานวิจัย วิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�ำเร็จรูปโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวนแบบวัดซ�้ำ (repeated measure ANOVA) สถานที่ในการด�ำเนินการวิจัย หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านค�ำโพนสูง ต�ำบลกกโพธิ์ อ�ำเภอ หนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 8 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านค�ำโพนสูง บ้านโพนวิลัย บ้านบะยาว บ้านกุดเต่า บ้าน กุดทรายดี บ้านหนองผักแว่น บ้านวังใหญ่และบ้านวังใหม่ 107
  • 8. ผลวิจัย ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปด้านคุณลักษณะทางประชากร เพศ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นเพศหญิง ร้อยละ63.3 และเพศชาย ร้อยละ 36.7 อายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 41-45 ปี ร้อยละ 43.3และน้อยที่สุด 46-50 ปี ร้อยละ 3.3 ตามล�ำดับ ระดับการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษาร้อยละ 73.3 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นร้อยละ 16.7 มัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ6.7 และน้อยที่สุดคือปริญญาตรี ร้อยละ3.3 อาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 56.7 รองลงมามีอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 33.3 และ น้อยที่สุดมีอาชีพรับราชการ ร้อยละ 3.3 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว พบว่า ส่วนใหญ่มีรายได้ต�่ำกว่า 5,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 76.7 น้อยที่สุดมีรายได้ 15,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 3.3 อ้วน (BMI ≥ 25 กก./ ม2) พบว่า ส่วนใหญ่อ้วน ร้อยละ 58.2 และไม่อ้วน ร้อยละ 41.8 ระดับน�้ำตาลในเลือดก่อนเข้าร่วมโครงการ พบว่า ส่วนใหญ่จะมีระดับน�้ำตาล 110-119 mg/dl ร้อยละ50.0 และรองลงมา จะมีระดับน�้ำตาล 100-109 mg/dl ร้อยละ 36.7 และน้อยที่สุดคือ 120 mg/dl ขึ้นไป ร้อยละ 13.3 ระดับน�้ำตาลในเลือดหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่า ส่วนใหญ่จะมีระดับน�้ำตาลน้อยกว่า 100 mg/dl ร้อยละ66.7 และรองลงมา มีระดับน�้ำตาล 100-109 mg/dl ร้อยละ30.0 และน้อยที่สุดคือ 110 -119mg/dl ร้อยละ 3.3 ตาราง 1 จ�ำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มทดลองจ�ำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (n=30) ลักษณะทางประชากร จำ�นวน( n=30 คน) ร้อยละ เพศ ชาย 11 36.7 หญิง 19 63.3 อายุ 35 - 40 ปี 4 13.3 41 - 45 ปี 13 43.3 46 – 50 ปี 6 20 50 ปี ขึ้นไป 7 23.4 ระดับการศึกษาสูงสุด ประถมศึกษา 22 73.3 มัธยมศึกษาตอนต้น 5 16.7 มัธยมศึกษาตอนปลาย 2 6.7 อนุปริญญา/ประกาศณียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 1 3.3 อื่นๆ(ปริญญาตรี) 0 0 108
  • 9. งานวิจัย ตาราง 1 จ�ำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มทดลองจ�ำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (n=30) (ต่อ) ลักษณะทางประชากร จำ�นวน (n=30 คน) ร้อยละ อาชีพ ไม่ได้ทำ�/อยู่บ้าน 2 6.7 รับจ้าง 10 33.3 รับราชการ 1 3.3 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว ต่ำ�กว่า 5,000 บาท 23 76.7 5,001 – 10,000 บาท 5 16.7 10,001 – 15,000 บาท 1 3.3 สูงกว่า 15,000 บาท 1 3.3 อ้วน (BMI ≥ 25 กก./ม2) ไม่อ้วน 18 60.0 อ้วน 12 40.0 ระดับน�้ำตาลก่อนเข้าร่วมโครงการ ต่ำ�กว่า 100 mg/dl 0 0 100-109 mg/dl 11 36.7 110-119 mg/dl 15 50.0 120 mg/dl ขึ้นไป 4 13.3 ระดับน�้ำตาลหลังเข้าร่วมโครงการ ต�่ำกว่า 100 mg/dl 20 66.7 100-109 mg/dl 9 30.0 110-119 mg/dl 1 3.3 120 mg/dl ขึ้นไป 0 0 109
  • 10. ตาราง 2 ผลวิเคราะห์ของผู้ตอบแบบสอบถามการเปรียบเทียบคะแนนด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (n=30) กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม T P ข้อความ value valuea X S.D X S.D 1. ดื่มน�้ำหวาน น�้ำอัดลม ชา กาแฟ น�้ำปั่นความ 3.4 0.77 2.3 0.83 24.18 .001* อ้วนไม่ใช่สาเหตุของโรคเบาหวาน 2. กินอาหารหวานหรือขนมหวานที่ปรุงด้วยกะทิ 3.3 0.70 2.06 0.69 25.74 .001* 3. กินอาหารทอด เช่น ไก่ชุบแป้งทอด 3.16 0.79 2.33 0.6 21.9 .001* 4. กินอาหารผัด เช่น ผัดผัก ผัดซีอิ้ว 3.16 0.64 2.2 0.7 26.77 .001* 5. กินเนื้อติดมัน เช่น แค็ปหมู หมูกรอบ 4.5 7.12 2.2 0.76 3.46 .002 6. กินผลไม้ เช่น ทุเรียน ละมุด ลำ�ไย 3.3 0.74 3.03 0.8 24.1 .133 7. กินอาหารที่ใส่น�้ำตาล เช่น แยม เยลลี่ 3.1 0.71 2.3 0.79 23.84 .001* 8. ดื่มน�้ำเปรี้ยว ครีม นมข้นหวาน 3.5 0.56 2.4 0.73 34.37 .006 9. กินอาหารครบ 3 มื้อใน 1 วัน 3.8 0.4 3.1 0.79 51.15 .083 10. กินอาหาร ขนมขบเคี้ยว ขนมกรอบ 3.8 0.37 3.06 0.86 55.39 0.001* 11. กินอาหารไขมันสูง เช่น ข้าวขาหมู ข้าวมันไก่ 3.7 0.52 2.0 0.85 39.26 0.001* 12. กินอาหารหลากหลายไม่ซ�้ำกันครบ 5หมู่ 3.36 0.61 2.33 0.8 29.98 0.001* 13. รับประทานอาหารที่มีรสหวานจัดเช่นการ 3.4 0.62 2.03 0.85 30.0 0.001* ปรุงอาหารคาวแล้วเติมน�้ำตาลด้วย 14. กินปลา ไข่ขาว เนื้อไก่ต้มไม่ติดมัน 3.4 .72 2.33 .88 25.83 .133 15. ดื่มนมจืด นมพร่องมันเนย วันละ 1 แก้ว 1.6 0.67 1.56 0.77 12.99 .083 16. เติมน�้ำปลา น�้ำตาล ในการกินก๋วยเตี๋ยว 3.03 0.85 1.6 0.66 19.54 .38 17. เคี้ยวอาหารช้าๆ ในการทานอาหาร 3.46 0.62 2.26 0.9 30.19 .001* 18. กินอาหารเมื่อรู้สึกหิว 3.7 0.53 2.03 0.8 37.88 .001* 19. กินอาหารประเภทผัดมากกว่าเนื้อทุกชนิด 3.4 0.62 1.96 0.76 29.96 .012 20. กินข้างกล้องแทนข้าวขัดขาว 1.43 0.56 1.23 0.5 13.81 .35 เฉลี่ยโดยรวม 65.73 6.54 44.56 3.75 -14.3 .001* จากตารางพบว่ามีนยส�ำคัญทางสถิตที่ .05 กลุมทดลองมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการใช้โปรแกรม ั ิ ่ โดยรวมเพิ่มขึ้น (p-value<.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน โรคเบาหวาน เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 11 ข้อ (p-value<.05) แต่กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร จ�ำนวน 9 ข้อ ไม่แตกต่างกัน 110
  • 11. งานวิจัย ตาราง 3 ผลวิเคราะห์ของผู้ตอบแบบสอบถามการเปรียบเทียบคะแนนด้านพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย (n=30) กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม T P ข้อความ value valuea X S.D X S.D 1. เดินเร็วต่อเนื่อง วันละ 30-40 นาที 3.2 09.6 1.76 0.67 25.85 .001* 2. เดินหลังมื้ออาหารวันละ 2-3 ครั้งต่อวันเป็น 2.9 0.7 1.66 0.7 22.31 .001* อย่างน้อย 20 นาที 3. เล่นกีฬา เช่น เตะบอล ตะกร้อ วิ่งเยาะๆอย่างน้อย 2.6 0.76 1.66 0.75 18.85 .001* วันละ 30-40 นาที 4. มีการเคลื่อนไหวในการทำ�งานบ้านงานอาชีพ เช่น 2.8 0.66 1.6 0.72 23.08 .001* ทำ�งานบ้าน/ทำ�สวน/ทำ�ไร่/ทำ�นา/ขี่จักรยานหรือเดิน ไปทำ�งานจนรู้สึกเหนื่อยกำ�ลังดีสะสมอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน 5. ไปเล่นกีฬาหรือออกกำ�ลังกายตามลำ�พัง 3.4 0.62 1.43 0.56 29.96 .59 6. ดูโทรทัศน์วันละมากกว่า 2 ชม. 3.2 0.67 1.93 0.8 26.0 .083 7. ไม่เคยออกกำ�ลังกายจนมีเหงื่อ 3.7 0.43 1.56 0.56 47.95 .001* 8. มีการยืดเหยียด เช่น การก้มเอามือแตะพื้น 3.5 0.62 1.5 0.5 30.44 .001* ประสานมือไว้เหนือศีรษะหลังดันขึ้น การก้มลงเอามือ แตะพื้น การเหยียดและฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ต่อเนื่องกันสัปดาห์ละ 2-3 วัน 9. ออกกำ�ลังกายหรือเล่นกีฬา (ด้วยความแรงระดับ 2.5 0.68 1.96 0.7 20.36 .38 หนักคือเหนื่อยหอบ หรือไม่ สามารถพูดคุยกับคน ข้างเคียงได้จบประโยคขณะออกกำ�ลังกาย)อย่างน้อย สัปดาห์ละ 2-3วัน อย่างน้อยวันละ 2 นาที 10. ออกกำ�ลังกายหรือเล่นกีฬา (ด้วยความแรงระดับ 2.9 0.6 2.1 1.9 26.15 0.012 ปานกลางคือเหนื่อย พูดคุยกับคนข้างเคียงได้จบ ประโยค)อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที เฉลี่ยโดยรวม 30.93 2.55 17.26 3.17 9.74 .466 จากตารางพบว่ามีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ .05 กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการออกก�ำลังกายหลังการใช้ โปรแกรมโดยรวมเพิ่มขึ้น (p-value<.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรู้เกี่ยวกับ การป้องกันโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 6 ข้อ (p-value<.05) แต่กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย จ�ำนวน 4 ข้อไม่แตกต่างกัน 111
  • 12. ตาราง 4 ผลวิเคราะห์ของผู้ตอบแบบสอบถามการเปรียบเทียบคะแนนด้านการคลายเครียด (n=30) กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม T p- ข้อความ value valuea X S.D X S.D 1. ท่านมีงานอดิเรกเป็นประจำ�เช่นการปลูก 3.0 0.74 1.5 0.57 22.12 .006 ต้นไม้ สะสม เลี้ยงสัตว์ 2. เมื่อท่านมีอาการเครียด ท่านจะระบายให้ 3.6 0.49 1.7 0.63 39.57 0.001* คนที่ไว้ใจได้ฟัง 3. ท่านชอบฟังเพลง 3.66 0.47 1.7 0.56 41.88 .55 4. เมื่อท่านมีอาการเครียด ท่านจะเก็บ 3.7 0.46 1.7 0.74 43.48 0.001* ความรู้สึกไว้คนเดียว 5. ท่านมีความคับข้องใจ ความโกรธ 3.5 0.5 2.5 0.86 38.14 .012 ความเสียใจ ไม่พอใจ 6. ท่านทำ�จิตใจให้ผ่อนคลายเพลิดเพลิน เช่น 3.6 0.49 2.0 0.64 39.57 .001* หารฟังเพลง นั่งสมาธิ ฟังเทศน์ 7. ท่านนึกคิดในเรื่องใดๆซ้ำ�ๆ ติดต่อกันเป็น 3.4 0.62 2.0 0.8 29.96 .083 เวลานานไม่สามารถขจัดออกไปได้ 8. ท่านคิดใช้วิธีคลายเครียด โดยการฝึก 2.5 0.57 2.0 0.87 24.28 .001* หายใจ การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หรือวิธีอื่นๆ 9. ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เมื่อรู้สึกโกรธไม่ 3.46 0.62 2.1 0.74 30.19 .011 ขว้างปาสิ่งของ ไม่เอะอะโวยวาย 10. มีกิจกรรมสันทนาการร่วมกับ 3.0 0.8 2.1 0.64 20.29 .65 กลุ่มเครือข่ายของตน เช่น เพื่อนเก่า เพื่อนร่วมงาน เฉลี่ยโดยรวม 33.56 2.14 19.63 2.48 27.34 .001* จากตารางพบว่ามีนยส�ำคัญทางสถิตที่ .05 กลุมทดลองมีพฤติกรรมการคลายเครียดหลังการใช้โปรแกรม ั ิ ่ โดยรวมเพิ่มขึ้น (p-value<.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน โรคเบาหวาน เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 4 ข้อ (p-value<.05) แต่กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการคลายเครียด จ�ำนวน 6 ข้อ ไม่แตกต่างกัน 112
  • 13. งานวิจัย สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล โปรแกรมสุขศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยประยุ ก ต์ ใช้ ท ฤษฎี แรงจู ง ใจเพื่ อ ป้ อ งกั น โรคของโรเจอร์ ส มีประสิทธิผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานของกลุ่มเสี่ยง ทั้งทางด้านความรู้ เจตคติและการปฏิบัติ บรรณานุกรม เพ็ญศรี พงษ์ประภาพันธ์ สุวิมล แสนเวียงจันทร์ ประทีป ปัญญา. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์ รวมของผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวัดปุรณาวาส, 2553. 113
  • 14. สภาวะการสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารในเขต รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด นางสาวเสาวณีย์ สีหาบุญจันทร์ นักวิชาการสาธารณสุข รพ.สต.บ้านดงบัง บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร และหา แนวทางในการแก้ปัญหาการสุขาภิบาลอาหารด้านกายภาพของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ในเขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ผู้สัมผัสอาหารประเภทแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร จ�ำนวน 20 แผงลอย ผู้สัมผัสอาหาร 27 คนซึ่งได้มาจากการ เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามความรู้ การปฏิบัติตาม ข้อก�ำหนดการสุขาภิบาลอาหาร โดยผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือของกาญจนี บุณยวงศ์วิโรจน์ (2548) แบบสอบถามแบ่ง เป็น 3 ส่วนคือ ข้อมูลทั่วไป ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร และแบบตรวจ ร้านอาหารตามข้อก�ำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ระยะวิจัย พบว่า ผู้สัมผัสอาหารส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 59.3 มีอายุอยู่ระหว่าง 36 – 45 ปี มีสถานภาพสมรส ร้อยละ 96.3 จบการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 55.6 ประกอบการจ�ำหน่าย อาหารแผงลอยมาเป็นเวลา 2 ปีขึ้นไป ร้อยละ 55.6 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 6,001-8,000 บาท ร้อยละ 37 ไม่เคยเข้ารับการอบรมเกียวกับงานสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 63 บทบาทหน้าทีในร้านอาหารส่วนใหญ่เป็นผูประกอบ ่ ่ ้ การ/เจ้าของร้าน ร้อยละ 48.1 การรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารผ่านทางสื่อโทรทัศน์/วิทยุ ร้อยละ 70.4 ผลการศึกษาด้านความรู้เกี่ยวกับข้อก�ำหนดงานสุขาภิบาลอาหารเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่ผู้สัมผัส อาหารตอบผิดมากที่สุดคือ จัดให้มีถังขยะขนาดที่เหมาะสม ไม่จ�ำเป็นต้องมีฝาปิด ร้อยละ 48.1 ผล การศึกษาด้านการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลที่ผู้สัมผัสอาหารปฎิบัติน้อยที่สุดในเรื่อง เมื่อมีคนในบ้านป่วยก็ให้นั่งรับ ประทานอาหารร่วมกับคนอื่นตามปกติ โดยใช้ช้อนกลาง และการก�ำจัดขยะ เศษอาหาร น�้ำเสีย ท่านจะใส่ถังขยะมี ฝาปิดมีบ่อดักไขมันจากน�้ำเสียก่อนแล้วจึงปล่อยลงร่องน�้ำสาธารณะ ร้อยละ 22.2 ระยะพัฒนา พบว่า ผลการตรวจสภาวะการสุขาภิบาลอาหารด้านกายภาพ พบว่า แผงลอยจ� ำหน่าย อาหารผ่านมาตรฐานตามข้อก�ำหนดพืนฐานแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารน้อยทีสด คือ ผูสมผัสอาหารแต่งกายสะอาด สวม ้ ุ่ ้ั เสื้อมีแขน ผู้ปรุงต้องผูกผ้ากันเปื้อน และสวมหมวกหรือเน็ทคลุมผม ร้อยละ 95 114
  • 15. งานวิจัย ค�ำส�ำคัญ สภาวะสุขาภิบาลอาหาร หมายถึง สภาพการต่างๆทางด้านสิงแวดล้อมทัวไปของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ่ ่ ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต� ำบลบ้านดงบัง ที่มีผลก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดการปนเปื้อน อาหารได้ แผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร หมายถึง สถานที่ตั้งบนพื้นที่ ทางสาธารณะ มีการขายเป็นประจ�ำในบริเวณที่ แน่นอน มีการเตรียม ปรุงประกอบ จ�ำหน่าย ณ บริเวณที่ตั้งแผง เป็นการจ�ำหน่ายอาหารที่พร้อมบริโภค บนโต๊ะหรือ แผงใช้วางอาหารเพื่อจ�ำหน่ายในบริเวณใต้อาคารบ้านเรือน ส�ำหรับจ�ำหน่ายอาหาร น�้ำแข็ง เครื่องดื่มอย่างใด อย่างหนึ่ง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ผูสมผัสอาหาร หมายถึง ผูเตรีม ผูปรุง ผูเสิรฟอาหาร หรือผูลางภาชนะบรรจุอาหารในแผงลอยจ�ำหน่าย ้ั ้ ้ ้ ์ ้้ อาหาร เกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร หมายถึง เกณฑ์มาตรฐานตามข้อก�ำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารส�ำหรับ ร้านอาหารแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร จ�ำนวน 15 ข้อ (ตามมาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข) การตรวจประเมินด้านกายภาพ หมายถึง หลักเกณฑ์ที่ใช้ตรวจมาตรฐานทางกายภาพของแผงลอย จ�ำหน่ายอาหาร จ�ำนวน 12 ข้อ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่น ใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ตามแบบตรวจแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารทางแบคทีเรีย ของกองสุขาภิบาล อาหาร กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข บทน�ำ ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา อาหาร เป็นปัจจัยสี่ของมนุษย์ซึ่งมีความจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิต ร้านอาหารและแผงลอยจ�ำหน่าย อาหาร เป็นสถานที่มีการผลิตปรุง และจ�ำหน่ายอาหาร เพื่อการบริโภคที่ส�ำคัญของประชาชนทุกคน หากสถาน ประกอบการดังกล่าวมีการจัดสุขาภิบาลอาหารได้ไม่ถูกต้องครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐาน ก็จะส่งผลต่อสุขภาพของ ผู้บริโภคที่มาใช้บริการ เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคของคนในปัจจุบัน บริโภคอาหารโดยไม่ค�ำนึงถึงสุขภาพของ ตนเอง ท�ำให้เกิดโรคต่างๆ ท�ำให้เกิดโรคต่างๆมากมายและเป็นสาเหตุที่ท�ำให้เกิดโรคระบาดต่างๆ เช่น โรคอุจจาระ ร่วงอย่างแรง บิด ไทฟอยด์ และอาหารเป็นพิษซึ่งเป็นปัญหาส� ำคัญ ทางด้านการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อย่างหนึ่ง ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย จึงต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพ ความปลอดภัยอาหารที่ผลิตทุกขั้นตอน ตลอดห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) หรือที่กล่าวว่าจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร (From farm to table) หรือจากฟาร์มสู่ช้อน(From farm to fork) ส�ำหรับระบบการควบคุมตรวจสอบคุณภาพ ความปลอดภัยอาหารของประเทศไทย มีหน่วยงานที่รับผิดชอบและเกี่ยวข้องหลัก 2 กระทรวง ได้แก่ กระทรวง สาธารณสุข และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากความส�ำคัญ ดังกล่าว รัฐบาลจึงมีนโยบายประกาศ ตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นไป เป็นปีแห่งอาหารปลอดภัย ซึ่งได้ก�ำหนดนโยบาย เร่งด่วนในการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อรณรงค์และเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานของอาหารไทย ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและกว้างขวางออกไปทั้งใน 115
  • 16. ประเทศและต่างประเทศ โดยให้มีการรณรงค์เชิญชวน ให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ให้ ความส�ำคัญในเรืองสุขาภิบาลอาหาร ซึงได้ใช้มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหารส�ำหรับร้านอาหารมี 15 ข้อ และส�ำหรับ ่ ่ แผงลอยจ�ำหน่ายอาหารมี 12 ข้อ (กรมอนามัย) จากกการที่กรมอนามัย ได้ด�ำเนินโครงการสุขาภิบาลอาหาร ส่งเสริมการท่องเที่ยว สนับสนุนเศรษฐกิจ ไทย “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” หรือ Clean Food Good Taste ขึ้น ตั้งแต่ พ.ศ.2542 จนถึงปัจจุบัน มีร้าน อาหารและแผงลอยเข้าร่วมโครงการ และได้มาตรฐานไปแล้วทั้งสิ้น 25,502 แห่ง จาก 76 จังหวัด ทั่วประเทศ จาก ทั้งหมด 123,371 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20.67 ซึ่งยังนับว่าต�่ำมาก และการครอบคลุมยังกระจุกตัวอยู่ ในเขตเทศบาล และเมืองใหญ่ๆ ท�ำให้การดูแลสุขภาพประชาชนที่จะสนับสนุนให้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จึงยังไม่ ครอบคลุม(กรมอนามัย.2546) ดังนั้นการด�ำเนินงานสุขาภิบาลอาหาร โดยการให้ความรู้ ฝึกอบรม จัดนิทรรศการ ควบคู่ไปกับการรณรงค์ตามโครงการอาหารอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) โดยการมีส่วน ร่วมของภาครัฐและเอกชน ผูประกอบการร้านอาหาร แผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร เพือเป็นการเสริมสร้างการเตรียมและ ้ ่ ปรุงอาหารจ�ำหน่ายที่สะอาด ปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภคอย่างต่อเนื่องจึงนับว่าเป็นสิ่งส�ำคัญและมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง จากปัญหาดังกล่าวผูวจยจึงศึกษาสภาวะการสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารของหมูบาน ้ิั ่ ้ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัด ร้อยเอ็ด ในด้านข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการที่เป็นผู้สัมผัสอาหาร ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ด้านการปฏิบัติ เกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหาร ตลอดถึงได้ทราบสภาวะสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ซึ่งจะได้มาซึ่ง ข้อมูลประกอบการวางแผนพัฒนาด�ำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในเขตรับผิดชอบ ประชาชนผู้บริโภคเกิดความมั่นใจ ด้านความปลอดภัยของอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร และเป็นแนวทางส�ำหรับสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้กับ ผู้ประกอบการจ�ำหน่ายอาหารประเภทแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารและประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบังได้อย่างถูกต้องจนน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดงาน ของงานสุขาภิบาลอาหารส�ำหรับผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร และน�ำข้อมูลไปใช้ในงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ที่เกิดจากการรับประทานอาหาร ลดผลกระทบด้านสุขภาพและเตรียมความพร้อมในการให้บริการประชาชนต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาสภาวะสุขาภิบาลอาหารของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร และหาแนวทางในการพัฒนาสภาวะ การสุขาภิบาลอาหาร ด้านกายภาพของแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด วิธีการด�ำเนินการวิจัย ลักษณะประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ศึกษาเฉพาะผู้สัมผัสอาหารประเภทแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารในเขต รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดงบัง ต�ำบลหนองขุ่นใหญ่ อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 20 แผงลอย ผู้สัมผัสอาหาร 27 คน ดังตาราง 116