SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 124
Downloaden Sie, um offline zu lesen
METR0360 Mechatronics System Design
Ch2 : Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
2.1 บทนํา
้2.2 ทฤษฎีและวงจรออปแอมป์พื้นฐาน
- คุณสมบัติในอุดมคติของออปแอมป์
- วงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส
- วงจรขยายสัญญาณแบบกลับเฟส
- วงจรขยายผลต่าง
- วงจรรวมสัญญาณแบบกลับเฟส
- วงจรรวมสัญญาณแบบไม่กลับเฟส
2/2556 by psw1999@yahoo.com
METR0360 Mechatronics System Design
Ch2 : Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
2.3 วงจรปรับสภาพสัญญาณ
- วงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์
- วงจรปรับ Zero - Span
- วงจรปรับ Zero - Span ด้วยออปแอมป์ตัวเดียว
2.4 พื้นฐานการแปลงสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิตอล
- Analog to Digital Converter
- Digital to Analog Converter
2/2556 by psw1999@yahoo.com
METR0360 Mechatronics System Design
วัตถุประสงค์ :
เพื่อให้สามารถออกแบบวงจรปรับสภาพสัญญาณได้เพอใหสามารถออกแบบวงจรปรบสภาพสญญาณได
เพื่อให้เข้าใจการเลือกใช้งานวงจรแปลงสัญญาณ
เพื่อสามารถออกแบบวงจรเชื่อมต่อเซนเซอร์เพอสามารถออกแบบวงจรเชอมตอเซนเซอร
เพื่อให้เข้าใจการเลือกใช้อุปกรณ์แปลงสัญญาณ
2/2556 by psw1999@yahoo.com
3
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ํ2.1 บทนํา [1]
รูปที่ 2.1 ภาพรวมการเชื่อมต่อเซนเซอร์เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์
ในระบบควบคมที่มีการประมวลผลด้วยตัวควบคมแบบดิจิตอลหรือคอมพิวเตอร์ในระบบควบคุมทมการประมวลผลดวยตวควบคุมแบบดจตอลหรอคอมพวเตอร
ส่วนประกอบสําคัญหนึ่งก็คือการเชื่อมต่อสัญญาณจากเซนเซอร์เข้ากับระบบซึ่งหากมอง
ในภาพใหญ่แล้วอาจมีลักษณะดังเช่นรปที่ 2 1 ซึ่งประกอบด้วยส่วนสําคัญคือในภาพใหญแลวอาจมลกษณะดงเชนรูปท 2.1 ซงประกอบดวยสวนสาคญคอ
- วงจรปรับสภาพสัญญาณ (Signal Conditioning)
ฮาร์ดแวร์นําสัญญาณเข้าส่ระบบ (Data Acq isition Hard are DAQ Hard are)- ฮารดแวรนาสญญาณเขาสูระบบ (Data Acquisition Hardware : DAQ Hardware)
4
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
Input
่ ป D t A i iti H d ื DAQ ์ ์ ป็ ่
รูปที่ 2.2 ส่วนประกอบของ DAQ Hardware
สวนประกอบของ Data Acquisition Hardware หรอ DAQ ฮารดแวรเปนสวน
สําคัญของการนําข้อมูลจากภายนอกเข้าสู่ตัวควบคุมที่เป็นแบบดิจิตอลโดยมี
่ ป ื้ ั ป ี่ 2 2 ึ่ ไ ้ ่ (A lifi ) ัสวนประกอบพนฐานดงรูปท 2.2 ซงไดแก วงจรขยาย (Amplifier), วงจรกรองสญญาณ
รบกวนด้วยวงจรกรองความถี่ต่ําผ่าน (Low Pass Filter), วงจรสุ่มและคงค่าสัญญาณ
(S l d H ld) ั ป ั ็ ป็ ั ิ ิ (A/D)(Sample and Hold), ตวแปลงสญญาณแอนะลอกเปนสญญาณดจตอล(A/D) และ
หน่วยความจําเพื่อเก็บข้อมูลที่ได้จากการแปลงสัญญาณ 5
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
Signal Conditioning Circuit คือวงจรเชื่อมต่อกับเซนเซอร์เพื่อจัดรูปสัญญาณให้g g ู ญญ
เหมาะสมก่อนนําสัญญาณไปใช้งาน ในระบบเมคคาทรอนิกส์มีความจําเป็นที่ต้องวัด
ปริมาณต่างๆเพื่อป้อนกลับมาให้ตัวควบคุมได้รู้ว่าสภาวะปัจจุบันของระบบทําให้ตัวๆ ุ ู ุ
ควบคุมสามารถควบคุมการทํางานได้ตามคําสั่งที่ป้อนให้กับระบบ ในบทนี้จะอธิบาย
การทํางานและการออกแบบวงจรเพื่อเชื่อมต่อกับเซนเซอร์และการปรับสภาพสัญญาณที่ญญ
ได้จากเซนเซอร์ให้เหมาะกับการประมวลผล โดยสิ่งแรกที่ควรพิจารณาในการออกแบบ
ก็คือเซนเซอร์นั้นมีอะไรเปลี่ยนแปลงเมื่อถูกนําไปวัดปริมาณที่ต้องการ เช่น ความู
ต้านทานเซนเซอร์เปลี่ยน หรือเซนเซอร์ให้เอาต์พุตเป็นกระแสหรือแรงดันที่เปลี่ยนตาม
ปริมาณที่วัด สิ่งที่ต้องคํานึงถึงอีกอย่างก็คือลักษณะของสัญญาณที่ได้หลังการปรับสภาพญญ
สัญญาณแล้วควรเป็นอย่างไร ทั้งสองอย่างนี้เป็นตัวกําหนดลักษณะวงจรในการเชื่อมต่อ
ว่าควรมีคุณสมบัติอย่างไรดังจะอธิบายต่อไปนีุ้
6
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปที่ 2.3 ตัวอย่างลักษณะวงจรปรับสภาพสัญญาณในเชิงพาณิชย์
รูปแบบสัญญาณแอนะล็อกมาตรฐาน
ปริมาณทางไฟฟ้าจากเซนเซอร์กรณีที่เป็นสัญญาณแอนะล็อก สัญญาณเหล่านี้จะถูกู
เปลี่ยนเป็นสัญญาณมาตรฐานในรูปแบบต่างๆที่พบและมีการใช้งานกันในระบบควบคุม
และเครื่องมือวัดได้แก่
แรงดัน 0-10 V , 0-5V , -10 V ถึง +10V , 1 - 5V
สัญญาณกระแส 4-20 mA สําหรับรูปที่ 2.3 เป็นตัวอย่างฮาร์ดแวร์ของตัวปรับู
สภาพสัญญาณที่มีการใช้งานกันและมีผู้ผลิตจําหน่าย
7
ี ื้ ์
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
2.2 ทฤษฎีและวงจรพืนฐานของออปแอมป์ [2]
2
LM741
7
6
+VCC
OP07
3
4
6
-VCC
รูปที่ 2.4 ตัวอย่างสัญลักษณ์ของออปแอมป์และรูปการจัดขา
VCC
ออปแอมป์เป็นอุปกรณ์พื้นฐานในวงจรปรับสภาพสัญญาณที่เชื่อมต่อกับเซนเซอร์
สัญลักษณ์ดังรปที่ 2 4 จะเป็นรปสามเหลี่ยมมีขาต่างๆได้แก่สญลกษณดงรูปท 2.4 จะเปนรูปสามเหลยมมขาตางๆไดแก
- ขาแหล่งจ่ายไฟ ซึ่งอาจะเป็นแบบ Double หรือ Single Supply
ขาอินพตทั้งสอง คือ Inverting ( IN) 1และ Non Inverting (+IN)- ขาอนพุตทงสอง คอ Inverting (-IN) 1และ Non Inverting (+IN)
- ขาเอาต์พุต (ปลายของรูปสามเหลี่ยม : OUT) 8
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
คุณสมบัติในอุดมคติของออปแอมป์
ได้แก่ไดแก
1. แรงดันระหว่างขาอินพุททั้งสองของออปแอมป์มีค่าเป็นศูนย์
2 Input Impedance ของออปแอมป์นั้นมีค่าสงอย่ในย่าน MΩ2. Input Impedance ของออปแอมปนนมคาสูงอยูในยาน
3. Output Impedance ของออปแอมป์นั้นจะมีค่าต่ํา
4 ในทางอดมคติ Slew rate ของออปแอมป์มีค่าสงมาก
MΩ
4. ในทางอุดมคต Slew rate ของออปแอมปมคาสูงมาก
5. Band width มีค่าสูงนั่นคือตอบสนองได้ดีทุกย่านความถี่
ตัวอย่างคุณสมบัติและลักษณะขาของออปแอมป์เบอร์ LM741 แสดงดังรูปที่ 2.5
โดยมีข้อสังเกตคือค่าอินพุตอิมพีแดนซ์หรือค่าเอาต์พุตอิมพีแดนซ์จะแตกต่างจากค่าใน
อุดมคติ ซึ่งหากค่าเหล่านี้ใกล้เคียงกับอุดมคติมากเท่าใดก็ย่อมแสดงว่าเป็นออปแอมป์
ที่อาจจะมีราคาแพงเมื่อเทียบกับเบอร์อื่นๆที่คุณสมบัติด้อยกว่า
9
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
Input Bias Current . . . . . . 500 nA (Max)
Output Impedance . . . . . . 75 Ohms
Input Impedance . . . . . . 0.3 Mohms (Min)
Applications
C tComparator
Multivibrator
DC A lifiDC Amplifier
Integrator
รูปที่ 2.5 คุณสมบัติ,การใช้งานและรูปร่างภายนอกออปแอมป์ LM741
10
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
Slew Rate
รูปที่ 2.6 แสดงคุณสมบัติของออปแอมป์ที่เรียกว่า Slew Rateู ุ
คุณสมบัติของออปแอมป์ที่เรียกว่า Slew Rate เป็นสิ่งที่บอกถึงความสามารถว่าุ
ตอบสนองต่อสัญญาณความถี่สูงๆได้มากน้อยเพียงใดโดยจะมีหน่วยเป็นแรงดันต่อเวลา
เช่น 13 V/us ซึ่งบอกความสามารถในการเปลี่ยนแรงดันเอาต์พตต่อหน่วยเวลาดังุ
พิจารณาได้จากรูปที่ 2.6 11
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
แบบไฟเลี้ยงเดี่ยวแบบไฟเลี้ยงคู่
รูปที่ 2.7 แสดงการต่อแหล่งจ่ายไฟเพื่อเลี้ยงออปแอมป์ซึ่งมี 2 แบบได้แก่
รูปที่ 2.7 การต่อแหล่งจ่ายไฟให้กับออปแอมป์
1. กรณีต่อวงจรไฟเลี้ยงแบบไฟเลี้ยงเดี่ยว (Single supply)
2. วงจรแบบไฟเลี้ยงที่มีทั้งบวกและลบ
โดยทั่วไปแล้วการใช้งานทั่วไปมักจะใช้แบบไฟเลี้ยงคู่เพราะง่ายในการวิเคราะห์และทํา
ความเข้าใจดังนั้นในที่นี้ก็จะอธิบายเฉพาะกรณีที่เป็นไฟเลี้ยงคู่เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม
้
12
การใช้ไฟเลี้ยงเดี่ยวจะทําให้ประหยัดแหล่งจ่ายไฟและเหมาะกับการใช้งานโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งที่ใช้แหล่งจ่ายเป็นแบตเตอรี่
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
iR
fR
OV
รปที่ 2 8 วงจรขยายแบบไม่กลับเฟส
inV
วงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส (Non Inverting Amplifier)
รูปท 2.8 วงจรขยายแบบไมกลบเฟส
รูปที่ 2.8 เป็นวงจรขยายสัญญาณชนิดไม่กลับเฟสสัญญาณซึ่งหมายถึงเฟสของ
สัญญาณด้านอินพตและเอาต์พตวงจรจะมีเฟสตรงกัน ในการวิเคราะห์วงจรจะเริ่มจากสญญาณดานอนพุตและเอาตพุตวงจรจะมเฟสตรงกน ในการวเคราะหวงจรจะเรมจาก
คุณสมบัติของออปแอมป์ที่บอกว่าผลต่างแรงดันที่ขาอินพุตทั้งสองมีค่าเท่ากับศูนย์ดังนั้น
แรงดันที่คร่อมตัวต้านทาน จึงมีค่าเท่ากับแรงดันอินพตซึ่งสามารถเขียนทิศกระแสiRแรงดนทครอมตวตานทาน จงมคาเทากบแรงดนอนพุตซงสามารถเขยนทศกระแส
และแรงดันในวงจรดังรูปที่2.9
i
13
R
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
inV
-
+-
fR
i
iV
+
+
+iR
OV
รูปที่2.9 ทิศทางแรงดันและกระแสในวงจรขยายแบบไม่กลับเฟส
inV
-
-
ู
V
จากรูปเขียนสมการกระแสและแรงดันดังนี้
(2 1)
in
in
R
V
i −=
infO VRiV +⋅−=
…(2.1)
…(2.2)infO
แทนค่ากระแสลงในสมการเอาต์พุต in
in
f
ininf
in
in
O V
R
R
VVR
R
V
V +=+
−
−=
inin
⎟⎟
⎠
⎞
⎜⎜
⎝
⎛
+= 1
in
f
inO
R
R
VV …(2.3) 14
ั ั
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
วงจรขยายสัญญาณแบบกลับเฟส (Inverting Amplifier)
ใ ป ี่ 2 10 ั
fRinV
+ -
+
จากวงจรในรูปท 2.10 แรงดน
ระหว่างขาอินพุตออปแอมป์เท่ากับ
์ ั่ ื ั ่ RV
i
รปที่2 10 วงจรขยายแบบกลับเฟสสัญญาณ
ศูนยนนคอแรงดนตกครอมความ
ต้านทานด้านอินพุตเท่ากับแรงดัน
ิ ั ั้ i ํ
OV
iRinV
รูปท2.10 วงจรขยายแบบกลบเฟสสญญาณอนพุต ดงนนกระแส i คานวณจาก
สมการที่ (2.5)
inV
i =
inR VV i
= …(2.4)
…(2.5)
inR
i =
fO iRV −=
…(2.5)
…(2.6)
i
f
inO
R
R
VV −= …(2.7)และแรงดันเอาต์พุตคือ 15
่
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
วงจรขยายผลต่าง (Differential Amplifier)
fR
1R
OVi
bV
aV
2R
3R
2V1V
รูปที่ 2.11 วงจรขยายผลต่าง
วงจรนี้จะขยายผลต่างของสัญญาณที่เข้ามาที่ขาอินพุตของออปแอมป์ทั้งสองโดยมี
ลักษณะวงจรดังรูปที่ 2.11 จากคุณสมบัติของวงจรแบ่งแรงดันและออปแอมป์จะได้ว่า
32
3
2
RR
R
VVV ba
+
== …(2.8)
1
1
R
VV
i a−
=เมื่อพิจารณากระแส i จะได้ว่า …(2.9)
16
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
แรงดันเอาต์พุตของวงจรในรูปที่ 2.11 สามารถคํานวณได้จาก
afO VRiV +×−= แทนค่ากระแส i ลงในสมการเอาต์พุต
VV ⎞⎛ VV ⎞⎛
af
a
O VR
R
VV
V +×⎟⎟
⎠
⎞
⎜⎜
⎝
⎛ −
−=
1
1
R
af
a
O VR
R
V
R
V
V +×⎟⎟
⎠
⎞
⎜⎜
⎝
⎛
−−=
11
1
แทนค่า
32
3
2
RR
R
VVa
+
=
RRVV ⎞⎛
32
3
2
321
32
1
1
)( RR
R
VR
RRR
RV
R
R
V
V ffO
+
+⎟⎟
⎠
⎞
⎜⎜
⎝
⎛
+
−−= …(2.10)
เพื่อให้การนําวงจรนี้ไปใช้งานได้ง่ายขึ้นก็จะกําหนดให้ค่าความต้านทานในวงจรมี
ความสัมพันธ์กันคือ fRRRR == 321 ,ความสมพนธกนคอ fRRRR 321 ,
17
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
2
21 f
f
f
fO
R
VR
RV
R
V
V +
⎟
⎟
⎞
⎜
⎜
⎛
−−=
)()( 1
2
111 f
f
f
fO
RR
VR
RRR
R
R
V
+
+
⎟
⎠
⎜
⎝ +
221 fff RVRRV
R
V
V
)()( 1
2
11
2
1
1
f
f
f
ff
fO
RRRRR
R
R
V
V
+
+
+
+−=
⎟
⎞
⎜
⎛ RRV
⎟
⎟
⎠
⎞
⎜
⎜
⎝
⎛
+
+
+
+−=
)()( 11
1
11
2
1
1
ff
f
ffO
RRR
R
RRR
R
RVR
R
V
V
⎞⎛ )( RRV
⎟
⎟
⎠
⎞
⎜
⎜
⎝
⎛
+
+
+−=
)(
)(
11
1
2
1
1
f
f
ffO
RRR
RR
RVR
R
V
V Gain
1
2
1
1
R
R
V
R
R
VV
ff
O +−= )( 12
1
VV
R
R
V
f
O −= …(2.11)
18
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
1R
รูป2.12 วงจรขยายผลต่างที่มีอินพุตสองสัญญาณ
สรุปวงจรขยายผลต่างชนิดที่มีสัญญาณอินพุต 2 สัญญาณดังรูปที่ 2.12 จะมีสมการ
แรงดันเอาต์พตคือ
)( 12 VV
R
V
f
O −=
แรงดนเอาตพุตคอ
…(2.12))( 12
1R
O ( )
19
่ ี ิ ี
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
วงจรขยายผลต่างแบบมีอินพุตเดียว
วงจรแบบนี้แตกต่างวงจรในรูปที่ 2.12 เพียงเล็กน้อยคือสัญญาณอินพุตมีเพียง
ั ี ั ี่ ่ ั ํ ั ใ ิ ์ ั ิ ็ ื ่ ัสัญญาณเดียวดังรูปที 2.13 แต่หลักสําคัญในการวิเคราะห์ยังคงเดิมก็คือผลต่างของแรงดัน
ที่ขา Inverting และ non Inverting ของออปแอปม์ยังมีค่าเท่ากับศูนย์ดังนั้นจากรูป 2.13
ี ั ี้เขียนสมการตามกฎ KVL ดังนี
iiiin iRRiRiV 20 =×++×= …(2.13)
R
)
2
(
i
in
R
V
i = …(2.14)
iR
fR
i
inV
iR
OV
fRfR
รูปที่ 2.13 วงจรขยายผลต่างแบบอินพุตเดียว 20
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
เขียนสมการแรงดันเอาท์พุตคือ
+×−= )( fO
RiV
ั ่ ิ ป ป์ ่ ั ์ ั ั้ ั ์ ็ ื
แรงดันระหว่างขาอินพุตออปแอมป์ )( fRi ×−+ …(2.15)
แรงดนระหวางขาอินพุตออปแอมปเทากบศูนยดงนนแรงดนเอาตพุตก็คือ
)2( RiV ×−= )( in
V
i =)2( fO RiV ×= )
2
(
iR
i
ั ั้ fin
R
VR
V
V )2( (2 16)ดังนัน
i
f
inf
i
in
O
R
VR
R
V −=×−= )
2
2( …(2.16)
21
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
การปรับแต่งวงจรขยายผลต่าง
ในทางปฏิบัตินั้นค่าความต้านทานในวงจรที่เรากําหนดให้มีค่าเท่ากันและออฟเซตในฏ
ออปแอมป์จะทําให้เกิดปัญหาในการทํางานกล่าวคือเมื่อแรงดันอินพุตเป็นศูนย์เอาต์พุตไม่
เป็นศูนย์ การแก้ปัญหาทําโดยเปลี่ยนค่าความต้านทาน Rf ที่ขาอินพุตแบบไม่กลับเฟสู ญ f ุ
สัญญาณให้เป็นตัวต้านทานแบบปรับได้ดังรูปที่ 2.14 จากนั้นก็ป้อนแรงดันอินพุตเป็น
ขนาดเล็กในย่านมิลลิโวลต์ที่อินพุตทั้งสองศูนย์จากนั้นปรับค่าความต้านทานที่ปรับได้นี้ให้
fR
ุ ู
เอาต์พุตมีขนาดใกล้ศูนย์
iR
V
i
inV
iR
OV
fRinV
รูปที่ 2.14 วงจรขยายผลต่างที่มีจุดปรับแต่งการทํางาน 22
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
fR
วงจรขยายผลต่างแบบมีแรงดันอ้างอิง
inV
iR
OV
i
iR
fR
Vref
V
รูปที่ 2.15 วงจรขยายผลต่างที่มีแรงดันอ้างอิง
จากวงจรในรูปที่ 2.15 พบว่ากระแส i ยังคงมีค่าเหมือนเดิมแต่สิ่งที่เปลี่ยนไปก็คือ
แรงดันเอาต์พุตมีเทอมของแรงดันอ้างอิง เพิ่มเข้ามาrefVุ ref
+×−= )( fO
RiV แรงดันระหว่างขาอินพุต OpAmp reff VRi +×−+ )(
0 โวลต
ref
i
f
inO
V
R
R
VV +×−= )( …(2.17) 23
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ปัญหาของวงจรขยายผลต่างคือเรื่อง
่ ้ ้
ปัญหาของวงจรขยายผลต่าง
fR
i
ความเกียวข้องกันระหว่างความต้านทาน
อินพุตของวงจรและอัตราการขยาย โดยinV
iR
OV
i
จากสมการ (2.17)
f
f
iO
V
R
VV +×−= )(
iR
fR
refVz ref
i
inO
V
R
VV +)(
รูปที่ 2.16 อินพุตวงจรขยายผลต่าง
ref
inz
ถ้าความต้านทาน อัตราขยายวงจรจะลดลงแต่ค่าความต้านทานด้านอินพุตของ
ี่ ี ่ I t i d ี ่ ิ่ ึ้ ั ั้ ้ ั
iR
วงจรทเรยกวา Input impedance จะมคาเพมขน ดงนนหากตองการอตราการ
ขยายแรงดันที่สูงและอินพุตอิมพีแดนซ์สูงๆด้วยก็อาจจะต้องใช้วงจรอื่น
inZ
24
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
สมมุติว่าใช้เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิชนิดหนึ่งต่อกับวงจรบริดจ์ดังรูปที่ 2.17 และให้
ตัวอย่างที่ 2.1
ุ ุ ู ู
แรงดันเอาต์พุตแปรผันตรงกับอุณหภูมิดังนี้
ที่ 0 ºC มีค่าแรงดัน Output = 0mVp
ที่ 100 ºC มีค่าแรงดัน Output = 500mV
จงออกแบบวงจรเชื่อมต่อเซ็นเซอร์ให้ได้ค่าแรงดัน -10V ที่ 0 ºCและ 10 V ที่ 100 ºCจงออกแบบวงจรเชอมตอเซนเซอรใหไดคาแรงดน -10V ท 0 Cและ 10 V ท 100 C
+10V
Signal+Sensor Signal
Conditioning
Circuit
Vsensor
+
Vout
+
รูปที่ 2.17 ลักษณะวงจรบริดจ์ของเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิในตัวอย่างที่ 2.1 25
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
วิธีทํา เนื่องจากเป็นวงจรบริดจ์อาจใช้วงจรขยายผลต่างหรือวงจรขยายอินสตรูเมนท์ก็
ได้ โดยในที่นี้เลือกใช้วงจรขยายผลต่างจากนั้นเขียนไดอะแกรมดังรูปที่ 2.18 แทนย่าน
0 mV -10 V
แรงดันอินพุตของวงจรและย่านแรงดันเอาต์พุตที่ต้องการ
Diff. Amp.
0 mV -10 V
500 mV 10 V
VOVin
รูปที่ 2.18
ความสัมพันธ์ระหว่างอินพุตเอาต์พุตวงจรดังนี้ CmVV inO +=
โดย m คือความชันของเส้นตรงที่แทนความสัมพันธ์
C คือค่าของเอาต์พตเมื่ออินพตเป็นศนย์
ุ ุ
C คอคาของเอาตพุตเมออนพุตเปนศูนย
ดังนั้น m หาได้จาก 40
05.0
)10(10
VV
VV
ΔV
ΔV
m
inmininmax
OminOmax
in
O
=
−
−−
=
−
−
==
inmininmaxin
และค่าของ C = -10 และเขียนสมการได้ดังนี้ 1040VV inO −= 26
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
หากเลือกใช้วงจรขยายผลต่างแทนความสัมพันธ์ดังสมการจะต้องมีการต่อแรงดัน
อินพุตให้ขั้วลบต่อเข้าที่ขา Inverting ของออปแอมป์ดังรูปที่ 2.19 และเลือกใช้แรงดัน
่Vref ที่มีค่าเท่ากับ -10 และเลือกค่า K = 40
refin VVV += KO refinO
1040O −= inVV
ืและเลือก R = 10kΩ , KR = 40 x 10kΩ = 400 kΩ Ans###
OV
รูปที่ 2.19 วงจร Differential Amp ที่ออกแบบ
refV
27
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
วงจรรวมสัญญาณแบบกลับเฟส (Inverting Summing Amplifier)
fO R
VVV
V )( 321
++−= fO
RRR
)(
321
รูปที่ 2.20 วงจร Inverting Summing Amplifier
จากวงจรจะได้ว่า i1 = V1 / R1 i2 = V2 / R2 i3 = V3 / R3
โดยที่โดยท
iT = i1 + i2 + i3 และ VO = -iT x Rf
fO R
R
V
R
V
R
V
V )(
3
3
2
2
1
1
++−=ดังนั้นจะได้ว่า …(2.18)
28
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ไ
a
V +-
VV
i a )( 1 −
วงจรรวมสัญญาณแบบไม่กลับเฟส (Inverting Summing Amplifier)
R
i a )( 1
1 =
R
VV
i a )( 2
2
−
=
a
a
T
R
V
i
−
=
R
R
VV
i a )( 3
3
−
=
ี่
R
afTO
VRiV +−=RRRR === 321
รูปที 2.21 Non Inverting Summing Amplifier
จากคุณสมบัติของออปแอมป์ที่ว่าไม่มีกระแสไหลเข้าขาอินพุตและเงื่อนไขค่าความุ ุ
ต้านทานตามวงจรในรูปที่ 2.21 ดังนั้นจะได้ว่า
VVVViii 3)(0
)( 321 VVV
V
++ (2 19)a
VVVViii 3)(0 321321
−++==++
3
)( 321
Va = …(2.19)
29
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
้ )( VVV ++ ใ ์ดังนั้นแทนค่าของแรงดัน
3
)( 321
VVV
Va
++
= ลงในสมการของเอาต์พุต
afTO
VRiV +−= afTO
3
321
VVV
RiV fTO
++
+−= และแทนกระแส a
T
R
V
i
−
=
3 aR
3
321
VVV
R
R
V
V f
a
O
++
+= ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ++
+⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ++
= 321321
VVVVVVR
V f
O
3R
f
a
O ⎟
⎠
⎜
⎝
⎟
⎠
⎜
⎝ 33Ra
O
⎤⎡
⎟
⎞
⎜
⎛ ++ f
RVVV 321 (2 20)⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
+⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ++
=
a
f
O
R
VVV
V 1
3
321 …(2.20)
30
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ั ั
วงจรปรับสภาพสัญญาณจากเซ็นเซอร์และการเชื่อมต่อกับ DAQ Hardware จะใช้
2.3 วงจรปรับสภาพสัญญาณ [3]
ออปแอมป์สร้างวงจรปรับสภาพสัญญาณซึ่งมีวงจรหลายชนิดเช่น
1. วงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์ (Instrument Amplifier)
2. วงจรปรับซีโร่-สแปน (Zero - Span Circuit)
3. วงจรกรอง (Filter Circuit)
แม้ในบางครั้งอาจจะมีวงจรชนิดอื่นอีกเพื่อมเชื่อมต่อกับเซนเซอร์แต่ที่ใช้งานกันมากก็
มักจะเป็นวงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์และวงจร Zero-Span เท่านั้น ดังนั้นในที่นี้จะ
กล่าวถึงเพียงสองวงจรเท่านั้น นอกจากนั้นในสายงานเมคคาทรอนิกส์เองแล้วไม่ได้
ออกแบบทุกส่วนในระบบเองโดยเฉพาะในส่วนของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้
จะผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปให้เลือกใช้งานเสียเป็นส่วนใญ่โดยเฉพาะตัวควบคุมแบบดิจิตอล
และ DAQ Hardware
31
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
์
-มีอิมพีแดนซ์ทางอินพุตสูง
้
วงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์ (Instrument Amplifier)
R
-อัตราการขยายของวงจรนั้นไม่มี
ผลต่ออินพุตอิมพีแดนซ์ซึ่ง
R
R
R
aV
V V
แก้ปัญหาที่เกิดในวงจรขยาย
แบบดิฟเฟอเรนเชียลRbV
inV 1OV
OV
mR
i
bain VVV −=
VV
i ba −
=
…(2.21)
…(2.22)
R
R
b
mR
)(1 RmRRiVO ++=
รูปที่ 2.22 วงจร Instrumentation Amplifier …(2.23)
จากวงจรเมื่อกําหนดให้ค่าความต้านทานในส่วนที่เป็นวงจรขยายผลต่างมีความ
ต้านทานเท่ากันหมด ดังนั้นค่าแรงดันเอาต์พุตจึงมีค่าเท่ากับ
)1
2
()2()2(1 +−=+−=+−=−=
m
VmRR
mR
V
mRRiVV in
in
OO …(2.24)
32
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ขั้นตอนการเลือกตัวต้านทานใน Instrumentation Amplifier
2
1. จากอัตราการขยาย )1
2
( +=
m
Gain
2
2. คํานวณค่า m จาก 1
2
−
=
Gain
m
3. เลือกค่า R ที่จะใช้โดยใช้ค่าที่มีจําหน่ายในท้องตลาด
ื ่ ั ้ ่ ้ ่ ่ ี่ไ ้ ้ ไ ่ ้4. เลือกค่าตัวต้านทาน mR จากค่า m คูณด้วย R แต่ค่าทีได้จะต้องไม่น้อย
จนเกินไปเพราะจะทําให้ค่ากระแสไหลสูงในทางปฏิบัติทําไม่ได้
ควรใช้ตัวต้านทานชนิดค่าผิดพลาด 1%
33
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่างที่ 2.2
จากวงจรในรปที่ 2 23 หาก R4 เป็น Sensor ชนิดที่ความต้านทานเปลี่ยนตามจากวงจรในรูปท 2.23 หาก R4 เปน Sensor ชนดทความตานทานเปลยนตาม
อุณหภูมิโดย R4 มีค่าระหว่าง 100 - 102 Ω จงออกแบบ Instrument Amp. ให้มี
แรงดัน O/P เท่ากับ 2 5 V เมื่อความต้านทาน R4 = 102 Ωแรงดน O/P เทากบ 2.5 V เมอความตานทาน R4 = 102 Ω
รูปที่ 2.23 ตัวอย่างวงจร Instrument Amplifier เชื่อมต่อกับเซ็นเซอร์ 34
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
วิธีทํา
่
Vb > Va
102100
102
V5
100100
100
V5VbVa −=−
รูปที 2.24
102100100100 ++
mV75.24VbVa −=−
้ดังนั้น Voltage gain ของวงจร Instrument Amp. 101
24.75mV
2.5V
−=
− 35
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
)1
2
( +−=
m
VV inOจากสมการอัตราการขยายของวงจร
-101 = )
m
2
(1- +
2
m
m
2
100 =
50
1
100
2
m ==
150KΩR =ถ้าเลือก
50100
จะได้ค่าความต้านทาน 3KΩ150KΩ
50
1
mR ==
150KΩR =
สรุป 3KΩmR
150KΩR
=
=
36
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ปัญหาในทางปฏิบัติของวงจรขยายแบบ Instrumentation ก็คือการความต้านทาน
ในวงจรต้องมีค่าถกต้องโดยเฉพาะค่าที่เหมือนกันจะต้องเท่ากันหรือใกล้เคียงกันมากที่สดในวงจรตองมคาถูกตองโดยเฉพาะคาทเหมอนกนจะตองเทากนหรอใกลเคยงกนมากทสุด
โดยมักเลือกใช้ชนิดค่าผิดพลาด 1 % แต่อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไอซีเข้าใจในปัญหานี้ก็ได้ทํา
การออกแบบวงจรรวมที่ทําหน้าที่เป็นวงจรขยายแบบอินสตรเมนท์โดยตัวต้านทานในการออกแบบวงจรรวมททาหนาทเปนวงจรขยายแบบอนสตรูเมนทโดยตวตานทานใน
วงจรจะสร้างด้วยวิธีการของสารกึ่งตัวนําทําให้ค่าตัวต้านทานแม่นยํามากขึ้น ในรูป
ต่อไปนี้เป็นไดอะแกรมของชิปที่เป็น Instrument Amp เบอร์ IN110A ดังรปที่ 2.25 ซึ่งตอไปนเปนไดอะแกรมของชปทเปน Instrument Amp เบอร IN110A ดงรูปท 2.25 ซง
สามารถค้นคว้าเพิ่มเติมจาก http://www.ti.com (บริษัท Texas Instrument) และจาก
ไดอะแกรมของชิปจะพบว่าผ้ออกแบบได้ยอมให้ผ้ใช้งานสามารถกําหนดค่าความต้านที่ไดอ แกรมของชปจ พบวาผูออกแบบไดยอมใหผูใชงานสามารถกาหนดคาความตานท
เป็นการกําหนดอัตราการขยายของวงจรได้และอีกส่วนหนึ่งก็จะสามารถกําหนดค่าแรงดัน
อ้างอิงที่เป็นการปรับออฟเซตของเอาต์พตได้เช่นกันและนอกจากนั้นบริษัท Analogอางองทเปนการปรบออฟเซตของเอาตพุตไดเชนกนแล นอกจากนนบรษท Analog
Device ก็ได้ผลิตชิปในลักษณะนี้เช่นกันได้แก่เบอร์ AD524 ในรูปที่ 2.26
37
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปที่ 2.25 โครงสร้างของ Instrumentation Amplifier เบอร์ INA110 38
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รปที่ 2 26 โครงสร้างของ I t t ti A lifi เบอร์ AD524รูปท 2.26 โครงสรางของ Instrumentation Amplifier เบอร AD524
39
ใ ์
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ผลความต้านทานสายสัญญาณในวงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์
กรณีที่วงจร Instrument Amp. ต่อสายที่ยาวขึ้นเพื่อนําสัญญาณOutput ไปใช้งานกรณทวงจร Instrument Amp. ตอสายทยาวขนเพอนาสญญาณOutput ไปใชงาน
นั้นอาจจะเกิดปัญหาได้เนื่องจากแรงดันตกคร่อมในสายได้ซึ่งในรูปต่อไปนี้จะได้วิเคราะห์
ผลความต้านทานของสายที่มีผลต่ออัตราการขยายผลความตานทานของสายทมผลตออตราการขยาย
R R Rw
S
R R Rw
mR
R
Vin
I
V
Rw
RL
Sense
O/P
I
V
Rw
RL
Vo
R RR
Rw
RL
Ref
Vo
RR Rw
RL
a) b)
รูปที่ 2.28 วงจรที่ใช้ชดเชยปัญหาความต้านทานในสายของ Instrument Amp.ู ญ p
40
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
จากรูป b)
R2
V
I =
V
)( RwRRRwIVo +++−= )(
2
RwRRRw
R
V
+++−=
)R2Rw2(
V
+−= )
R2Rw2
(V +−=)(
R2
)
R2R2
(V +
)1
Rw
(VVo +−= …(2.25))1
R
(VVo + ( )
จากรูป )RmRR(iV ++=
)mRR2(
Vin
+= )(
mR
)
mR
mR
mR
R2
(VinV += )1
m
2
(Vin +=
mRmR m
41
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
แทนค่าของ V ลงในสมการ Vo ซึ่งจะได้สมการแรงดันที่ Output ที่รวมผลความ
ต้านทานสายไปด้วยดังนี้
)1
R
Rw
)(1
m
2
(VinVo ++−= …(2.26)
Rm
จากการวิเคราะห์ผลของสายนั้นสิ่งที่แตกต่างจากที่ผ่านๆมาคือการกําหนดOutputๆ p
ของวงจรนั้นจะกําหนดที่ RL ซึ่งเป็น Load ของวงจรซึ่งก็ถูกต้องแล้วเพราะเป็นจุดที่เรา
นําไปใช้งานและก็ได้นําค่าความต้านทานสายมาคิดในการคํานวณอัตราการขยายด้วย
จากสมการหากให้ผลของสายตัวนํามีผลน้อยที่สุดต้องเลือก R >> Rw
42
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
อย่างไรก็ตามหากการใช้งานต้องการต่อสายจากวงจรขยายอินสตรูเมนท์ให้ยาวก็
อาจจะต้องเพิ่มวงจรขยายกระแสเอาต์พุตของออปแอมป์โดยใช้ทรานซิสเตอร์ดังรูปทีุ่ ู
2.29 โดยทรานซิสเตอร์ชนิด NPN จะทํางานกรณีกระแสจากออปแอมป์มีค่าเป็นบวก
(ไหลออก) และทรานซิสเตอร์ชนิด PNP ทํางานช่วงกระแสเอาต์พุตออปแอมป์มีค่าเป็นค่าุ
ลบ (ไหลเข้า)
R R Sense
mR
R
Vin
I
V
+V
Vo
mR
R
Vin V
RL
-V
Output
RR
Reference
รปที่ 2 29 การใช้ทรานซิสเตอร์ช่วยขยายกระแสวงจรขยายแบบอินสตรเมนท์รูปท 2.29 การใชทรานซสเตอรชวยขยายกระแสวงจรขยายแบบอนสตรูเมนท
43
ป ั Z S
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
วงจรปรบ Zero - Span
วงจรปรับ Zero-Span เป็นวงจรปรับสภาพสัญญาณ ที่ใช้ในการแปลงย่านแรงดันของ
่ ไ ็ ่ ่ ใ ้สัญญาณจากย่านหนึงไปเป็นสัญญาณทีมีย่านแรงดันทีเหมาะกับการใช้งาน จากกราฟ
เป็นตัวอย่างย่านแรงดันอินพุตและเอาต์พุตของวงจรปรับ Zero-span ซึ่งจะเห็นว่าแม้
็ ์ ี่ ์ ี โ ์ ้แรงดันอินพุตจะเป็นศูนย์แต่ทีเอาต์พุตจะมีค่าแรงดันเท่ากับ 1 โวลต์ดังนันการขยายขนาด
เพียงอย่างเดียวจึงไม่สามารถตอบสนองได้
5
แรงดันเอาตพุต (Volt)
5
4
3
2
1
Zero & Span
Circuit
อินพุต 0 - 5 V เอาตพุต 1 - 5 V
รปที่ 2 30 ตัวอย่างความสัมพันธ์ย่านแรงดันอินพต/เอาต์พตวงจรปรับ Zero-Span
1 2 3 4 5
1
แรงดันอินพุต (Volt)
Circuit
รูปท 2.30 ตวอยางความสมพนธยานแรงดนอนพุต/เอาตพุตวงจรปรบ Zero-Span
44
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ทุกเสนความชันเทากัน
แตจุดตัดแกน Y ตางกัน
่
การปรับคณสมบัติของวงจร 2 อย่างด้วยกันคือการปรับ Zero และการปรับ Span
รูปที 2.31 ผลการปรับค่า Zero ของวงจร Zero-Span
การปรบคุณสมบตของวงจร 2 อยางดวยกนคอการปรบ Zero และการปรบ Span
การปรับค่า Zero คือการการปรับจุดตัดแกนแนวตั้งของกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง
แรงดันเอาต์พต-อินพตของวงจรซีโร่-สแปนนั่นเองแรงดนเอาตพุต อนพุตของวงจรซโร สแปนนนเอง
45
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปที่ 2.32 ผลการปรับค่า Span ของวงจร Zero - Span
การปรับ Span ก็คือการปรับค่าความชันของกราฟความสัมพันธ์ระหว่างเอาต์พุต-
อินพตวงจรปรับ Zero-Span โดยที่ค่าของจดตัดแกนแนวตั้งนั้นไม่ได้เปลี่ยนแปลงอนพุตวงจรปรบ Zero Span โดยทคาของจุดตดแกนแนวตงนนไมไดเปลยนแปลง
46
R
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
OSR fR
R
R
CCV+
CCV±
R
iR
inV
2/R
CCV−
in
่รูปที 2.33 วงจรปรับ Zero-Span
วงจรปรับ Zero-Span ดังรูปที่ 2.33 ที่จริงแล้วก็คือวงจรขยายผลรวมสัญญาณp ู ญญ
แบบไม่กลับเฟส หรือที่เรียกว่า Inverting Summing Amplifier นั่นเองโดยมีการนํามา
ต่อกับวงจร Inverting Amp. ให้ได้เครื่องหมายของแรงดันเอาต์พุตตามต้องการโดยp ุ
วงจรมีสมการแรงดันเอาต์พุตคือ
(2 27)ff
V
R
V
R
V …(2.27)CC
OS
f
in
i
f
O V
R
V
R
V ⋅+⋅=
47
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
RR
เปรียบเทียบสมการเส้นตรงกับสมการแรงดันเอาต์พุตวงจรปรับ Zero-Span
CC
OS
f
in
i
f
O V
R
R
V
R
R
V ⋅+⋅=
CVmV inO +⋅=
OV
จุดตัดแกน Y f
R
R
m =
CC
OS
f
V
R
R
C =
iR
inV
รูปที่ 2.34 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างอินพุตเอาต์พุตวงจรปรับ Zero-Span 48
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ขั้นตอนการออกแบบวงจรปรับ Zero-Span
้ ํ ิ ์ V Vจากขอกําหนดอินพุต-เอาตพุต
maxOVmaxinV
mininV minOV
minmax
minmax
inin
OO
VV
VV
m
−
−
=1) คํานวณค่าความชันกราฟจาก
2) จากความสัมพันธ์ CmVV inO +=
แทนค่า m และค่า mininV minOV เพื่อหาค่า C
หรือ mininV minOV เพื่อหาค่า C
่3) นําค่าที่ได้จากข้อ 2) ไปคํานวณหาค่าตัวต้านทาน
fR
m = CC
f
V
R
C =
iR
CC
OSR
49
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
จากค่าความต้านทานที่คํานวณได้นั้นมักจะเลือกให้ค่าความต้านจากคาความตานทานทคานวณไดนนมกจะเลอกใหคาความตาน
OSR และ iR เป็นตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ดังในรูปที่ 2.35
Ωk50
Ω= kROS 50
Ωk20 Ωk50
รูปที่ 2.35 การเลือกค่าความต้านทานหลังจากการคํานวณ
50
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
การปรับแต่งวงจรปรับ Zero-Span
หลังจากเลือกค่าความต้านทานได้แล้วการปรับแต่งจะทําโดย
1. ป้อนแรงดันอินพุตต่ําสุด Viminตามข้อกําหนดการออกแบบจากนั้นปรับค่าตัว
้ R ใ ้ไ ้ ์ ่ ่ํ Vตานทาน ROSใหไดเอาตพุตตามคาตาสุด VOmin
2 ป้ ั ิ ส ส V ้ ํ ั้ ป ั ่ ั2. ปอนแรงดนอนพุตสูงสุด Vimax ตามขอกาหนดการออกแบบจากนนปรบคาตว
ต้านทาน Riให้ได้เอาต์พุตตามค่าสูงสุด VOmax
3. ย้อนกลับไปกระทําตามข้อ 1. และข้อ 2. ใหม่และทําซ้ําๆจนได้ค่าที่ถูกต้อง
51
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ั ่ ี่ 2 3ตวอยางท 2.3
สมมุติว่าต้องการออกแบบวงจรให้มีความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอินพุต-
เอาต์พุตดังรูปที่ 2.36 ให้เขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Vo และ Vin
Signal conditioning
Vin(max) = 5V Vo(max) = 5 V
V
Circuit
Vin(min) = 1V Vo(min) = 0 V
V
O
รูปที่ 2.36
52
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
วิธีทํา ความชันสมการเส้นตรง
ΔVo Vo(max) - Vo(min)
m = =
ΔVin Vin(max) - Vin(min)
5 - 0
m = 1.25
5 - 1
=
จาก Vo = mVin + C แทนค่า Vo = 5 และ Vin = 5 และ m = 1.25
ั ั้ ่ ไ ้
ั ั ์ ื
ดังนันจะหาค่า C ได้จาก C = Vo – mVin = 5 – (1.25 x 5) = -1.25
สรุป ความสัมพันธ์ Vo , Vin คือ Vo = 1.25Vin – 1.25
53
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
6
4
5
3
Vo(V)
1
2
1 2 3 4 5
0
Vin (V)
รูปที่ 2.37 กราฟความสัมพันธ์ Vo , Vin ตามสมการ Vo = 1.25Vin – 1.25
54
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่างที่ 2.4ตวอยางท 2.4
สัญญาณจากอุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมิชนิดหนึ่งที่มีการขยายระดับแรงดันแล้วให้
สัญญาณเอาต์พตเป็นแรงดันค่า 2 ถึง 2.5 โวลต์เมื่อใช้ในการวัดอณหภมิในช่วง 0 องศาสญญาณเอาตพุตเปนแรงดนคา 2 ถง 2.5 โวลตเมอใชในการวดอุณหภูมในชวง 0 องศา
เซลเซียสถึง 100 องศาเซลเซียสหากเราต้องการนําสัญญาณดังกล่าวนี้เชื่อมต่อเข้ากับ
ระบบคอมพิวเตอร์โดยผ่านวงจรแปลงสัญญาณอนาลอกเป็นดิจิตอลนั้นจะต้องออกแบบระบบคอมพวเตอรโดยผานวงจรแปลงสญญาณอนาลอกเปนดจตอลนนจะตองออกแบบ
วงจรเพื่อเชื่อมต่อกับวงจร A/D อย่างไรโดยสมมุติว่า A/D chip ที่ใช้งานนั้นสามารถรับ
แรงดันอินพตในย่าน 0-5 โวลต์แรงดนอนพุตในยาน 0 5 โวลต
55
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ใ ั ่ ี้ ชื่ ่ ั ป ์ ั ิ A/D
วิธีทํา
ในตวอยางนการออกแบบวงจรเชอมตอกบอุปกรณตรวจวดอุณหภูมและ A/D
chip นั้นจะต้องใช้วงจรที่สามารถปรับระดับของซีโร่ได้และหากต้องการความละเอียดก็
ควรจ ขยายย่านให้เหมา สมกับวงจร A/D ดังนั้นในที่นี้จ กําหนดว่าสัญญาณ 2 2 5ควรจะขยายยานใหเหมาะสมกบวงจร A/D ดงนนในทนจะกาหนดวาสญญาณ 2 - 2.5
โวลต์ จะถูกแปลงให้เป็นแรงดันในย่าน 0-5 โวลต์ ดังแสดงไดอะแกรมตามรูปที่ 2.38
นอกจากนั้นเราจ เลือกออปแอมป์ที่ทํางานด้วยไฟเลี้ยงค่า 15 แล 15 โวลต์นอกจากนนเราจะเลอกออปแอมปททางานดวยไฟเลยงคา -15 และ + 15 โวลต
วงจรปรับ Zero-Span
รูปที่ 2.38 56
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
10
50
5
252
05
==
−
−
==
f
R
R
m
ดังนั้นสมการความสัมพันธ์อินพุตและเอาต์พุต CVV inO +⋅=10
5.025.2iR
แทนค่าของแรงดันอินพุต Vin(min) = 2 โวลต์ และ VO(min) = 0 โวลต์
ลงในสมการ VO เพื่อหาค่า C จะได้ว่า
C = VO - 10Vin
C = 0 - 10(2) = -20C 0 10(2) 20
ดังนั้นความสัมพันธ์ของอินพุต-เอาต์พุตคือ 2010 −⋅= inO VV
เทียบกับวงจร Zero Span CC
f
in
f
O V
R
R
V
R
R
V ⋅+⋅=
OSi RR
57
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
นั่นคือ 10=
f
R
R
20−=⋅
f
CC
R
R
V
เลือก VCC เป็น -15 V ตามเครื่องหมายลบในสมการซึ่งจะได้ว่า
iR OSR
R
15
2020
−
−
=
−
=
CCOS
f
VR
R
เลือกค่าความต้านทาน
ั ั้
Ω= k100fR
ΩΩ k10k
100fR
Rดงนน Ω=Ω== k10k
10
100
10
f
iR
×− k10015fR
Ω=
−
×
=
−
⋅= k75
20
k10015
)20(
f
CCOS VR
AnsΩ=Ω=Ω= k75,k10,k100 OSif RRR
58
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่างที่ 2.5
สมมุติว่าเซ็นเซอร์วัดความดันชนิดหนึ่งให้แรงดัน O/P เท่ากับ
2 .48 Volt ที่ความดัน 1 KPa
3.90 Volt ที่ความดัน 10KPa
ต้องการแปลงแรงดันดังกล่าวให้อยู่ในช่วง 0 – 5 V เพื่อต่อกับวงจรแปลงสัญญาณ
Analog เป็น Digital ขนาด 8 บิต จงออกแบบวงจรเพื่อแปลงสัญญาณจากเซ็นเซอร์ย่านAnalog เปน Digital ขนาด 8 บต จงออกแบบวงจรเพอแปลงสญญาณจากเซนเซอรยาน
แรงดัน 2.48-3.90 V ให้อยู่ในย่าน 0-5 V
วิธีทํา จากความสัมพันธ์ของแรงดันอินพุตและเอาต์พุตหาความชันสมการเส้นตรงแทน
ความสัมพันธ์ดังกล่าวดังนี้
3.52
2.483.90
05
ΔVin
ΔVo
m =
−
−
==
2.483.90ΔVin
59
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
จากค่า Gain m จะต้องเลือกค่า Rf ที่มากพอที่จะไม่ให้ Ri นั้นมีค่าต่ําจนเกินไปเพราะ
ไ ่ ใ ่ ไ ้โ ใ ่ ้อาจจะไป Load ที O/P ของวงจรในส่วนเครืองมือวัดได้โดยในทีนีเลือกค่า Rf
ั ั้ ํ ่ ้Ωk470R ดังนันคํานวณค่าความต้านทาน Ri จากΩ= k470fR
Ω=
Ω
== k52.133
k470R
R
f
i
ส่วนกรณีอินพุตของวงจร = 2.48 Vo จะมีค่าเป็น 0 V จะเขียนสมการได้
5.33
52.3m
i
ุ
ดังนี้คือ Vo = 0 = mVin + C
0 = 3.52 x 2.48 + C
จะได้ค่า C = - 3.52 x 2.48 = - 8.7296
60
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
จาก C
R
R
V
f
CC ⋅=−= 729.8
OSR
จากสมการหากต้องการค่า C ที่เป็นลบจําเป็นต้องเลือกค่าแรงดัน VCC = -12V
โ ี่ ื Ωk470Rโดยจากทเราเลอก
ดังนั้นจะหาค่า Ros ได้จาก
Ω= k470fR
Ω=
−
×−=⋅= k07.646
729.8
000,470
12
C
R
VR
f
CCOS
ส่วนค่า OSif // R// RRR =Comp
kk//k//k
เลือก ###
Ω== k56.89k07646//k52.133//k470 .
Ω= k90CompR ###Comp
61
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
สรุป
ΩΩ
Ω=Ω=
k90k07646
k52.133,k470
RR
RRf i
(เลือก R และ R เป็นแบบปรับค่าได้ค่าความต้านทาน 150 kΩ และ 1 MΩ)
Ω=Ω= k90k07.646 CompRROS
(เลอก Ri และ Ros เปนแบบปรบคาไดคาความตานทาน 150 kΩ และ 1 MΩ)
OSR fR
CCV±
R
R
iR
CCV+
CC
2/R
CCV−
inV
CCV
รูปที่ 2.39 วงจรปรับ Zero-Span ที่ใช้ในการออกแบบู
62
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
+VCC
RR
วงจรปรับ Zero - Span ด้วยออปแอมป์ตัวเดียว
RfRi
VB
+
-
V
VO
Vin
รปที่ 2 40 วงจรปรับ Zero-Span ด้วยออปแอมป์ตัวเดียว
วงจรดังรูปที่ 2.40 เป็นวงจร Zero Span ที่ใช้ออปแอมป์เพียงตัวเดียวโดยสมการ
ั ์ ี ั ี่ 2 28
รูปท 2.40 วงจรปรบ Zero-Span ดวยออปแอมปตวเดยว
แรงดนเอาตพุตของวงจรสามารถเขยนดงสมการท 2.28
ff
V
R
V
R
V )()1( += (2 28)B
i
in
i
O V
R
V
R
V )()1( −+= …(2.28)
63
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
การวิเคราะห์อาจใช้วิธีการที่เรียกว่า Superposition โดยคิดเอาต์พุตวงจรที่เกิดจาก
แหล่งจ่ายแรงดันแต่ละตัวแล้วนํามารวมกันเพื่อเป็นแรงดันเอาต์พุตที่เกิดจริง
- จากวงจรในรูป 2.41 เป็นกรณีแรงดัน VoVB คือแรงดันเอาต์พุตที่เกิดจากแรงดัน VB
f
V
R
V )(
รูปที่ 2.41 วงจรที่ใช้พิจาณาผลของแรงดัน VB ต่อแรงดันเอาต์พุต
B
i
f
O V
R
V VB
)(−= …(2.29)
64
ใ ป ี่ 2 42 V ื ั ์ ี่ ิ ั Vi
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
- จากวงจรในรูปท 2.42 VoVin คอแรงดนเอาตพุตทเกดจากแรงดน Vin
รปที่ 2 42รูปท 2.42
in
f
O V
R
R
V V
)1( += (2 30)in
i
O
RinV
)(
inBV VOOO VVV +=
…(2.30)
…(2.31)
้ ์ ่ ็ดังนันตามหลัก Superposition แรงดันเอาต์พุตวงจรรูปที 2.40 ก็คือการนําแรงดัน
เอาต์พุตที่ได้ดังสมการ (2.29) และ (2.30) มารวมกันดังสมการ (2.28)
B
i
f
in
i
f
O V
R
R
V
R
R
V )()1( −+= 65
4 ื้ ป ั ็ ั ิ ิ [ ]
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
2.4 พืนฐานการแปลงสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิตอล [2]
รูปที่ 2.43 ระบบควบคุมที่ประมวลผลแบบดิจิตอล
รูปที่ 2.43 เป็นโครงสร้างของระบบควบคุมที่มีการควบคุมด้วยตัวประมวลผลแบบ
ดิจิตอลโดยตัวควบคมที่เป็นแบบดิจิตอลอาจได้แกุ่
- ไมโครคอนโทรลเลอร์ / ไมโครโปรเซสเซอร์
- ตัวควบคมแบบโปรแกรมได้ (Programmable Logic Controller : PLC)ุ ( g g )
- คอมพิวเตอร์ / ซิงเกิลบอร์ดคอมพิวเตอร์ / คอมพิวเตอร์สําหรับงานอุตสาหกรรม 66
์ป ใ ป ี่ 2 43 ็ ไ ้ ่ ป ั ็
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
จากองคประกอบในรูปท 2.43 จะเหนไดวาการแปลงสญญาณแอนะลอกจากวงจร
เชื่อมต่อกับเซ็นเซอร์ที่ตรวจวัดปริมาณต่างๆในกระบวนการให้เป็นสัญญาณดิจิตอลและ
ป ั ํ ั่ ั ป ิ ิ ใ ้ ป็ ั ็ ื่ ไปการแปลงสญญาณคาสงจากตวประมวลผลแบบดจตอลใหเปนสญญาณแอนะลอกเพอไป
สั่งงานอุปกรณ์ภายนอกนั้นเป็นส่วนประกอบที่สําคัญไม่น้อยสําหรับระบบควบคุม ซึ่งจะได้
่ ึ ี ั ่ ไป ี้กลาวถงรายละเอยดดงตอไปน
Analog to Digital Converter : ADC หรือ A/D คือวงจรแปลงสัญญาณแอนะล็อก
ป็ สั ิ ิ ี่ ํ ป สั ั ้ ิ ใ ้ ป็ สั ิ ิ ึ่เปนสญญาณดจตอลททาการแปลงสญญาณแรงดนดานอนพุตใหเปนสญญาณดจตอลซง
สัญญาณที่ออกมาอาจมีรูปแบบอนุกรมหรือแบบขนาน วิธีการแปลงสัญญาณแอนะล็อก
ป็ สั ิ ิ ี ิ ี ้ ั ซึ่ ไ ้ ่เปนสญญาณดจตอลมหลายวธดวยกน ซงอาจไดแก
1. Tracking A/D
2 S i A i ti A/D (ไ ่ ร็ ี่ส ่ ั )2. Successive Approximation A/D (ไมเรวทสุดแตเหมาะกบงานควบคุม)
3. Flash A/D (แปลงสัญญาณได้เร็วที่สุดแต่ราคาแพง)
4 D l Sl A/D หรือ I t ti A/D ทํางานช้า4. Dual Slope A/D หรอ Integrating A/D ทางานชา
5. Sigma Delta A/D เนื่องจากเนื้อหานี้จะมีเรียนในวิชาเครื่องมือวัดไฟฟาจึงไมอธิบายในรายละเอียดของแตละวิธี
67
่ ่ ่
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
สัญญาณเชื่อมต่อและคําจํากัดความต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ A/D
ขาสัญญาณต่างๆของไอซีที่ทําหน้าที่เป็น A/D มีหลายสัญญาณด้วยกันดังแสดงคร่าวๆ
ในรูปที่ 2.44 ซึ่งไม่ได้มีแค่อินพุตที่เป็นสัญญาณแอนะล็อกและเอาต์พุตที่เป็นสัญญาณ
ดิจิตอลแต่ยังมีขาแรงดันอ้างอิงที่ใช้ในการแปลงสัญญาณและสัญญาณควบคุมการทํางาน
อีก ซึ่งจะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไป
Vin
รูปที่ 2.44 ขาสัญญาณต่างๆของตัวแปลงสัญญาณ A/D 68
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
แรงดันอินพุต (Vin) เป็นจุดต่อสัญญาณแอนะล็อกที่ต้องการแปลงเป็นดิจิตอลซึ่งแรงดันนี้
ี ั ื ี ี้ ั ิ ป็ ไ ้ ่ ่ ั้ ี้มีสองลักษณะคือ Unipolar : กรณีนีแรงดันอินพุตเป็นได้เฉพาะค่าบวกเท่านันแบบนี
Bipolar : แรงดันเป็นได้ทั้งบวกและลบ
่ ่ ไฟ ป็ ไฟ ี้ ไ ี โ ป ิ ้ ้ ั ิ ป็ ่แหล่งจ่ายไฟ เป็นไฟเลียงไอซี A/D โดยปกติแล้วถ้าแรงดันอินพุต A/D เป็นบวกอย่าง
เดียวแหล่งจ่ายไฟก็จะไม่มีไฟลบ แต่ถ้าแรงดันอินพุตมีทั้งบวกและลบ แหล่งจ่ายไฟ A/D
ป็ ไฟ ี้ ่ ่ ไ ็ ไ ี ิ ั ใ ้ไฟ ี้ ีจะเป็นแบบไฟเลียงคู่ อย่างไรก็ตามไอซี A/D ของบางบริษัทอาจใช้ไฟเลียงบวกเพียง
อย่างเดียว(Single Supply) แต่สามารถแปลงแรงดันอินพุตแบบ bipolar ได้ เช่น A/D
ิ ั ( )ของบริษัท Maxim (http://www.maxim-ic.com)
แรงดันอ้างอิง (Vref) ปกติแรงดันอ้างอิงของ A/D จะเป็นค่าแรงดันอินพุต A/D สูงสุดref
สัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต (Dout) ผู้ผลิต A/D จะระบุจํานวนบิตข้อมูลของ A/D ที่ได้และ
บอกด้วยว่าสัญญาณดิจิตอลที่ได้มีรปแบบขนานหรืออนกรมบอกดวยวาสญญาณดจตอลทไดมรูปแบบขนานหรออนุกรม
69
ั ป็ ั ั่ A/D ื
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
สญญาณควบคุมและบอกสถานะ เปนสญญาณควบคุมการสงงาน A/Dหรอบอก
สภาวะการทํางานของ A/D เช่น
WR (W it ) ป็ ั ั่ ใ ้ A/D ิ่ ํ ั ็ ํ ป ้ โWR (Write) เปนสญญาณสงให A/D เรมนาสญญาณแอนะลอกมาทาการแปลงขอมูลโดย
ระหว่างการแปลงข้อมูลสัญญาณแอนะล็อกจะถูกคงค่าให้คงที่ด้วยวงจร Sample and
H ld ั้ ี่ ่ ใ A/D ิป ื ่ ั ั่ ใ ้ ิ่ ปHold ทงแบบทอยูภายใน A/D ชปหรออยูภายนอก และสญญาณสงงานใหเรมแปลง
ข้อมูลนี้อาจมีชื่อเรียกต่างๆกันได้แก่ Start , Write (WR)
EOC (End Of Conversion) เป็นสัญญาณที่ A/D ส่งไปยังอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับ A/D ว่า
แปลงข้อมูลเสร็จแล้ว จะมีชื่อเรียกว่า End of conversion โดยจะใช้ชื่อสัญญาณว่า EOC
(End Of Conversion) หรือ INTR (Interrupt) หรือ Busy
RD (Read) เป็นสัญญาณอินพตของ A/D ที่ส่งจากอปกรณ์ภายนอกเพื่อบอกให้ A/D ส่งRD (Read) เปนสญญาณอนพุตของ A/D ทสงจากอุปกรณภายนอกเพอบอกให A/D สง
ข้อมูลดิจิตอลที่ได้จากการแปลงสัญญาณแอนะล็อกออกไปยังอุปกรณ์ภายนอก ชื่อ
ขาสัญญาณนี้ของ A/D อาจใช้คําว่า Read (RD)ขาสญญาณนของ A/D อาจใชคาวา Read (RD)
70
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ความสัมพันธ์ของสัญญาณดิจิตอลที่เอาต์พุตของ A/D และสัญญาณแอนะล็อกที่
อินพุตของ A/D มีความสัมพันธ์ดังสมการที่ (2.33)
)2( N
×= in
out
V
V
D …(2.33)
ุ
refV
โดย N คือจํานวนบิตของ A/D
Dout คือข้อมูลเอาต์พุต A/D
Vref คือแรงดันอ้างอิงของ A/D ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณref ญญ
Vin คือแรงดันอินพุตที่ต้องการแปลงเป็นดิจิตอล
Resolution of A/D เป็นค่าความละเอียดของ A/D ซึ่งเป็นความกว้างของย่านแรงดันที่Resolution of A/D เปนคาความละเอยดของ A/D ซงเปนความกวางของยานแรงดนท
ทําให้ค่าดิจิตอลเปลี่ยนแปลงไป 1 บิต และคํานวณได้จากสมการต่อไปนี้
V
N
2
Resolution
refV
= …(2.34)
71
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
Q ti ti E ป็ ่ ิ A/D ี่ ป็ ่ ้ ั ี่ ั ใ ้ ่Quantization Error เปนคาผดพลาดของ A/D ทเปนชวงกวางของแรงดนทยงคงใหคา
ดิจิตอลเอาต์พุตที่คงเดิม โดยในรูปที่ 2.45 ค่าผิดพลาดมีค่าระหว่าง 0 – 1 LSB
Inherent Quantization Error จาก
รูปเมื่อ Vin = 0 digital code = 000ู g
แต่เมื่อ Vin >0 แต่น้อยกว่า Vref/8
digital code ก็ยังเป็น 000 อยู่ ส่วนนี้g ู
ถือว่าเกิดค่าผิดพลาดในการแปลงข้อมูล
และเมื่อ Vin = Vref/8 digital codeg
จึงเป็น 001 ซึ่งตรงจุดนี้ Error จะมีค่า
เป็นศูนย์อีกครั้ง กรณีนี้ Quantizationู
Error มีค่าเท่ากับ 1 LSB
รูปที่ 2.45 แรงดันอินพุต-รหัสดิจิตอลเอาต์พุตของ D/A 3 บิต : กรณี Error 0-1LSB
72
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
Inherent Quantization Error จากรูปเมื่อู
Vin = 0 digital code = 000 แต่เมื่อ Vin มี
ค่าประมาณ Vref/16 (ครึ่งหนึ่งของ Vref/8)
แต่น้อยกว่า Vref/8 digital code ก็ยังเป็น
000 อยู่ ส่วนนี้ถือว่าเกิดค่าผิดพลาดในการู
แปลงข้อมูลและเมื่อ Vin = Vref/16 digital
code จึงเป็น 001 ซึ่งตรงจุดนี้ Error จะมีค่า
ติดลบ ½ LSB ในกรณีนี้ A/D มี
Quantization Error คือ ½ LSB
รูปที่ 2.46 แรงดันอินพุต-รหัสดิจิตอลเอาต์พุตของ D/A 3 บิต : กรณี Error ±1/2 LSB
73
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปนี้แสดง Zero Scale Offset Error นั่นคือขนาดแรงดันอินพุตที่มากกว่าศูนย์แต่ยังให้
Digital code เป็นศนย์อย่g ู ู
รูปที่ 2.47 แสดงความผิดพลาดของ A/D กรณีมี Zero Scale Offset
74
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปนี้แสดง Full Scale Offset Error นั่นคือขนาดแรงดันอินพุตที่ทําให้เกิดค่า digital
code สูงสุดโดยที่ค่าแรงดันอินพุตนั้นยังไม่ถึงค่าทางอุดมคติที่จะได้ digital code สูงสุด
ี่ ิ ี ีรูปที 2.48 แสดงความผิดพลาดของ A/D กรณีมี Full Scale Offset
75
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่าง
้ โ ์ โ ์A/D ขนาด 10 บิต มีแรงดันอ้างอิง 5 โวลต์หากอินพุตมีค่าเท่ากับ 3.127 โวลต์จงหาค่า
ดิจิตอลเอาต์พุตของ A/D
ีวิธีทํา
ุตแรงดันอินพตพุตดิจิตอลเอา
=
อิงแรงดันอาง2
=N
1273 10
ดิจิตอลเอาต์พุต =
์ ็
4096.640)2(
5
127.3 10
=×
Aแปลงผลลัพธ์เป็นเลขฐานสอง = 10 1000 0000 Ans
76
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่างตวอยาง
A/D ขนาด10 บิตมีแรงดันอ้างอิง 2.5 โวลต์ถ้าอินพุตมีขนาด 1.45 โวลต์ จงคํานวณหา
ค่าดิจิตอลเอาต์พตคาดจตอลเอาตพุต
วิธีทํา
ั ิิ ิ
อิงแรงดันอาง
ุตแรงดันอินพ
2
ตพุตดิจิตอลเอา
=N
ดังนั้นดิจิตอลเอาต์พุต 593.921024
2.5
1.45
=×=
แปลงผลลัพธ์เป็นเลขฐานสิบหกก็คือ 251H Ans
77
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่าง เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิชนิดหนึ่งให้เอาต์พุตเป็นแรงดัน 0.02 โวลต์ต่อ 1 องศา
ี ่ ั ้ ิ A/D ํ ิ ้ ้ ้ ั ิใเซลเซยส จงหาคาแรงดนอางองของ A/D และจานวนบตขอมูลถาตองการวดอุณหภูมใน
ย่าน 0 ถึง 100 องศาเซลเซียส โดยความละเอียดเท่ากับ 0.1 องศาเซลเซียส
วิธีทําวธทา
คํานวณย่านแรงดันที่ได้จากเซ็นเซอร์
- ค่าสงสด = 0 02 V/องศา x 100 = 2 โวลต์คาสูงสุด 0.02 V/องศา x 100 2 โวลต
ค่าความละเอียดของแรงดันที่ A/D ควรจะวัดได้คิดจากความละเอียดของ
อณหภมิที่ต้องการวัดนั่นคือ 0.1 องศาซึ่งเซ็นเซอร์จะให้แรงดันเอาต์พตอุณหภูมทตองการวดนนคอ 0.1 องศาซงเซนเซอรจะใหแรงดนเอาตพุต
เท่ากับ 0.1 x 0.02 V = 2 mV
สรุป A/D มียานอินพุต = 0 – 2 V โดยความละเอียด 0.02 V (แรงดัน 1 LSB)
78
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
เลือกแรงดันอ้างอิงเท่ากับ 2 โวลต์ตามค่าสูงสุดที่อินพุตของ A/D
จากสมการ N2
2
002.0
N2
refV
V ===Δ
1000
002.0
2
2N
==
แก้สมการ N = 9.9657 ดังนั้นเลือก A/D ขนาด 10 บิต
ํ ี ใ ั- คํานวณความละเอียดในการวัด
จาก A/D ขนาด 10 บิตทําการคํานวณย้อนกลับเพื่อหาค่าความละเอียดที่ A/D 10 บิต
ป ั ไ ้ ี ั ี้ ี ่ ํ ่ ป็ 10 ัสามารถแปลงสญญาณไดจากสมการเดียวกนนีเพียงแตกาหนดคา n เปน 10และแรงดน
อ้างอิงเท่ากับ 2 โวลต์
R l ti ี่ 10 ิ 0019530
2
LSB1Resolution ท 10 บต = 001953.0
2
LSB1 10
==
79
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
Aperture Time
จากที่ผ่านมาพบว่าไม่ว่าจะเป็น A/D ชนิดใดก็ตามก็จะต้องใช้เวลาในการแปลง
สัญญาณจากแอนะล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอลโดยเรียกว่า Conversion Time ดังนั้นหาก
ในระหว่างที่เกิดการแปลงสัญญาณอยู่นี้แรงดันอินพุตที่ A/D ต้องการแปลงเกิดการญญ ู ุ
เปลี่ยนแปลงไปก็จะทําให้เกิดความผิดพลาดในการแปลงสัญญาณของ A/D ซึ่ง
ข้อผิดพลาดนี้จะเรียกว่า Aperture Error
ตัวอย่าง A/D 8 บิตค่า 1 LSB หรือค่าความต่างของแรงดันของค่าดิจิตอล 2 ค่าที่
้ ไ ้ติดกันนันหาได้จาก
fsV×8
2
1
fsV แรงดันเต็มสเกล2
f
ถ้าระหว่างการแปลงสัญญาณหากแรงดันแอนะล็อกอินพุตไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงค่าเกิน
1 LSB A/D ก็จะไม่เกิด Aperture Error1 LSB A/D กจะไมเกด Aperture Error
80
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
หากต้องการป้องกันไม่ให้เกิด Aperture Error โดยไม่ใช้วงจรช่วยก็อาจทําได้โดยการ
ใช้ A/D ที่มีค่าเวลาในการแปลงสัญญาณที่เหมาะสมกับรูปแบบสัญญาณที่ต้องการแปลง
จากรป Aperture Timeคือเวลาที่ค่าแรงดันอินพตจากรูป Aperture Timeคอเวลาทคาแรงดนอนพุต
มีการเปลี่ยนแปลงแรงดันไม่เกินค่า 1 LSB และถ้า
คิดในกรณีที่สัญญาณอินพตเป็นรปไซน์ก็สามารถคดในกรณทสญญาณอนพุตเปนรูปไซนกสามารถ
คํานวณค่า Aperture Time ได้จากสมการต่อไปนี้
f
ta N
π22
1
= …(2.35)
f คือค่าความถี่สัญญาณอินพุต
่ ใรูปที 2.49 กราฟใช้อธิบาย Aperture Error
81
ั ั้ ื่ ้ ั ิ ึ ไ ้ ี ิ่ ใ ่ ี่ ํ ใ ้ ิ
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ดังนันเพือป้องกันการเกิด Aperture Error จึงได้มีการเพิมวงจรในส่วนทีจะทําให้เกิด
ค่าแรงดันอินพุตที่คงที่ในช่วงที่การเปลี่ยนสัญญาณยังไม่เสร็จโดยวงจรดังกล่าวนี้เรียกว่า
ึ่ ใ ปั ั ้ ิ ็ไ ้ ี ํ ้ ไปใSample and Hold ซึงในปัจจุบันผู้ผลิตก็ได้มีการนํา Sample and Hold รวมเข้าไปใน
A/D บ้างเหมือนกันโดย Sample and Hold จะมีลักษณะดังในรูปต่อไปนี้
รูปที่ 2.50 หลักการพื้นฐานของวงจรสุ่มและคงค่าสัญญาณ 82
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่าง Sample and Hold ตระกูล LF198
ต้องพิจารณาค่านี้ด้วยเพราะ
เป็นเวลาที่ใช้ตั้งแต่เริ่มสั่งให้เปนเวลาทใชตงแตเรมสงให
Holdค่าแล้วเอาต์พุตนั้นคงที่
รูปที่ 2.51 Sample & Hold เบอร์ LF198 83
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่าง Sample and Hold HA-2420 และ HA-2425
รูปที่ 2.52 Sample & Hold เบอร์ HA-2420, HA-2425 84
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่าง การใช้ Sample/Hold แบบ Unity Gain (ตระกูล HA บริษัท Intersil)
รปที่ 2.53 Sample & Hold ตระกล HA ของบริษัท INTERSILรูปท 2.53 Sample & Hold ตระกูล HA ของบรษท INTERSIL
85
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่าง ADC 0802 / 0803 / 0804
รูปที่ 2.54 ตัวอย่าง A/D ชิป 8 bit แบบ Parallel
86
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปที่ 2.55 วงจรใช้งานเบื้องต้นของ ADC 0804 87
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
Timing diagram ช่วงสั่งให้เกิดการเริ่มแปลงสัญญาณของ ADC0804จะต้องให้สัญญาณ
CS ป็ ้ ้ ใ ้ ั WR ป็ ่ ึ่ ั้ ใ ้ WRCS เปนขอบขาลงแลวตามดวยใหสญญาณ WRเปนขอบขาลงชวงเวลาหนงจากนนให WR
กลับเป็น High แล้วจึงให้ขาCS เป็น High ก็ถือว่าเสร็จสิ้นการสั่งให้ A/D เริ่มแปลง
ัสญญาณ
่ ่รูปที 2.56 Timing การสัง Start ของ ADC 0804
88
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
หาก ADC0804 แปลงสัญญาณเสร็จก็จะให้สัญญาณเป็น Low ที่ขา INTR ดังนั้นหาก
ตรวจสอบพบว่าแปลงสัญญาณเสร็จแล้วและต้องการอ่านข้อมลก็จะต้องให้ CS = 0 และตรวจสอบพบวาแปลงสญญาณเสรจแลวและตองการอานขอมูลกจะตองให CS 0 และ
ให้ RD = 0 Data ก็จะปรากฏที่ขา DB0-DB7
ป ี่ 2 57 Ti i di ่ ่ ้ ADC0804รูปที 2.57 Timing diagram ชวงการอานขอมูลจาก ADC0804
89
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปที่ 2.58 ตัวอย่าง A/D 8 bit / 8 channel : ADC0808/ ADC0809 90
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปที่ 2.59 โครงสร้างภายใน A/D : ADC0808/ ADC0809 91
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
92
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
่ ใรูปที 2.61 การต่อแรงดันอ้างอิงในการแปลงสัญญาณของ A/D ADC0808
93
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปที่ 2.62 ตัวอย่างการต่อ ADC0808/ ADC0809 กับไมโครโปรเซสเซอร์
94
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
LTC 1409 12 bit A/D
ี่ ั ่ ิ ์รูปที 2.63 ตัวอย่าง A/D ขนาด 12 บิตเบอร์ LTC 1409
95
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รูปที่ 2.64 การต่อแรงดันอ้างอิงและรหัส Digital ของ A/D 12 บิตเบอร์ LTC 1409
96
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
รปที่ 2.65 LTC1409 : Transfer Characteristicsู
97
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
Di it l t A l C t DAC ื D/A ื ป ั ิ ิ ป็Digital to Analog Converter : DAC หรอ D/A คอวงจรแปลงสญญาณดจตอลเปน
สัญญาณแอนะล็อกซึ่งขาสัญญาณของ D/A จะไม่มีอะไรซับซ้อนดังรูปที่ 2.66
รูปที่ 2.66 Digital to Analog Converter
แอนะล็อกเอาต์พุต เป็นสัญญาณแอนะล็อกที่ขาเอาต์พุตของ D/A ที่ได้จากการแปลง
สัญญาณดิจิตอลที่อินพตสญญาณดจตอลทอนพุต
ดิจิตอลอินพุต เป็นสัญญาณดิจิตอลที่อินพุตวงจร D/A ซึ่งข้อมูลดิจิตอลนี้จะแบ่งเป็น
บิตๆโดยแต่ละบิตมีเพียงระดับสัญญาณ 0 หรือ 1 เท่านั้นบตๆโดยแตละบตมเพยงระดบสญญาณ 0 หรอ 1 เทานน
แรงดันอ้างอิง เป็นแรงดันที่ใช้เปรียบเทียบเพื่อการแปลงสัญญาณของ D/A 98
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ั ื้ D/A ื ป ั ิ ิ ี่ ี ่ ป็ ิ ‘0’ ื ‘1’หลกการพนฐานของ D/A คอการแปลงสญญาณดจตอลทมคาเปนลอจก ‘0’ หรอ ‘1’
ให้เป็นแรงดัน โดยการใช้สัญญาณดิจิตอลนั้นไปสั่งงานอิเล็กทรอนิกส์สวิตช์เพื่อตัดต่อ
ใ D/A โ ี ่ ป ั ป ี่ 2 67
VRef
(แรงดันอางอิง)
วงจรภายใน D/A โดยภาพรวมมีสวนประกอบดงรูปที 2.67
(แรงดนอางอง)
เอาตพุตแบบกระแส
วงจรความตานทาน
สวิตชควบคุม

วงจรแปลง

เอาตพุตแบบแรงดัน
ดวยระดับลอจิก กระแสเปนแรงดัน
ดิจิตอลอินพุตMSB LSB
รูปที่ 2.67 ตัวอย่างโครงสร้างภายในของ D/A 99
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ิ DAC ่ ั ี่ใ ้ ้ DAC ไ ้ ่ชนดของ DAC แบงตามลกษณะวงจรทใชสราง DAC ไดแก
- Binary weight DAC และ
R 2R L dd DAC- R-2R Ladder DAC
ในรูปที่ 2.68 เป็น DAC แบบ Binary weight ที่จะใช้ตัวต้านทานด้านอินพุตที่มีค่า
่ ั 2N R ึ่ ใ ป ิ ั ิ ไ ่ไ ้ ั ิ ใ ิ ป็ ไ ีแตกตางกน 2N R ซงในทางปฏบตจะไมไดรบความนยมในการผลตเปนไอซ
D D D2 1 0
รูปที่ 2.68 โครงสร้างอย่างง่ายของ binary weight DAC
D D D2 1 0V ( )VrefOut
2 4 8
= + + …(2.36)
100
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ป ี่ 2 69 ป็ D/A 3 ิ R 2R L dd ึ่ ่ ั ้ ี ่รูปท 2.69 เปน D/A ขนาด 3 บตแบบ R-2R Ladder ซงคาของตวตานทานมแคสอง
ค่าง่ายในการผลิตเป็นไอซีทําให้โครงสร้างแบบนี้มักถูกใช้ในทางปฏิบัติ
= IO x RF
รูปที่ 2.69 โครงสร้างอย่างง่ายของ R-2R Ladder DAC
8
I
2
1
x
V
=n
ref
Rค่ากระแส 1 LSB = …(2.37)
กระแสเอาต์พุต = กระแสที่ 1LSB x ค่าดิจิตอลอินพุตที่แปลงเป็นเลขฐานสิบ 101
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
สิ่งที่ต้องคํานึงเมื่อเลือกใช้ D/A
1. ดิจิตอลอินพุต
่ ่ ไฟ ( )2. แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply)
- แบบแหล่งจ่ายไฟเดี่ยว (Single Supply) เช่น 5V, 12V, 15V
- แบบแหล่งจ่ายไฟคู่ (Dual Supply) เช่น +/- 15 V , +/- 12 V
3 แรงดันอ้างอิง (Voltage reference) 4 ลักษณะสัญญาณเอาต์พต3. แรงดนอางอง (Voltage reference) 4. ลกษณะสญญาณเอาตพุต
5. ออฟเซต(Offset)
6. การค้างค่าสัญญาณอินพุต (Data Latch)
7 เวลาในการแปลงสัญญาณ (Conversion Time)7. เวลาในการแปลงสญญาณ (Conversion Time)
102
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
้ ่ ั ป ั ิ ิ ป็ ั ็ ป ้ ป ป์แมวาตวแปลงสญญาณดจตอลเปนสญญาณแอนะลอกจะประกอบดวยวงจรออปแอมป
ก็ตามแต่ใน D/A ที่มีจําหน่ายบางเบอร์ก็มีสัญญาณกําหนดจังหวะการทํางานของ D/A เช่น
ใ ป ี่ 2 70 ี ั L t h bl ึ่ ใ ้ใ ั่ ใ ้ D/A ั้ ํ ้ในรูปท 2.70 มขาสญญาณ Latch enable ซงใชในการสงงานให D/A นนนาขอมูล
ดิจิตอลด้านอินพุตไปค้างไว้เป็นอินพุตของ D/A ซึ่งผลก็คือแรงดันแอนะล็อกเอาต์พุตจะ
ป ี่ ิ ิ ิ ื่ ั L t h bl ี ti ่ ั้ ึ่ ่เปลยนตามดจตอลอนพุตเมอสญญาณ Latch enable มการ active เทานน ซงยอม
หมายความว่าแรงดันเอาต์พุตจะคงที่ กรณีที่สัญญาณ Latch Enable ไม่มีการ active
รูปที่ 2.70 สัญญาณต่างๆในการเชื่อมต่อ D/A Chip 103
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ใ ์ใ ่ ์ ่ ใ ไในการประยุกต์ใช้ D/A กรณีทีต้องการสัญญาณเอาต์พุตหลายช่องแทนทีจะใช้ไอซี
D/A หลายๆตัวเราก็จะใช้ S&H และไอซีที่ทําหน้าที่อิเล็กทรอนิกส์สวิตช์แทนเพื่อลด
ไ ้ ่จํานวน D/A ดังแสดงไดอะแกรมแนวคิดนีในรูปที 2.73
D/AD/A
รูปที่ 2.73 ตัวอย่างการใช้ S&H เพื่อช่วยลดจํานวน D/A 104
Signal Conditioning Circuit & Data Conversion
ตัวอย่าง D/A ขนาด = 8 บิต แรงดันอ้างอิงคือ2.55โวลต์ จงคํานวณหาค่าResolution
วิธีทํา
Resolution =
1LSB
mVref 96.9
256
55.2
2
55.2
2 8
===N
V
ซึ่งก็หมายความว่าค่าดิจิตอลอินพุตต่ําสุดคือ 0000 0001 ทําให้แรงดันเอาต์พุตมีค่า
เท่ากับ 9.96 mV หรือหากค่าข้อมลดิจิตอลที่อินพตเปลี่ยนไป 1 LSB จะทําให้เทากบ 9.96 mV หรอหากคาขอมูลดจตอลทอนพุตเปลยนไป 1 LSB จ ทาให
แรงดันเอาต์พุตเปลี่ยนไป 9.96 mV
105
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56
Mt2 3 56

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
บทที่5.pdf
บทที่5.pdfบทที่5.pdf
บทที่5.pdfsewahec743
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
Transistor bias circuit
Transistor bias circuitTransistor bias circuit
Transistor bias circuitAdk Adool
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excelการแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excelพัน พัน
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุนApirak Potpipit
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Utai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (20)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
บทที่5.pdf
บทที่5.pdfบทที่5.pdf
บทที่5.pdf
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Transistor bias circuit
Transistor bias circuitTransistor bias circuit
Transistor bias circuit
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excelการแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
8 2
8 28 2
8 2
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
 

Ähnlich wie Mt2 3 56

1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
Man et mini spi can1
Man et mini spi can1Man et mini spi can1
Man et mini spi can1billsprouse
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าNeeNak Revo
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knokZHEZA
 
Precise Measurements Of Faraday Rotation Using Ac Magnetic Fields
Precise   Measurements  Of  Faraday  Rotation  Using  Ac  Magnetic  FieldsPrecise   Measurements  Of  Faraday  Rotation  Using  Ac  Magnetic  Fields
Precise Measurements Of Faraday Rotation Using Ac Magnetic Fieldsoznilzo
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์Nattawut Kathaisong
 

Ähnlich wie Mt2 3 56 (20)

Documents OKR (1).pptx
Documents OKR (1).pptxDocuments OKR (1).pptx
Documents OKR (1).pptx
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
Man et mini spi can1
Man et mini spi can1Man et mini spi can1
Man et mini spi can1
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knok
 
Transistor
TransistorTransistor
Transistor
 
Precise Measurements Of Faraday Rotation Using Ac Magnetic Fields
Precise   Measurements  Of  Faraday  Rotation  Using  Ac  Magnetic  FieldsPrecise   Measurements  Of  Faraday  Rotation  Using  Ac  Magnetic  Fields
Precise Measurements Of Faraday Rotation Using Ac Magnetic Fields
 
Transmission lines
Transmission linesTransmission lines
Transmission lines
 
EECON Paper
EECON PaperEECON Paper
EECON Paper
 
Zener diode
Zener diodeZener diode
Zener diode
 
Diode
DiodeDiode
Diode
 
Diode
DiodeDiode
Diode
 
01
0101
01
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
 
En137
En137En137
En137
 

Mt2 3 56

  • 1. METR0360 Mechatronics System Design Ch2 : Signal Conditioning Circuit & Data Conversion 2.1 บทนํา ้2.2 ทฤษฎีและวงจรออปแอมป์พื้นฐาน - คุณสมบัติในอุดมคติของออปแอมป์ - วงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส - วงจรขยายสัญญาณแบบกลับเฟส - วงจรขยายผลต่าง - วงจรรวมสัญญาณแบบกลับเฟส - วงจรรวมสัญญาณแบบไม่กลับเฟส 2/2556 by psw1999@yahoo.com
  • 2. METR0360 Mechatronics System Design Ch2 : Signal Conditioning Circuit & Data Conversion 2.3 วงจรปรับสภาพสัญญาณ - วงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์ - วงจรปรับ Zero - Span - วงจรปรับ Zero - Span ด้วยออปแอมป์ตัวเดียว 2.4 พื้นฐานการแปลงสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิตอล - Analog to Digital Converter - Digital to Analog Converter 2/2556 by psw1999@yahoo.com
  • 3. METR0360 Mechatronics System Design วัตถุประสงค์ : เพื่อให้สามารถออกแบบวงจรปรับสภาพสัญญาณได้เพอใหสามารถออกแบบวงจรปรบสภาพสญญาณได เพื่อให้เข้าใจการเลือกใช้งานวงจรแปลงสัญญาณ เพื่อสามารถออกแบบวงจรเชื่อมต่อเซนเซอร์เพอสามารถออกแบบวงจรเชอมตอเซนเซอร เพื่อให้เข้าใจการเลือกใช้อุปกรณ์แปลงสัญญาณ 2/2556 by psw1999@yahoo.com 3
  • 4. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ํ2.1 บทนํา [1] รูปที่ 2.1 ภาพรวมการเชื่อมต่อเซนเซอร์เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ ในระบบควบคมที่มีการประมวลผลด้วยตัวควบคมแบบดิจิตอลหรือคอมพิวเตอร์ในระบบควบคุมทมการประมวลผลดวยตวควบคุมแบบดจตอลหรอคอมพวเตอร ส่วนประกอบสําคัญหนึ่งก็คือการเชื่อมต่อสัญญาณจากเซนเซอร์เข้ากับระบบซึ่งหากมอง ในภาพใหญ่แล้วอาจมีลักษณะดังเช่นรปที่ 2 1 ซึ่งประกอบด้วยส่วนสําคัญคือในภาพใหญแลวอาจมลกษณะดงเชนรูปท 2.1 ซงประกอบดวยสวนสาคญคอ - วงจรปรับสภาพสัญญาณ (Signal Conditioning) ฮาร์ดแวร์นําสัญญาณเข้าส่ระบบ (Data Acq isition Hard are DAQ Hard are)- ฮารดแวรนาสญญาณเขาสูระบบ (Data Acquisition Hardware : DAQ Hardware) 4
  • 5. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion Input ่ ป D t A i iti H d ื DAQ ์ ์ ป็ ่ รูปที่ 2.2 ส่วนประกอบของ DAQ Hardware สวนประกอบของ Data Acquisition Hardware หรอ DAQ ฮารดแวรเปนสวน สําคัญของการนําข้อมูลจากภายนอกเข้าสู่ตัวควบคุมที่เป็นแบบดิจิตอลโดยมี ่ ป ื้ ั ป ี่ 2 2 ึ่ ไ ้ ่ (A lifi ) ัสวนประกอบพนฐานดงรูปท 2.2 ซงไดแก วงจรขยาย (Amplifier), วงจรกรองสญญาณ รบกวนด้วยวงจรกรองความถี่ต่ําผ่าน (Low Pass Filter), วงจรสุ่มและคงค่าสัญญาณ (S l d H ld) ั ป ั ็ ป็ ั ิ ิ (A/D)(Sample and Hold), ตวแปลงสญญาณแอนะลอกเปนสญญาณดจตอล(A/D) และ หน่วยความจําเพื่อเก็บข้อมูลที่ได้จากการแปลงสัญญาณ 5
  • 6. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion Signal Conditioning Circuit คือวงจรเชื่อมต่อกับเซนเซอร์เพื่อจัดรูปสัญญาณให้g g ู ญญ เหมาะสมก่อนนําสัญญาณไปใช้งาน ในระบบเมคคาทรอนิกส์มีความจําเป็นที่ต้องวัด ปริมาณต่างๆเพื่อป้อนกลับมาให้ตัวควบคุมได้รู้ว่าสภาวะปัจจุบันของระบบทําให้ตัวๆ ุ ู ุ ควบคุมสามารถควบคุมการทํางานได้ตามคําสั่งที่ป้อนให้กับระบบ ในบทนี้จะอธิบาย การทํางานและการออกแบบวงจรเพื่อเชื่อมต่อกับเซนเซอร์และการปรับสภาพสัญญาณที่ญญ ได้จากเซนเซอร์ให้เหมาะกับการประมวลผล โดยสิ่งแรกที่ควรพิจารณาในการออกแบบ ก็คือเซนเซอร์นั้นมีอะไรเปลี่ยนแปลงเมื่อถูกนําไปวัดปริมาณที่ต้องการ เช่น ความู ต้านทานเซนเซอร์เปลี่ยน หรือเซนเซอร์ให้เอาต์พุตเป็นกระแสหรือแรงดันที่เปลี่ยนตาม ปริมาณที่วัด สิ่งที่ต้องคํานึงถึงอีกอย่างก็คือลักษณะของสัญญาณที่ได้หลังการปรับสภาพญญ สัญญาณแล้วควรเป็นอย่างไร ทั้งสองอย่างนี้เป็นตัวกําหนดลักษณะวงจรในการเชื่อมต่อ ว่าควรมีคุณสมบัติอย่างไรดังจะอธิบายต่อไปนีุ้ 6
  • 7. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปที่ 2.3 ตัวอย่างลักษณะวงจรปรับสภาพสัญญาณในเชิงพาณิชย์ รูปแบบสัญญาณแอนะล็อกมาตรฐาน ปริมาณทางไฟฟ้าจากเซนเซอร์กรณีที่เป็นสัญญาณแอนะล็อก สัญญาณเหล่านี้จะถูกู เปลี่ยนเป็นสัญญาณมาตรฐานในรูปแบบต่างๆที่พบและมีการใช้งานกันในระบบควบคุม และเครื่องมือวัดได้แก่ แรงดัน 0-10 V , 0-5V , -10 V ถึง +10V , 1 - 5V สัญญาณกระแส 4-20 mA สําหรับรูปที่ 2.3 เป็นตัวอย่างฮาร์ดแวร์ของตัวปรับู สภาพสัญญาณที่มีการใช้งานกันและมีผู้ผลิตจําหน่าย 7
  • 8. ี ื้ ์ Signal Conditioning Circuit & Data Conversion 2.2 ทฤษฎีและวงจรพืนฐานของออปแอมป์ [2] 2 LM741 7 6 +VCC OP07 3 4 6 -VCC รูปที่ 2.4 ตัวอย่างสัญลักษณ์ของออปแอมป์และรูปการจัดขา VCC ออปแอมป์เป็นอุปกรณ์พื้นฐานในวงจรปรับสภาพสัญญาณที่เชื่อมต่อกับเซนเซอร์ สัญลักษณ์ดังรปที่ 2 4 จะเป็นรปสามเหลี่ยมมีขาต่างๆได้แก่สญลกษณดงรูปท 2.4 จะเปนรูปสามเหลยมมขาตางๆไดแก - ขาแหล่งจ่ายไฟ ซึ่งอาจะเป็นแบบ Double หรือ Single Supply ขาอินพตทั้งสอง คือ Inverting ( IN) 1และ Non Inverting (+IN)- ขาอนพุตทงสอง คอ Inverting (-IN) 1และ Non Inverting (+IN) - ขาเอาต์พุต (ปลายของรูปสามเหลี่ยม : OUT) 8
  • 9. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion คุณสมบัติในอุดมคติของออปแอมป์ ได้แก่ไดแก 1. แรงดันระหว่างขาอินพุททั้งสองของออปแอมป์มีค่าเป็นศูนย์ 2 Input Impedance ของออปแอมป์นั้นมีค่าสงอย่ในย่าน MΩ2. Input Impedance ของออปแอมปนนมคาสูงอยูในยาน 3. Output Impedance ของออปแอมป์นั้นจะมีค่าต่ํา 4 ในทางอดมคติ Slew rate ของออปแอมป์มีค่าสงมาก MΩ 4. ในทางอุดมคต Slew rate ของออปแอมปมคาสูงมาก 5. Band width มีค่าสูงนั่นคือตอบสนองได้ดีทุกย่านความถี่ ตัวอย่างคุณสมบัติและลักษณะขาของออปแอมป์เบอร์ LM741 แสดงดังรูปที่ 2.5 โดยมีข้อสังเกตคือค่าอินพุตอิมพีแดนซ์หรือค่าเอาต์พุตอิมพีแดนซ์จะแตกต่างจากค่าใน อุดมคติ ซึ่งหากค่าเหล่านี้ใกล้เคียงกับอุดมคติมากเท่าใดก็ย่อมแสดงว่าเป็นออปแอมป์ ที่อาจจะมีราคาแพงเมื่อเทียบกับเบอร์อื่นๆที่คุณสมบัติด้อยกว่า 9
  • 10. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion Input Bias Current . . . . . . 500 nA (Max) Output Impedance . . . . . . 75 Ohms Input Impedance . . . . . . 0.3 Mohms (Min) Applications C tComparator Multivibrator DC A lifiDC Amplifier Integrator รูปที่ 2.5 คุณสมบัติ,การใช้งานและรูปร่างภายนอกออปแอมป์ LM741 10
  • 11. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion Slew Rate รูปที่ 2.6 แสดงคุณสมบัติของออปแอมป์ที่เรียกว่า Slew Rateู ุ คุณสมบัติของออปแอมป์ที่เรียกว่า Slew Rate เป็นสิ่งที่บอกถึงความสามารถว่าุ ตอบสนองต่อสัญญาณความถี่สูงๆได้มากน้อยเพียงใดโดยจะมีหน่วยเป็นแรงดันต่อเวลา เช่น 13 V/us ซึ่งบอกความสามารถในการเปลี่ยนแรงดันเอาต์พตต่อหน่วยเวลาดังุ พิจารณาได้จากรูปที่ 2.6 11
  • 12. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion แบบไฟเลี้ยงเดี่ยวแบบไฟเลี้ยงคู่ รูปที่ 2.7 แสดงการต่อแหล่งจ่ายไฟเพื่อเลี้ยงออปแอมป์ซึ่งมี 2 แบบได้แก่ รูปที่ 2.7 การต่อแหล่งจ่ายไฟให้กับออปแอมป์ 1. กรณีต่อวงจรไฟเลี้ยงแบบไฟเลี้ยงเดี่ยว (Single supply) 2. วงจรแบบไฟเลี้ยงที่มีทั้งบวกและลบ โดยทั่วไปแล้วการใช้งานทั่วไปมักจะใช้แบบไฟเลี้ยงคู่เพราะง่ายในการวิเคราะห์และทํา ความเข้าใจดังนั้นในที่นี้ก็จะอธิบายเฉพาะกรณีที่เป็นไฟเลี้ยงคู่เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม ้ 12 การใช้ไฟเลี้ยงเดี่ยวจะทําให้ประหยัดแหล่งจ่ายไฟและเหมาะกับการใช้งานโดยเฉพาะ อย่างยิ่งที่ใช้แหล่งจ่ายเป็นแบตเตอรี่
  • 13. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion iR fR OV รปที่ 2 8 วงจรขยายแบบไม่กลับเฟส inV วงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส (Non Inverting Amplifier) รูปท 2.8 วงจรขยายแบบไมกลบเฟส รูปที่ 2.8 เป็นวงจรขยายสัญญาณชนิดไม่กลับเฟสสัญญาณซึ่งหมายถึงเฟสของ สัญญาณด้านอินพตและเอาต์พตวงจรจะมีเฟสตรงกัน ในการวิเคราะห์วงจรจะเริ่มจากสญญาณดานอนพุตและเอาตพุตวงจรจะมเฟสตรงกน ในการวเคราะหวงจรจะเรมจาก คุณสมบัติของออปแอมป์ที่บอกว่าผลต่างแรงดันที่ขาอินพุตทั้งสองมีค่าเท่ากับศูนย์ดังนั้น แรงดันที่คร่อมตัวต้านทาน จึงมีค่าเท่ากับแรงดันอินพตซึ่งสามารถเขียนทิศกระแสiRแรงดนทครอมตวตานทาน จงมคาเทากบแรงดนอนพุตซงสามารถเขยนทศกระแส และแรงดันในวงจรดังรูปที่2.9 i 13
  • 14. R Signal Conditioning Circuit & Data Conversion inV - +- fR i iV + + +iR OV รูปที่2.9 ทิศทางแรงดันและกระแสในวงจรขยายแบบไม่กลับเฟส inV - - ู V จากรูปเขียนสมการกระแสและแรงดันดังนี้ (2 1) in in R V i −= infO VRiV +⋅−= …(2.1) …(2.2)infO แทนค่ากระแสลงในสมการเอาต์พุต in in f ininf in in O V R R VVR R V V +=+ − −= inin ⎟⎟ ⎠ ⎞ ⎜⎜ ⎝ ⎛ += 1 in f inO R R VV …(2.3) 14
  • 15. ั ั Signal Conditioning Circuit & Data Conversion วงจรขยายสัญญาณแบบกลับเฟส (Inverting Amplifier) ใ ป ี่ 2 10 ั fRinV + - + จากวงจรในรูปท 2.10 แรงดน ระหว่างขาอินพุตออปแอมป์เท่ากับ ์ ั่ ื ั ่ RV i รปที่2 10 วงจรขยายแบบกลับเฟสสัญญาณ ศูนยนนคอแรงดนตกครอมความ ต้านทานด้านอินพุตเท่ากับแรงดัน ิ ั ั้ i ํ OV iRinV รูปท2.10 วงจรขยายแบบกลบเฟสสญญาณอนพุต ดงนนกระแส i คานวณจาก สมการที่ (2.5) inV i = inR VV i = …(2.4) …(2.5) inR i = fO iRV −= …(2.5) …(2.6) i f inO R R VV −= …(2.7)และแรงดันเอาต์พุตคือ 15
  • 16. ่ Signal Conditioning Circuit & Data Conversion วงจรขยายผลต่าง (Differential Amplifier) fR 1R OVi bV aV 2R 3R 2V1V รูปที่ 2.11 วงจรขยายผลต่าง วงจรนี้จะขยายผลต่างของสัญญาณที่เข้ามาที่ขาอินพุตของออปแอมป์ทั้งสองโดยมี ลักษณะวงจรดังรูปที่ 2.11 จากคุณสมบัติของวงจรแบ่งแรงดันและออปแอมป์จะได้ว่า 32 3 2 RR R VVV ba + == …(2.8) 1 1 R VV i a− =เมื่อพิจารณากระแส i จะได้ว่า …(2.9) 16
  • 17. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion แรงดันเอาต์พุตของวงจรในรูปที่ 2.11 สามารถคํานวณได้จาก afO VRiV +×−= แทนค่ากระแส i ลงในสมการเอาต์พุต VV ⎞⎛ VV ⎞⎛ af a O VR R VV V +×⎟⎟ ⎠ ⎞ ⎜⎜ ⎝ ⎛ − −= 1 1 R af a O VR R V R V V +×⎟⎟ ⎠ ⎞ ⎜⎜ ⎝ ⎛ −−= 11 1 แทนค่า 32 3 2 RR R VVa + = RRVV ⎞⎛ 32 3 2 321 32 1 1 )( RR R VR RRR RV R R V V ffO + +⎟⎟ ⎠ ⎞ ⎜⎜ ⎝ ⎛ + −−= …(2.10) เพื่อให้การนําวงจรนี้ไปใช้งานได้ง่ายขึ้นก็จะกําหนดให้ค่าความต้านทานในวงจรมี ความสัมพันธ์กันคือ fRRRR == 321 ,ความสมพนธกนคอ fRRRR 321 , 17
  • 18. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion 2 21 f f f fO R VR RV R V V + ⎟ ⎟ ⎞ ⎜ ⎜ ⎛ −−= )()( 1 2 111 f f f fO RR VR RRR R R V + + ⎟ ⎠ ⎜ ⎝ + 221 fff RVRRV R V V )()( 1 2 11 2 1 1 f f f ff fO RRRRR R R V V + + + +−= ⎟ ⎞ ⎜ ⎛ RRV ⎟ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎜ ⎝ ⎛ + + + +−= )()( 11 1 11 2 1 1 ff f ffO RRR R RRR R RVR R V V ⎞⎛ )( RRV ⎟ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎜ ⎝ ⎛ + + +−= )( )( 11 1 2 1 1 f f ffO RRR RR RVR R V V Gain 1 2 1 1 R R V R R VV ff O +−= )( 12 1 VV R R V f O −= …(2.11) 18
  • 19. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion 1R รูป2.12 วงจรขยายผลต่างที่มีอินพุตสองสัญญาณ สรุปวงจรขยายผลต่างชนิดที่มีสัญญาณอินพุต 2 สัญญาณดังรูปที่ 2.12 จะมีสมการ แรงดันเอาต์พตคือ )( 12 VV R V f O −= แรงดนเอาตพุตคอ …(2.12))( 12 1R O ( ) 19
  • 20. ่ ี ิ ี Signal Conditioning Circuit & Data Conversion วงจรขยายผลต่างแบบมีอินพุตเดียว วงจรแบบนี้แตกต่างวงจรในรูปที่ 2.12 เพียงเล็กน้อยคือสัญญาณอินพุตมีเพียง ั ี ั ี่ ่ ั ํ ั ใ ิ ์ ั ิ ็ ื ่ ัสัญญาณเดียวดังรูปที 2.13 แต่หลักสําคัญในการวิเคราะห์ยังคงเดิมก็คือผลต่างของแรงดัน ที่ขา Inverting และ non Inverting ของออปแอปม์ยังมีค่าเท่ากับศูนย์ดังนั้นจากรูป 2.13 ี ั ี้เขียนสมการตามกฎ KVL ดังนี iiiin iRRiRiV 20 =×++×= …(2.13) R ) 2 ( i in R V i = …(2.14) iR fR i inV iR OV fRfR รูปที่ 2.13 วงจรขยายผลต่างแบบอินพุตเดียว 20
  • 21. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion เขียนสมการแรงดันเอาท์พุตคือ +×−= )( fO RiV ั ่ ิ ป ป์ ่ ั ์ ั ั้ ั ์ ็ ื แรงดันระหว่างขาอินพุตออปแอมป์ )( fRi ×−+ …(2.15) แรงดนระหวางขาอินพุตออปแอมปเทากบศูนยดงนนแรงดนเอาตพุตก็คือ )2( RiV ×−= )( in V i =)2( fO RiV ×= ) 2 ( iR i ั ั้ fin R VR V V )2( (2 16)ดังนัน i f inf i in O R VR R V −=×−= ) 2 2( …(2.16) 21
  • 22. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion การปรับแต่งวงจรขยายผลต่าง ในทางปฏิบัตินั้นค่าความต้านทานในวงจรที่เรากําหนดให้มีค่าเท่ากันและออฟเซตในฏ ออปแอมป์จะทําให้เกิดปัญหาในการทํางานกล่าวคือเมื่อแรงดันอินพุตเป็นศูนย์เอาต์พุตไม่ เป็นศูนย์ การแก้ปัญหาทําโดยเปลี่ยนค่าความต้านทาน Rf ที่ขาอินพุตแบบไม่กลับเฟสู ญ f ุ สัญญาณให้เป็นตัวต้านทานแบบปรับได้ดังรูปที่ 2.14 จากนั้นก็ป้อนแรงดันอินพุตเป็น ขนาดเล็กในย่านมิลลิโวลต์ที่อินพุตทั้งสองศูนย์จากนั้นปรับค่าความต้านทานที่ปรับได้นี้ให้ fR ุ ู เอาต์พุตมีขนาดใกล้ศูนย์ iR V i inV iR OV fRinV รูปที่ 2.14 วงจรขยายผลต่างที่มีจุดปรับแต่งการทํางาน 22
  • 23. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion fR วงจรขยายผลต่างแบบมีแรงดันอ้างอิง inV iR OV i iR fR Vref V รูปที่ 2.15 วงจรขยายผลต่างที่มีแรงดันอ้างอิง จากวงจรในรูปที่ 2.15 พบว่ากระแส i ยังคงมีค่าเหมือนเดิมแต่สิ่งที่เปลี่ยนไปก็คือ แรงดันเอาต์พุตมีเทอมของแรงดันอ้างอิง เพิ่มเข้ามาrefVุ ref +×−= )( fO RiV แรงดันระหว่างขาอินพุต OpAmp reff VRi +×−+ )( 0 โวลต ref i f inO V R R VV +×−= )( …(2.17) 23
  • 24. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ปัญหาของวงจรขยายผลต่างคือเรื่อง ่ ้ ้ ปัญหาของวงจรขยายผลต่าง fR i ความเกียวข้องกันระหว่างความต้านทาน อินพุตของวงจรและอัตราการขยาย โดยinV iR OV i จากสมการ (2.17) f f iO V R VV +×−= )( iR fR refVz ref i inO V R VV +)( รูปที่ 2.16 อินพุตวงจรขยายผลต่าง ref inz ถ้าความต้านทาน อัตราขยายวงจรจะลดลงแต่ค่าความต้านทานด้านอินพุตของ ี่ ี ่ I t i d ี ่ ิ่ ึ้ ั ั้ ้ ั iR วงจรทเรยกวา Input impedance จะมคาเพมขน ดงนนหากตองการอตราการ ขยายแรงดันที่สูงและอินพุตอิมพีแดนซ์สูงๆด้วยก็อาจจะต้องใช้วงจรอื่น inZ 24
  • 25. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion สมมุติว่าใช้เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิชนิดหนึ่งต่อกับวงจรบริดจ์ดังรูปที่ 2.17 และให้ ตัวอย่างที่ 2.1 ุ ุ ู ู แรงดันเอาต์พุตแปรผันตรงกับอุณหภูมิดังนี้ ที่ 0 ºC มีค่าแรงดัน Output = 0mVp ที่ 100 ºC มีค่าแรงดัน Output = 500mV จงออกแบบวงจรเชื่อมต่อเซ็นเซอร์ให้ได้ค่าแรงดัน -10V ที่ 0 ºCและ 10 V ที่ 100 ºCจงออกแบบวงจรเชอมตอเซนเซอรใหไดคาแรงดน -10V ท 0 Cและ 10 V ท 100 C +10V Signal+Sensor Signal Conditioning Circuit Vsensor + Vout + รูปที่ 2.17 ลักษณะวงจรบริดจ์ของเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิในตัวอย่างที่ 2.1 25
  • 26. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion วิธีทํา เนื่องจากเป็นวงจรบริดจ์อาจใช้วงจรขยายผลต่างหรือวงจรขยายอินสตรูเมนท์ก็ ได้ โดยในที่นี้เลือกใช้วงจรขยายผลต่างจากนั้นเขียนไดอะแกรมดังรูปที่ 2.18 แทนย่าน 0 mV -10 V แรงดันอินพุตของวงจรและย่านแรงดันเอาต์พุตที่ต้องการ Diff. Amp. 0 mV -10 V 500 mV 10 V VOVin รูปที่ 2.18 ความสัมพันธ์ระหว่างอินพุตเอาต์พุตวงจรดังนี้ CmVV inO += โดย m คือความชันของเส้นตรงที่แทนความสัมพันธ์ C คือค่าของเอาต์พตเมื่ออินพตเป็นศนย์ ุ ุ C คอคาของเอาตพุตเมออนพุตเปนศูนย ดังนั้น m หาได้จาก 40 05.0 )10(10 VV VV ΔV ΔV m inmininmax OminOmax in O = − −− = − − == inmininmaxin และค่าของ C = -10 และเขียนสมการได้ดังนี้ 1040VV inO −= 26
  • 27. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion หากเลือกใช้วงจรขยายผลต่างแทนความสัมพันธ์ดังสมการจะต้องมีการต่อแรงดัน อินพุตให้ขั้วลบต่อเข้าที่ขา Inverting ของออปแอมป์ดังรูปที่ 2.19 และเลือกใช้แรงดัน ่Vref ที่มีค่าเท่ากับ -10 และเลือกค่า K = 40 refin VVV += KO refinO 1040O −= inVV ืและเลือก R = 10kΩ , KR = 40 x 10kΩ = 400 kΩ Ans### OV รูปที่ 2.19 วงจร Differential Amp ที่ออกแบบ refV 27
  • 28. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion วงจรรวมสัญญาณแบบกลับเฟส (Inverting Summing Amplifier) fO R VVV V )( 321 ++−= fO RRR )( 321 รูปที่ 2.20 วงจร Inverting Summing Amplifier จากวงจรจะได้ว่า i1 = V1 / R1 i2 = V2 / R2 i3 = V3 / R3 โดยที่โดยท iT = i1 + i2 + i3 และ VO = -iT x Rf fO R R V R V R V V )( 3 3 2 2 1 1 ++−=ดังนั้นจะได้ว่า …(2.18) 28
  • 29. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ไ a V +- VV i a )( 1 − วงจรรวมสัญญาณแบบไม่กลับเฟส (Inverting Summing Amplifier) R i a )( 1 1 = R VV i a )( 2 2 − = a a T R V i − = R R VV i a )( 3 3 − = ี่ R afTO VRiV +−=RRRR === 321 รูปที 2.21 Non Inverting Summing Amplifier จากคุณสมบัติของออปแอมป์ที่ว่าไม่มีกระแสไหลเข้าขาอินพุตและเงื่อนไขค่าความุ ุ ต้านทานตามวงจรในรูปที่ 2.21 ดังนั้นจะได้ว่า VVVViii 3)(0 )( 321 VVV V ++ (2 19)a VVVViii 3)(0 321321 −++==++ 3 )( 321 Va = …(2.19) 29
  • 30. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ้ )( VVV ++ ใ ์ดังนั้นแทนค่าของแรงดัน 3 )( 321 VVV Va ++ = ลงในสมการของเอาต์พุต afTO VRiV +−= afTO 3 321 VVV RiV fTO ++ +−= และแทนกระแส a T R V i − = 3 aR 3 321 VVV R R V V f a O ++ += ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ ++ +⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ ++ = 321321 VVVVVVR V f O 3R f a O ⎟ ⎠ ⎜ ⎝ ⎟ ⎠ ⎜ ⎝ 33Ra O ⎤⎡ ⎟ ⎞ ⎜ ⎛ ++ f RVVV 321 (2 20)⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ +⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ ++ = a f O R VVV V 1 3 321 …(2.20) 30
  • 31. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ั ั วงจรปรับสภาพสัญญาณจากเซ็นเซอร์และการเชื่อมต่อกับ DAQ Hardware จะใช้ 2.3 วงจรปรับสภาพสัญญาณ [3] ออปแอมป์สร้างวงจรปรับสภาพสัญญาณซึ่งมีวงจรหลายชนิดเช่น 1. วงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์ (Instrument Amplifier) 2. วงจรปรับซีโร่-สแปน (Zero - Span Circuit) 3. วงจรกรอง (Filter Circuit) แม้ในบางครั้งอาจจะมีวงจรชนิดอื่นอีกเพื่อมเชื่อมต่อกับเซนเซอร์แต่ที่ใช้งานกันมากก็ มักจะเป็นวงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์และวงจร Zero-Span เท่านั้น ดังนั้นในที่นี้จะ กล่าวถึงเพียงสองวงจรเท่านั้น นอกจากนั้นในสายงานเมคคาทรอนิกส์เองแล้วไม่ได้ ออกแบบทุกส่วนในระบบเองโดยเฉพาะในส่วนของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้ จะผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปให้เลือกใช้งานเสียเป็นส่วนใญ่โดยเฉพาะตัวควบคุมแบบดิจิตอล และ DAQ Hardware 31
  • 32. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ์ -มีอิมพีแดนซ์ทางอินพุตสูง ้ วงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์ (Instrument Amplifier) R -อัตราการขยายของวงจรนั้นไม่มี ผลต่ออินพุตอิมพีแดนซ์ซึ่ง R R R aV V V แก้ปัญหาที่เกิดในวงจรขยาย แบบดิฟเฟอเรนเชียลRbV inV 1OV OV mR i bain VVV −= VV i ba − = …(2.21) …(2.22) R R b mR )(1 RmRRiVO ++= รูปที่ 2.22 วงจร Instrumentation Amplifier …(2.23) จากวงจรเมื่อกําหนดให้ค่าความต้านทานในส่วนที่เป็นวงจรขยายผลต่างมีความ ต้านทานเท่ากันหมด ดังนั้นค่าแรงดันเอาต์พุตจึงมีค่าเท่ากับ )1 2 ()2()2(1 +−=+−=+−=−= m VmRR mR V mRRiVV in in OO …(2.24) 32
  • 33. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ขั้นตอนการเลือกตัวต้านทานใน Instrumentation Amplifier 2 1. จากอัตราการขยาย )1 2 ( += m Gain 2 2. คํานวณค่า m จาก 1 2 − = Gain m 3. เลือกค่า R ที่จะใช้โดยใช้ค่าที่มีจําหน่ายในท้องตลาด ื ่ ั ้ ่ ้ ่ ่ ี่ไ ้ ้ ไ ่ ้4. เลือกค่าตัวต้านทาน mR จากค่า m คูณด้วย R แต่ค่าทีได้จะต้องไม่น้อย จนเกินไปเพราะจะทําให้ค่ากระแสไหลสูงในทางปฏิบัติทําไม่ได้ ควรใช้ตัวต้านทานชนิดค่าผิดพลาด 1% 33
  • 34. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่างที่ 2.2 จากวงจรในรปที่ 2 23 หาก R4 เป็น Sensor ชนิดที่ความต้านทานเปลี่ยนตามจากวงจรในรูปท 2.23 หาก R4 เปน Sensor ชนดทความตานทานเปลยนตาม อุณหภูมิโดย R4 มีค่าระหว่าง 100 - 102 Ω จงออกแบบ Instrument Amp. ให้มี แรงดัน O/P เท่ากับ 2 5 V เมื่อความต้านทาน R4 = 102 Ωแรงดน O/P เทากบ 2.5 V เมอความตานทาน R4 = 102 Ω รูปที่ 2.23 ตัวอย่างวงจร Instrument Amplifier เชื่อมต่อกับเซ็นเซอร์ 34
  • 35. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion วิธีทํา ่ Vb > Va 102100 102 V5 100100 100 V5VbVa −=− รูปที 2.24 102100100100 ++ mV75.24VbVa −=− ้ดังนั้น Voltage gain ของวงจร Instrument Amp. 101 24.75mV 2.5V −= − 35
  • 36. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion )1 2 ( +−= m VV inOจากสมการอัตราการขยายของวงจร -101 = ) m 2 (1- + 2 m m 2 100 = 50 1 100 2 m == 150KΩR =ถ้าเลือก 50100 จะได้ค่าความต้านทาน 3KΩ150KΩ 50 1 mR == 150KΩR = สรุป 3KΩmR 150KΩR = = 36
  • 37. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ปัญหาในทางปฏิบัติของวงจรขยายแบบ Instrumentation ก็คือการความต้านทาน ในวงจรต้องมีค่าถกต้องโดยเฉพาะค่าที่เหมือนกันจะต้องเท่ากันหรือใกล้เคียงกันมากที่สดในวงจรตองมคาถูกตองโดยเฉพาะคาทเหมอนกนจะตองเทากนหรอใกลเคยงกนมากทสุด โดยมักเลือกใช้ชนิดค่าผิดพลาด 1 % แต่อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไอซีเข้าใจในปัญหานี้ก็ได้ทํา การออกแบบวงจรรวมที่ทําหน้าที่เป็นวงจรขยายแบบอินสตรเมนท์โดยตัวต้านทานในการออกแบบวงจรรวมททาหนาทเปนวงจรขยายแบบอนสตรูเมนทโดยตวตานทานใน วงจรจะสร้างด้วยวิธีการของสารกึ่งตัวนําทําให้ค่าตัวต้านทานแม่นยํามากขึ้น ในรูป ต่อไปนี้เป็นไดอะแกรมของชิปที่เป็น Instrument Amp เบอร์ IN110A ดังรปที่ 2.25 ซึ่งตอไปนเปนไดอะแกรมของชปทเปน Instrument Amp เบอร IN110A ดงรูปท 2.25 ซง สามารถค้นคว้าเพิ่มเติมจาก http://www.ti.com (บริษัท Texas Instrument) และจาก ไดอะแกรมของชิปจะพบว่าผ้ออกแบบได้ยอมให้ผ้ใช้งานสามารถกําหนดค่าความต้านที่ไดอ แกรมของชปจ พบวาผูออกแบบไดยอมใหผูใชงานสามารถกาหนดคาความตานท เป็นการกําหนดอัตราการขยายของวงจรได้และอีกส่วนหนึ่งก็จะสามารถกําหนดค่าแรงดัน อ้างอิงที่เป็นการปรับออฟเซตของเอาต์พตได้เช่นกันและนอกจากนั้นบริษัท Analogอางองทเปนการปรบออฟเซตของเอาตพุตไดเชนกนแล นอกจากนนบรษท Analog Device ก็ได้ผลิตชิปในลักษณะนี้เช่นกันได้แก่เบอร์ AD524 ในรูปที่ 2.26 37
  • 38. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปที่ 2.25 โครงสร้างของ Instrumentation Amplifier เบอร์ INA110 38
  • 39. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รปที่ 2 26 โครงสร้างของ I t t ti A lifi เบอร์ AD524รูปท 2.26 โครงสรางของ Instrumentation Amplifier เบอร AD524 39
  • 40. ใ ์ Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ผลความต้านทานสายสัญญาณในวงจรขยายแบบอินสตรูเมนท์ กรณีที่วงจร Instrument Amp. ต่อสายที่ยาวขึ้นเพื่อนําสัญญาณOutput ไปใช้งานกรณทวงจร Instrument Amp. ตอสายทยาวขนเพอนาสญญาณOutput ไปใชงาน นั้นอาจจะเกิดปัญหาได้เนื่องจากแรงดันตกคร่อมในสายได้ซึ่งในรูปต่อไปนี้จะได้วิเคราะห์ ผลความต้านทานของสายที่มีผลต่ออัตราการขยายผลความตานทานของสายทมผลตออตราการขยาย R R Rw S R R Rw mR R Vin I V Rw RL Sense O/P I V Rw RL Vo R RR Rw RL Ref Vo RR Rw RL a) b) รูปที่ 2.28 วงจรที่ใช้ชดเชยปัญหาความต้านทานในสายของ Instrument Amp.ู ญ p 40
  • 41. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion จากรูป b) R2 V I = V )( RwRRRwIVo +++−= )( 2 RwRRRw R V +++−= )R2Rw2( V +−= ) R2Rw2 (V +−=)( R2 ) R2R2 (V + )1 Rw (VVo +−= …(2.25))1 R (VVo + ( ) จากรูป )RmRR(iV ++= )mRR2( Vin += )( mR ) mR mR mR R2 (VinV += )1 m 2 (Vin += mRmR m 41
  • 42. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion แทนค่าของ V ลงในสมการ Vo ซึ่งจะได้สมการแรงดันที่ Output ที่รวมผลความ ต้านทานสายไปด้วยดังนี้ )1 R Rw )(1 m 2 (VinVo ++−= …(2.26) Rm จากการวิเคราะห์ผลของสายนั้นสิ่งที่แตกต่างจากที่ผ่านๆมาคือการกําหนดOutputๆ p ของวงจรนั้นจะกําหนดที่ RL ซึ่งเป็น Load ของวงจรซึ่งก็ถูกต้องแล้วเพราะเป็นจุดที่เรา นําไปใช้งานและก็ได้นําค่าความต้านทานสายมาคิดในการคํานวณอัตราการขยายด้วย จากสมการหากให้ผลของสายตัวนํามีผลน้อยที่สุดต้องเลือก R >> Rw 42
  • 43. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion อย่างไรก็ตามหากการใช้งานต้องการต่อสายจากวงจรขยายอินสตรูเมนท์ให้ยาวก็ อาจจะต้องเพิ่มวงจรขยายกระแสเอาต์พุตของออปแอมป์โดยใช้ทรานซิสเตอร์ดังรูปทีุ่ ู 2.29 โดยทรานซิสเตอร์ชนิด NPN จะทํางานกรณีกระแสจากออปแอมป์มีค่าเป็นบวก (ไหลออก) และทรานซิสเตอร์ชนิด PNP ทํางานช่วงกระแสเอาต์พุตออปแอมป์มีค่าเป็นค่าุ ลบ (ไหลเข้า) R R Sense mR R Vin I V +V Vo mR R Vin V RL -V Output RR Reference รปที่ 2 29 การใช้ทรานซิสเตอร์ช่วยขยายกระแสวงจรขยายแบบอินสตรเมนท์รูปท 2.29 การใชทรานซสเตอรชวยขยายกระแสวงจรขยายแบบอนสตรูเมนท 43
  • 44. ป ั Z S Signal Conditioning Circuit & Data Conversion วงจรปรบ Zero - Span วงจรปรับ Zero-Span เป็นวงจรปรับสภาพสัญญาณ ที่ใช้ในการแปลงย่านแรงดันของ ่ ไ ็ ่ ่ ใ ้สัญญาณจากย่านหนึงไปเป็นสัญญาณทีมีย่านแรงดันทีเหมาะกับการใช้งาน จากกราฟ เป็นตัวอย่างย่านแรงดันอินพุตและเอาต์พุตของวงจรปรับ Zero-span ซึ่งจะเห็นว่าแม้ ็ ์ ี่ ์ ี โ ์ ้แรงดันอินพุตจะเป็นศูนย์แต่ทีเอาต์พุตจะมีค่าแรงดันเท่ากับ 1 โวลต์ดังนันการขยายขนาด เพียงอย่างเดียวจึงไม่สามารถตอบสนองได้ 5 แรงดันเอาตพุต (Volt) 5 4 3 2 1 Zero & Span Circuit อินพุต 0 - 5 V เอาตพุต 1 - 5 V รปที่ 2 30 ตัวอย่างความสัมพันธ์ย่านแรงดันอินพต/เอาต์พตวงจรปรับ Zero-Span 1 2 3 4 5 1 แรงดันอินพุต (Volt) Circuit รูปท 2.30 ตวอยางความสมพนธยานแรงดนอนพุต/เอาตพุตวงจรปรบ Zero-Span 44
  • 45. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ทุกเสนความชันเทากัน แตจุดตัดแกน Y ตางกัน ่ การปรับคณสมบัติของวงจร 2 อย่างด้วยกันคือการปรับ Zero และการปรับ Span รูปที 2.31 ผลการปรับค่า Zero ของวงจร Zero-Span การปรบคุณสมบตของวงจร 2 อยางดวยกนคอการปรบ Zero และการปรบ Span การปรับค่า Zero คือการการปรับจุดตัดแกนแนวตั้งของกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง แรงดันเอาต์พต-อินพตของวงจรซีโร่-สแปนนั่นเองแรงดนเอาตพุต อนพุตของวงจรซโร สแปนนนเอง 45
  • 46. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปที่ 2.32 ผลการปรับค่า Span ของวงจร Zero - Span การปรับ Span ก็คือการปรับค่าความชันของกราฟความสัมพันธ์ระหว่างเอาต์พุต- อินพตวงจรปรับ Zero-Span โดยที่ค่าของจดตัดแกนแนวตั้งนั้นไม่ได้เปลี่ยนแปลงอนพุตวงจรปรบ Zero Span โดยทคาของจุดตดแกนแนวตงนนไมไดเปลยนแปลง 46
  • 47. R Signal Conditioning Circuit & Data Conversion OSR fR R R CCV+ CCV± R iR inV 2/R CCV− in ่รูปที 2.33 วงจรปรับ Zero-Span วงจรปรับ Zero-Span ดังรูปที่ 2.33 ที่จริงแล้วก็คือวงจรขยายผลรวมสัญญาณp ู ญญ แบบไม่กลับเฟส หรือที่เรียกว่า Inverting Summing Amplifier นั่นเองโดยมีการนํามา ต่อกับวงจร Inverting Amp. ให้ได้เครื่องหมายของแรงดันเอาต์พุตตามต้องการโดยp ุ วงจรมีสมการแรงดันเอาต์พุตคือ (2 27)ff V R V R V …(2.27)CC OS f in i f O V R V R V ⋅+⋅= 47
  • 48. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion RR เปรียบเทียบสมการเส้นตรงกับสมการแรงดันเอาต์พุตวงจรปรับ Zero-Span CC OS f in i f O V R R V R R V ⋅+⋅= CVmV inO +⋅= OV จุดตัดแกน Y f R R m = CC OS f V R R C = iR inV รูปที่ 2.34 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างอินพุตเอาต์พุตวงจรปรับ Zero-Span 48
  • 49. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ขั้นตอนการออกแบบวงจรปรับ Zero-Span ้ ํ ิ ์ V Vจากขอกําหนดอินพุต-เอาตพุต maxOVmaxinV mininV minOV minmax minmax inin OO VV VV m − − =1) คํานวณค่าความชันกราฟจาก 2) จากความสัมพันธ์ CmVV inO += แทนค่า m และค่า mininV minOV เพื่อหาค่า C หรือ mininV minOV เพื่อหาค่า C ่3) นําค่าที่ได้จากข้อ 2) ไปคํานวณหาค่าตัวต้านทาน fR m = CC f V R C = iR CC OSR 49
  • 50. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion จากค่าความต้านทานที่คํานวณได้นั้นมักจะเลือกให้ค่าความต้านจากคาความตานทานทคานวณไดนนมกจะเลอกใหคาความตาน OSR และ iR เป็นตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ดังในรูปที่ 2.35 Ωk50 Ω= kROS 50 Ωk20 Ωk50 รูปที่ 2.35 การเลือกค่าความต้านทานหลังจากการคํานวณ 50
  • 51. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion การปรับแต่งวงจรปรับ Zero-Span หลังจากเลือกค่าความต้านทานได้แล้วการปรับแต่งจะทําโดย 1. ป้อนแรงดันอินพุตต่ําสุด Viminตามข้อกําหนดการออกแบบจากนั้นปรับค่าตัว ้ R ใ ้ไ ้ ์ ่ ่ํ Vตานทาน ROSใหไดเอาตพุตตามคาตาสุด VOmin 2 ป้ ั ิ ส ส V ้ ํ ั้ ป ั ่ ั2. ปอนแรงดนอนพุตสูงสุด Vimax ตามขอกาหนดการออกแบบจากนนปรบคาตว ต้านทาน Riให้ได้เอาต์พุตตามค่าสูงสุด VOmax 3. ย้อนกลับไปกระทําตามข้อ 1. และข้อ 2. ใหม่และทําซ้ําๆจนได้ค่าที่ถูกต้อง 51
  • 52. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ั ่ ี่ 2 3ตวอยางท 2.3 สมมุติว่าต้องการออกแบบวงจรให้มีความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอินพุต- เอาต์พุตดังรูปที่ 2.36 ให้เขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Vo และ Vin Signal conditioning Vin(max) = 5V Vo(max) = 5 V V Circuit Vin(min) = 1V Vo(min) = 0 V V O รูปที่ 2.36 52
  • 53. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion วิธีทํา ความชันสมการเส้นตรง ΔVo Vo(max) - Vo(min) m = = ΔVin Vin(max) - Vin(min) 5 - 0 m = 1.25 5 - 1 = จาก Vo = mVin + C แทนค่า Vo = 5 และ Vin = 5 และ m = 1.25 ั ั้ ่ ไ ้ ั ั ์ ื ดังนันจะหาค่า C ได้จาก C = Vo – mVin = 5 – (1.25 x 5) = -1.25 สรุป ความสัมพันธ์ Vo , Vin คือ Vo = 1.25Vin – 1.25 53
  • 54. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion 6 4 5 3 Vo(V) 1 2 1 2 3 4 5 0 Vin (V) รูปที่ 2.37 กราฟความสัมพันธ์ Vo , Vin ตามสมการ Vo = 1.25Vin – 1.25 54
  • 55. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่างที่ 2.4ตวอยางท 2.4 สัญญาณจากอุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมิชนิดหนึ่งที่มีการขยายระดับแรงดันแล้วให้ สัญญาณเอาต์พตเป็นแรงดันค่า 2 ถึง 2.5 โวลต์เมื่อใช้ในการวัดอณหภมิในช่วง 0 องศาสญญาณเอาตพุตเปนแรงดนคา 2 ถง 2.5 โวลตเมอใชในการวดอุณหภูมในชวง 0 องศา เซลเซียสถึง 100 องศาเซลเซียสหากเราต้องการนําสัญญาณดังกล่าวนี้เชื่อมต่อเข้ากับ ระบบคอมพิวเตอร์โดยผ่านวงจรแปลงสัญญาณอนาลอกเป็นดิจิตอลนั้นจะต้องออกแบบระบบคอมพวเตอรโดยผานวงจรแปลงสญญาณอนาลอกเปนดจตอลนนจะตองออกแบบ วงจรเพื่อเชื่อมต่อกับวงจร A/D อย่างไรโดยสมมุติว่า A/D chip ที่ใช้งานนั้นสามารถรับ แรงดันอินพตในย่าน 0-5 โวลต์แรงดนอนพุตในยาน 0 5 โวลต 55
  • 56. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ใ ั ่ ี้ ชื่ ่ ั ป ์ ั ิ A/D วิธีทํา ในตวอยางนการออกแบบวงจรเชอมตอกบอุปกรณตรวจวดอุณหภูมและ A/D chip นั้นจะต้องใช้วงจรที่สามารถปรับระดับของซีโร่ได้และหากต้องการความละเอียดก็ ควรจ ขยายย่านให้เหมา สมกับวงจร A/D ดังนั้นในที่นี้จ กําหนดว่าสัญญาณ 2 2 5ควรจะขยายยานใหเหมาะสมกบวงจร A/D ดงนนในทนจะกาหนดวาสญญาณ 2 - 2.5 โวลต์ จะถูกแปลงให้เป็นแรงดันในย่าน 0-5 โวลต์ ดังแสดงไดอะแกรมตามรูปที่ 2.38 นอกจากนั้นเราจ เลือกออปแอมป์ที่ทํางานด้วยไฟเลี้ยงค่า 15 แล 15 โวลต์นอกจากนนเราจะเลอกออปแอมปททางานดวยไฟเลยงคา -15 และ + 15 โวลต วงจรปรับ Zero-Span รูปที่ 2.38 56
  • 57. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion 10 50 5 252 05 == − − == f R R m ดังนั้นสมการความสัมพันธ์อินพุตและเอาต์พุต CVV inO +⋅=10 5.025.2iR แทนค่าของแรงดันอินพุต Vin(min) = 2 โวลต์ และ VO(min) = 0 โวลต์ ลงในสมการ VO เพื่อหาค่า C จะได้ว่า C = VO - 10Vin C = 0 - 10(2) = -20C 0 10(2) 20 ดังนั้นความสัมพันธ์ของอินพุต-เอาต์พุตคือ 2010 −⋅= inO VV เทียบกับวงจร Zero Span CC f in f O V R R V R R V ⋅+⋅= OSi RR 57
  • 58. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion นั่นคือ 10= f R R 20−=⋅ f CC R R V เลือก VCC เป็น -15 V ตามเครื่องหมายลบในสมการซึ่งจะได้ว่า iR OSR R 15 2020 − − = − = CCOS f VR R เลือกค่าความต้านทาน ั ั้ Ω= k100fR ΩΩ k10k 100fR Rดงนน Ω=Ω== k10k 10 100 10 f iR ×− k10015fR Ω= − × = − ⋅= k75 20 k10015 )20( f CCOS VR AnsΩ=Ω=Ω= k75,k10,k100 OSif RRR 58
  • 59. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่างที่ 2.5 สมมุติว่าเซ็นเซอร์วัดความดันชนิดหนึ่งให้แรงดัน O/P เท่ากับ 2 .48 Volt ที่ความดัน 1 KPa 3.90 Volt ที่ความดัน 10KPa ต้องการแปลงแรงดันดังกล่าวให้อยู่ในช่วง 0 – 5 V เพื่อต่อกับวงจรแปลงสัญญาณ Analog เป็น Digital ขนาด 8 บิต จงออกแบบวงจรเพื่อแปลงสัญญาณจากเซ็นเซอร์ย่านAnalog เปน Digital ขนาด 8 บต จงออกแบบวงจรเพอแปลงสญญาณจากเซนเซอรยาน แรงดัน 2.48-3.90 V ให้อยู่ในย่าน 0-5 V วิธีทํา จากความสัมพันธ์ของแรงดันอินพุตและเอาต์พุตหาความชันสมการเส้นตรงแทน ความสัมพันธ์ดังกล่าวดังนี้ 3.52 2.483.90 05 ΔVin ΔVo m = − − == 2.483.90ΔVin 59
  • 60. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion จากค่า Gain m จะต้องเลือกค่า Rf ที่มากพอที่จะไม่ให้ Ri นั้นมีค่าต่ําจนเกินไปเพราะ ไ ่ ใ ่ ไ ้โ ใ ่ ้อาจจะไป Load ที O/P ของวงจรในส่วนเครืองมือวัดได้โดยในทีนีเลือกค่า Rf ั ั้ ํ ่ ้Ωk470R ดังนันคํานวณค่าความต้านทาน Ri จากΩ= k470fR Ω= Ω == k52.133 k470R R f i ส่วนกรณีอินพุตของวงจร = 2.48 Vo จะมีค่าเป็น 0 V จะเขียนสมการได้ 5.33 52.3m i ุ ดังนี้คือ Vo = 0 = mVin + C 0 = 3.52 x 2.48 + C จะได้ค่า C = - 3.52 x 2.48 = - 8.7296 60
  • 61. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion จาก C R R V f CC ⋅=−= 729.8 OSR จากสมการหากต้องการค่า C ที่เป็นลบจําเป็นต้องเลือกค่าแรงดัน VCC = -12V โ ี่ ื Ωk470Rโดยจากทเราเลอก ดังนั้นจะหาค่า Ros ได้จาก Ω= k470fR Ω= − ×−=⋅= k07.646 729.8 000,470 12 C R VR f CCOS ส่วนค่า OSif // R// RRR =Comp kk//k//k เลือก ### Ω== k56.89k07646//k52.133//k470 . Ω= k90CompR ###Comp 61
  • 62. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion สรุป ΩΩ Ω=Ω= k90k07646 k52.133,k470 RR RRf i (เลือก R และ R เป็นแบบปรับค่าได้ค่าความต้านทาน 150 kΩ และ 1 MΩ) Ω=Ω= k90k07.646 CompRROS (เลอก Ri และ Ros เปนแบบปรบคาไดคาความตานทาน 150 kΩ และ 1 MΩ) OSR fR CCV± R R iR CCV+ CC 2/R CCV− inV CCV รูปที่ 2.39 วงจรปรับ Zero-Span ที่ใช้ในการออกแบบู 62
  • 63. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion +VCC RR วงจรปรับ Zero - Span ด้วยออปแอมป์ตัวเดียว RfRi VB + - V VO Vin รปที่ 2 40 วงจรปรับ Zero-Span ด้วยออปแอมป์ตัวเดียว วงจรดังรูปที่ 2.40 เป็นวงจร Zero Span ที่ใช้ออปแอมป์เพียงตัวเดียวโดยสมการ ั ์ ี ั ี่ 2 28 รูปท 2.40 วงจรปรบ Zero-Span ดวยออปแอมปตวเดยว แรงดนเอาตพุตของวงจรสามารถเขยนดงสมการท 2.28 ff V R V R V )()1( += (2 28)B i in i O V R V R V )()1( −+= …(2.28) 63
  • 64. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion การวิเคราะห์อาจใช้วิธีการที่เรียกว่า Superposition โดยคิดเอาต์พุตวงจรที่เกิดจาก แหล่งจ่ายแรงดันแต่ละตัวแล้วนํามารวมกันเพื่อเป็นแรงดันเอาต์พุตที่เกิดจริง - จากวงจรในรูป 2.41 เป็นกรณีแรงดัน VoVB คือแรงดันเอาต์พุตที่เกิดจากแรงดัน VB f V R V )( รูปที่ 2.41 วงจรที่ใช้พิจาณาผลของแรงดัน VB ต่อแรงดันเอาต์พุต B i f O V R V VB )(−= …(2.29) 64
  • 65. ใ ป ี่ 2 42 V ื ั ์ ี่ ิ ั Vi Signal Conditioning Circuit & Data Conversion - จากวงจรในรูปท 2.42 VoVin คอแรงดนเอาตพุตทเกดจากแรงดน Vin รปที่ 2 42รูปท 2.42 in f O V R R V V )1( += (2 30)in i O RinV )( inBV VOOO VVV += …(2.30) …(2.31) ้ ์ ่ ็ดังนันตามหลัก Superposition แรงดันเอาต์พุตวงจรรูปที 2.40 ก็คือการนําแรงดัน เอาต์พุตที่ได้ดังสมการ (2.29) และ (2.30) มารวมกันดังสมการ (2.28) B i f in i f O V R R V R R V )()1( −+= 65
  • 66. 4 ื้ ป ั ็ ั ิ ิ [ ] Signal Conditioning Circuit & Data Conversion 2.4 พืนฐานการแปลงสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิตอล [2] รูปที่ 2.43 ระบบควบคุมที่ประมวลผลแบบดิจิตอล รูปที่ 2.43 เป็นโครงสร้างของระบบควบคุมที่มีการควบคุมด้วยตัวประมวลผลแบบ ดิจิตอลโดยตัวควบคมที่เป็นแบบดิจิตอลอาจได้แกุ่ - ไมโครคอนโทรลเลอร์ / ไมโครโปรเซสเซอร์ - ตัวควบคมแบบโปรแกรมได้ (Programmable Logic Controller : PLC)ุ ( g g ) - คอมพิวเตอร์ / ซิงเกิลบอร์ดคอมพิวเตอร์ / คอมพิวเตอร์สําหรับงานอุตสาหกรรม 66
  • 67. ์ป ใ ป ี่ 2 43 ็ ไ ้ ่ ป ั ็ Signal Conditioning Circuit & Data Conversion จากองคประกอบในรูปท 2.43 จะเหนไดวาการแปลงสญญาณแอนะลอกจากวงจร เชื่อมต่อกับเซ็นเซอร์ที่ตรวจวัดปริมาณต่างๆในกระบวนการให้เป็นสัญญาณดิจิตอลและ ป ั ํ ั่ ั ป ิ ิ ใ ้ ป็ ั ็ ื่ ไปการแปลงสญญาณคาสงจากตวประมวลผลแบบดจตอลใหเปนสญญาณแอนะลอกเพอไป สั่งงานอุปกรณ์ภายนอกนั้นเป็นส่วนประกอบที่สําคัญไม่น้อยสําหรับระบบควบคุม ซึ่งจะได้ ่ ึ ี ั ่ ไป ี้กลาวถงรายละเอยดดงตอไปน Analog to Digital Converter : ADC หรือ A/D คือวงจรแปลงสัญญาณแอนะล็อก ป็ สั ิ ิ ี่ ํ ป สั ั ้ ิ ใ ้ ป็ สั ิ ิ ึ่เปนสญญาณดจตอลททาการแปลงสญญาณแรงดนดานอนพุตใหเปนสญญาณดจตอลซง สัญญาณที่ออกมาอาจมีรูปแบบอนุกรมหรือแบบขนาน วิธีการแปลงสัญญาณแอนะล็อก ป็ สั ิ ิ ี ิ ี ้ ั ซึ่ ไ ้ ่เปนสญญาณดจตอลมหลายวธดวยกน ซงอาจไดแก 1. Tracking A/D 2 S i A i ti A/D (ไ ่ ร็ ี่ส ่ ั )2. Successive Approximation A/D (ไมเรวทสุดแตเหมาะกบงานควบคุม) 3. Flash A/D (แปลงสัญญาณได้เร็วที่สุดแต่ราคาแพง) 4 D l Sl A/D หรือ I t ti A/D ทํางานช้า4. Dual Slope A/D หรอ Integrating A/D ทางานชา 5. Sigma Delta A/D เนื่องจากเนื้อหานี้จะมีเรียนในวิชาเครื่องมือวัดไฟฟาจึงไมอธิบายในรายละเอียดของแตละวิธี 67
  • 68. ่ ่ ่ Signal Conditioning Circuit & Data Conversion สัญญาณเชื่อมต่อและคําจํากัดความต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ A/D ขาสัญญาณต่างๆของไอซีที่ทําหน้าที่เป็น A/D มีหลายสัญญาณด้วยกันดังแสดงคร่าวๆ ในรูปที่ 2.44 ซึ่งไม่ได้มีแค่อินพุตที่เป็นสัญญาณแอนะล็อกและเอาต์พุตที่เป็นสัญญาณ ดิจิตอลแต่ยังมีขาแรงดันอ้างอิงที่ใช้ในการแปลงสัญญาณและสัญญาณควบคุมการทํางาน อีก ซึ่งจะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไป Vin รูปที่ 2.44 ขาสัญญาณต่างๆของตัวแปลงสัญญาณ A/D 68
  • 69. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion แรงดันอินพุต (Vin) เป็นจุดต่อสัญญาณแอนะล็อกที่ต้องการแปลงเป็นดิจิตอลซึ่งแรงดันนี้ ี ั ื ี ี้ ั ิ ป็ ไ ้ ่ ่ ั้ ี้มีสองลักษณะคือ Unipolar : กรณีนีแรงดันอินพุตเป็นได้เฉพาะค่าบวกเท่านันแบบนี Bipolar : แรงดันเป็นได้ทั้งบวกและลบ ่ ่ ไฟ ป็ ไฟ ี้ ไ ี โ ป ิ ้ ้ ั ิ ป็ ่แหล่งจ่ายไฟ เป็นไฟเลียงไอซี A/D โดยปกติแล้วถ้าแรงดันอินพุต A/D เป็นบวกอย่าง เดียวแหล่งจ่ายไฟก็จะไม่มีไฟลบ แต่ถ้าแรงดันอินพุตมีทั้งบวกและลบ แหล่งจ่ายไฟ A/D ป็ ไฟ ี้ ่ ่ ไ ็ ไ ี ิ ั ใ ้ไฟ ี้ ีจะเป็นแบบไฟเลียงคู่ อย่างไรก็ตามไอซี A/D ของบางบริษัทอาจใช้ไฟเลียงบวกเพียง อย่างเดียว(Single Supply) แต่สามารถแปลงแรงดันอินพุตแบบ bipolar ได้ เช่น A/D ิ ั ( )ของบริษัท Maxim (http://www.maxim-ic.com) แรงดันอ้างอิง (Vref) ปกติแรงดันอ้างอิงของ A/D จะเป็นค่าแรงดันอินพุต A/D สูงสุดref สัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต (Dout) ผู้ผลิต A/D จะระบุจํานวนบิตข้อมูลของ A/D ที่ได้และ บอกด้วยว่าสัญญาณดิจิตอลที่ได้มีรปแบบขนานหรืออนกรมบอกดวยวาสญญาณดจตอลทไดมรูปแบบขนานหรออนุกรม 69
  • 70. ั ป็ ั ั่ A/D ื Signal Conditioning Circuit & Data Conversion สญญาณควบคุมและบอกสถานะ เปนสญญาณควบคุมการสงงาน A/Dหรอบอก สภาวะการทํางานของ A/D เช่น WR (W it ) ป็ ั ั่ ใ ้ A/D ิ่ ํ ั ็ ํ ป ้ โWR (Write) เปนสญญาณสงให A/D เรมนาสญญาณแอนะลอกมาทาการแปลงขอมูลโดย ระหว่างการแปลงข้อมูลสัญญาณแอนะล็อกจะถูกคงค่าให้คงที่ด้วยวงจร Sample and H ld ั้ ี่ ่ ใ A/D ิป ื ่ ั ั่ ใ ้ ิ่ ปHold ทงแบบทอยูภายใน A/D ชปหรออยูภายนอก และสญญาณสงงานใหเรมแปลง ข้อมูลนี้อาจมีชื่อเรียกต่างๆกันได้แก่ Start , Write (WR) EOC (End Of Conversion) เป็นสัญญาณที่ A/D ส่งไปยังอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับ A/D ว่า แปลงข้อมูลเสร็จแล้ว จะมีชื่อเรียกว่า End of conversion โดยจะใช้ชื่อสัญญาณว่า EOC (End Of Conversion) หรือ INTR (Interrupt) หรือ Busy RD (Read) เป็นสัญญาณอินพตของ A/D ที่ส่งจากอปกรณ์ภายนอกเพื่อบอกให้ A/D ส่งRD (Read) เปนสญญาณอนพุตของ A/D ทสงจากอุปกรณภายนอกเพอบอกให A/D สง ข้อมูลดิจิตอลที่ได้จากการแปลงสัญญาณแอนะล็อกออกไปยังอุปกรณ์ภายนอก ชื่อ ขาสัญญาณนี้ของ A/D อาจใช้คําว่า Read (RD)ขาสญญาณนของ A/D อาจใชคาวา Read (RD) 70
  • 71. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ความสัมพันธ์ของสัญญาณดิจิตอลที่เอาต์พุตของ A/D และสัญญาณแอนะล็อกที่ อินพุตของ A/D มีความสัมพันธ์ดังสมการที่ (2.33) )2( N ×= in out V V D …(2.33) ุ refV โดย N คือจํานวนบิตของ A/D Dout คือข้อมูลเอาต์พุต A/D Vref คือแรงดันอ้างอิงของ A/D ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณref ญญ Vin คือแรงดันอินพุตที่ต้องการแปลงเป็นดิจิตอล Resolution of A/D เป็นค่าความละเอียดของ A/D ซึ่งเป็นความกว้างของย่านแรงดันที่Resolution of A/D เปนคาความละเอยดของ A/D ซงเปนความกวางของยานแรงดนท ทําให้ค่าดิจิตอลเปลี่ยนแปลงไป 1 บิต และคํานวณได้จากสมการต่อไปนี้ V N 2 Resolution refV = …(2.34) 71
  • 72. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion Q ti ti E ป็ ่ ิ A/D ี่ ป็ ่ ้ ั ี่ ั ใ ้ ่Quantization Error เปนคาผดพลาดของ A/D ทเปนชวงกวางของแรงดนทยงคงใหคา ดิจิตอลเอาต์พุตที่คงเดิม โดยในรูปที่ 2.45 ค่าผิดพลาดมีค่าระหว่าง 0 – 1 LSB Inherent Quantization Error จาก รูปเมื่อ Vin = 0 digital code = 000ู g แต่เมื่อ Vin >0 แต่น้อยกว่า Vref/8 digital code ก็ยังเป็น 000 อยู่ ส่วนนี้g ู ถือว่าเกิดค่าผิดพลาดในการแปลงข้อมูล และเมื่อ Vin = Vref/8 digital codeg จึงเป็น 001 ซึ่งตรงจุดนี้ Error จะมีค่า เป็นศูนย์อีกครั้ง กรณีนี้ Quantizationู Error มีค่าเท่ากับ 1 LSB รูปที่ 2.45 แรงดันอินพุต-รหัสดิจิตอลเอาต์พุตของ D/A 3 บิต : กรณี Error 0-1LSB 72
  • 73. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion Inherent Quantization Error จากรูปเมื่อู Vin = 0 digital code = 000 แต่เมื่อ Vin มี ค่าประมาณ Vref/16 (ครึ่งหนึ่งของ Vref/8) แต่น้อยกว่า Vref/8 digital code ก็ยังเป็น 000 อยู่ ส่วนนี้ถือว่าเกิดค่าผิดพลาดในการู แปลงข้อมูลและเมื่อ Vin = Vref/16 digital code จึงเป็น 001 ซึ่งตรงจุดนี้ Error จะมีค่า ติดลบ ½ LSB ในกรณีนี้ A/D มี Quantization Error คือ ½ LSB รูปที่ 2.46 แรงดันอินพุต-รหัสดิจิตอลเอาต์พุตของ D/A 3 บิต : กรณี Error ±1/2 LSB 73
  • 74. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปนี้แสดง Zero Scale Offset Error นั่นคือขนาดแรงดันอินพุตที่มากกว่าศูนย์แต่ยังให้ Digital code เป็นศนย์อย่g ู ู รูปที่ 2.47 แสดงความผิดพลาดของ A/D กรณีมี Zero Scale Offset 74
  • 75. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปนี้แสดง Full Scale Offset Error นั่นคือขนาดแรงดันอินพุตที่ทําให้เกิดค่า digital code สูงสุดโดยที่ค่าแรงดันอินพุตนั้นยังไม่ถึงค่าทางอุดมคติที่จะได้ digital code สูงสุด ี่ ิ ี ีรูปที 2.48 แสดงความผิดพลาดของ A/D กรณีมี Full Scale Offset 75
  • 76. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่าง ้ โ ์ โ ์A/D ขนาด 10 บิต มีแรงดันอ้างอิง 5 โวลต์หากอินพุตมีค่าเท่ากับ 3.127 โวลต์จงหาค่า ดิจิตอลเอาต์พุตของ A/D ีวิธีทํา ุตแรงดันอินพตพุตดิจิตอลเอา = อิงแรงดันอาง2 =N 1273 10 ดิจิตอลเอาต์พุต = ์ ็ 4096.640)2( 5 127.3 10 =× Aแปลงผลลัพธ์เป็นเลขฐานสอง = 10 1000 0000 Ans 76
  • 77. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่างตวอยาง A/D ขนาด10 บิตมีแรงดันอ้างอิง 2.5 โวลต์ถ้าอินพุตมีขนาด 1.45 โวลต์ จงคํานวณหา ค่าดิจิตอลเอาต์พตคาดจตอลเอาตพุต วิธีทํา ั ิิ ิ อิงแรงดันอาง ุตแรงดันอินพ 2 ตพุตดิจิตอลเอา =N ดังนั้นดิจิตอลเอาต์พุต 593.921024 2.5 1.45 =×= แปลงผลลัพธ์เป็นเลขฐานสิบหกก็คือ 251H Ans 77
  • 78. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่าง เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิชนิดหนึ่งให้เอาต์พุตเป็นแรงดัน 0.02 โวลต์ต่อ 1 องศา ี ่ ั ้ ิ A/D ํ ิ ้ ้ ้ ั ิใเซลเซยส จงหาคาแรงดนอางองของ A/D และจานวนบตขอมูลถาตองการวดอุณหภูมใน ย่าน 0 ถึง 100 องศาเซลเซียส โดยความละเอียดเท่ากับ 0.1 องศาเซลเซียส วิธีทําวธทา คํานวณย่านแรงดันที่ได้จากเซ็นเซอร์ - ค่าสงสด = 0 02 V/องศา x 100 = 2 โวลต์คาสูงสุด 0.02 V/องศา x 100 2 โวลต ค่าความละเอียดของแรงดันที่ A/D ควรจะวัดได้คิดจากความละเอียดของ อณหภมิที่ต้องการวัดนั่นคือ 0.1 องศาซึ่งเซ็นเซอร์จะให้แรงดันเอาต์พตอุณหภูมทตองการวดนนคอ 0.1 องศาซงเซนเซอรจะใหแรงดนเอาตพุต เท่ากับ 0.1 x 0.02 V = 2 mV สรุป A/D มียานอินพุต = 0 – 2 V โดยความละเอียด 0.02 V (แรงดัน 1 LSB) 78
  • 79. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion เลือกแรงดันอ้างอิงเท่ากับ 2 โวลต์ตามค่าสูงสุดที่อินพุตของ A/D จากสมการ N2 2 002.0 N2 refV V ===Δ 1000 002.0 2 2N == แก้สมการ N = 9.9657 ดังนั้นเลือก A/D ขนาด 10 บิต ํ ี ใ ั- คํานวณความละเอียดในการวัด จาก A/D ขนาด 10 บิตทําการคํานวณย้อนกลับเพื่อหาค่าความละเอียดที่ A/D 10 บิต ป ั ไ ้ ี ั ี้ ี ่ ํ ่ ป็ 10 ัสามารถแปลงสญญาณไดจากสมการเดียวกนนีเพียงแตกาหนดคา n เปน 10และแรงดน อ้างอิงเท่ากับ 2 โวลต์ R l ti ี่ 10 ิ 0019530 2 LSB1Resolution ท 10 บต = 001953.0 2 LSB1 10 == 79
  • 80. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion Aperture Time จากที่ผ่านมาพบว่าไม่ว่าจะเป็น A/D ชนิดใดก็ตามก็จะต้องใช้เวลาในการแปลง สัญญาณจากแอนะล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอลโดยเรียกว่า Conversion Time ดังนั้นหาก ในระหว่างที่เกิดการแปลงสัญญาณอยู่นี้แรงดันอินพุตที่ A/D ต้องการแปลงเกิดการญญ ู ุ เปลี่ยนแปลงไปก็จะทําให้เกิดความผิดพลาดในการแปลงสัญญาณของ A/D ซึ่ง ข้อผิดพลาดนี้จะเรียกว่า Aperture Error ตัวอย่าง A/D 8 บิตค่า 1 LSB หรือค่าความต่างของแรงดันของค่าดิจิตอล 2 ค่าที่ ้ ไ ้ติดกันนันหาได้จาก fsV×8 2 1 fsV แรงดันเต็มสเกล2 f ถ้าระหว่างการแปลงสัญญาณหากแรงดันแอนะล็อกอินพุตไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงค่าเกิน 1 LSB A/D ก็จะไม่เกิด Aperture Error1 LSB A/D กจะไมเกด Aperture Error 80
  • 81. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion หากต้องการป้องกันไม่ให้เกิด Aperture Error โดยไม่ใช้วงจรช่วยก็อาจทําได้โดยการ ใช้ A/D ที่มีค่าเวลาในการแปลงสัญญาณที่เหมาะสมกับรูปแบบสัญญาณที่ต้องการแปลง จากรป Aperture Timeคือเวลาที่ค่าแรงดันอินพตจากรูป Aperture Timeคอเวลาทคาแรงดนอนพุต มีการเปลี่ยนแปลงแรงดันไม่เกินค่า 1 LSB และถ้า คิดในกรณีที่สัญญาณอินพตเป็นรปไซน์ก็สามารถคดในกรณทสญญาณอนพุตเปนรูปไซนกสามารถ คํานวณค่า Aperture Time ได้จากสมการต่อไปนี้ f ta N π22 1 = …(2.35) f คือค่าความถี่สัญญาณอินพุต ่ ใรูปที 2.49 กราฟใช้อธิบาย Aperture Error 81
  • 82. ั ั้ ื่ ้ ั ิ ึ ไ ้ ี ิ่ ใ ่ ี่ ํ ใ ้ ิ Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ดังนันเพือป้องกันการเกิด Aperture Error จึงได้มีการเพิมวงจรในส่วนทีจะทําให้เกิด ค่าแรงดันอินพุตที่คงที่ในช่วงที่การเปลี่ยนสัญญาณยังไม่เสร็จโดยวงจรดังกล่าวนี้เรียกว่า ึ่ ใ ปั ั ้ ิ ็ไ ้ ี ํ ้ ไปใSample and Hold ซึงในปัจจุบันผู้ผลิตก็ได้มีการนํา Sample and Hold รวมเข้าไปใน A/D บ้างเหมือนกันโดย Sample and Hold จะมีลักษณะดังในรูปต่อไปนี้ รูปที่ 2.50 หลักการพื้นฐานของวงจรสุ่มและคงค่าสัญญาณ 82
  • 83. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่าง Sample and Hold ตระกูล LF198 ต้องพิจารณาค่านี้ด้วยเพราะ เป็นเวลาที่ใช้ตั้งแต่เริ่มสั่งให้เปนเวลาทใชตงแตเรมสงให Holdค่าแล้วเอาต์พุตนั้นคงที่ รูปที่ 2.51 Sample & Hold เบอร์ LF198 83
  • 84. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่าง Sample and Hold HA-2420 และ HA-2425 รูปที่ 2.52 Sample & Hold เบอร์ HA-2420, HA-2425 84
  • 85. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่าง การใช้ Sample/Hold แบบ Unity Gain (ตระกูล HA บริษัท Intersil) รปที่ 2.53 Sample & Hold ตระกล HA ของบริษัท INTERSILรูปท 2.53 Sample & Hold ตระกูล HA ของบรษท INTERSIL 85
  • 86. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่าง ADC 0802 / 0803 / 0804 รูปที่ 2.54 ตัวอย่าง A/D ชิป 8 bit แบบ Parallel 86
  • 87. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปที่ 2.55 วงจรใช้งานเบื้องต้นของ ADC 0804 87
  • 88. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion Timing diagram ช่วงสั่งให้เกิดการเริ่มแปลงสัญญาณของ ADC0804จะต้องให้สัญญาณ CS ป็ ้ ้ ใ ้ ั WR ป็ ่ ึ่ ั้ ใ ้ WRCS เปนขอบขาลงแลวตามดวยใหสญญาณ WRเปนขอบขาลงชวงเวลาหนงจากนนให WR กลับเป็น High แล้วจึงให้ขาCS เป็น High ก็ถือว่าเสร็จสิ้นการสั่งให้ A/D เริ่มแปลง ัสญญาณ ่ ่รูปที 2.56 Timing การสัง Start ของ ADC 0804 88
  • 89. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion หาก ADC0804 แปลงสัญญาณเสร็จก็จะให้สัญญาณเป็น Low ที่ขา INTR ดังนั้นหาก ตรวจสอบพบว่าแปลงสัญญาณเสร็จแล้วและต้องการอ่านข้อมลก็จะต้องให้ CS = 0 และตรวจสอบพบวาแปลงสญญาณเสรจแลวและตองการอานขอมูลกจะตองให CS 0 และ ให้ RD = 0 Data ก็จะปรากฏที่ขา DB0-DB7 ป ี่ 2 57 Ti i di ่ ่ ้ ADC0804รูปที 2.57 Timing diagram ชวงการอานขอมูลจาก ADC0804 89
  • 90. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปที่ 2.58 ตัวอย่าง A/D 8 bit / 8 channel : ADC0808/ ADC0809 90
  • 91. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปที่ 2.59 โครงสร้างภายใน A/D : ADC0808/ ADC0809 91
  • 92. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion 92
  • 93. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ่ ใรูปที 2.61 การต่อแรงดันอ้างอิงในการแปลงสัญญาณของ A/D ADC0808 93
  • 94. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปที่ 2.62 ตัวอย่างการต่อ ADC0808/ ADC0809 กับไมโครโปรเซสเซอร์ 94
  • 95. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion LTC 1409 12 bit A/D ี่ ั ่ ิ ์รูปที 2.63 ตัวอย่าง A/D ขนาด 12 บิตเบอร์ LTC 1409 95
  • 96. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รูปที่ 2.64 การต่อแรงดันอ้างอิงและรหัส Digital ของ A/D 12 บิตเบอร์ LTC 1409 96
  • 97. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion รปที่ 2.65 LTC1409 : Transfer Characteristicsู 97
  • 98. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion Di it l t A l C t DAC ื D/A ื ป ั ิ ิ ป็Digital to Analog Converter : DAC หรอ D/A คอวงจรแปลงสญญาณดจตอลเปน สัญญาณแอนะล็อกซึ่งขาสัญญาณของ D/A จะไม่มีอะไรซับซ้อนดังรูปที่ 2.66 รูปที่ 2.66 Digital to Analog Converter แอนะล็อกเอาต์พุต เป็นสัญญาณแอนะล็อกที่ขาเอาต์พุตของ D/A ที่ได้จากการแปลง สัญญาณดิจิตอลที่อินพตสญญาณดจตอลทอนพุต ดิจิตอลอินพุต เป็นสัญญาณดิจิตอลที่อินพุตวงจร D/A ซึ่งข้อมูลดิจิตอลนี้จะแบ่งเป็น บิตๆโดยแต่ละบิตมีเพียงระดับสัญญาณ 0 หรือ 1 เท่านั้นบตๆโดยแตละบตมเพยงระดบสญญาณ 0 หรอ 1 เทานน แรงดันอ้างอิง เป็นแรงดันที่ใช้เปรียบเทียบเพื่อการแปลงสัญญาณของ D/A 98
  • 99. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ั ื้ D/A ื ป ั ิ ิ ี่ ี ่ ป็ ิ ‘0’ ื ‘1’หลกการพนฐานของ D/A คอการแปลงสญญาณดจตอลทมคาเปนลอจก ‘0’ หรอ ‘1’ ให้เป็นแรงดัน โดยการใช้สัญญาณดิจิตอลนั้นไปสั่งงานอิเล็กทรอนิกส์สวิตช์เพื่อตัดต่อ ใ D/A โ ี ่ ป ั ป ี่ 2 67 VRef (แรงดันอางอิง) วงจรภายใน D/A โดยภาพรวมมีสวนประกอบดงรูปที 2.67 (แรงดนอางอง) เอาตพุตแบบกระแส วงจรความตานทาน สวิตชควบคุม  วงจรแปลง  เอาตพุตแบบแรงดัน ดวยระดับลอจิก กระแสเปนแรงดัน ดิจิตอลอินพุตMSB LSB รูปที่ 2.67 ตัวอย่างโครงสร้างภายในของ D/A 99
  • 100. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ิ DAC ่ ั ี่ใ ้ ้ DAC ไ ้ ่ชนดของ DAC แบงตามลกษณะวงจรทใชสราง DAC ไดแก - Binary weight DAC และ R 2R L dd DAC- R-2R Ladder DAC ในรูปที่ 2.68 เป็น DAC แบบ Binary weight ที่จะใช้ตัวต้านทานด้านอินพุตที่มีค่า ่ ั 2N R ึ่ ใ ป ิ ั ิ ไ ่ไ ้ ั ิ ใ ิ ป็ ไ ีแตกตางกน 2N R ซงในทางปฏบตจะไมไดรบความนยมในการผลตเปนไอซ D D D2 1 0 รูปที่ 2.68 โครงสร้างอย่างง่ายของ binary weight DAC D D D2 1 0V ( )VrefOut 2 4 8 = + + …(2.36) 100
  • 101. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ป ี่ 2 69 ป็ D/A 3 ิ R 2R L dd ึ่ ่ ั ้ ี ่รูปท 2.69 เปน D/A ขนาด 3 บตแบบ R-2R Ladder ซงคาของตวตานทานมแคสอง ค่าง่ายในการผลิตเป็นไอซีทําให้โครงสร้างแบบนี้มักถูกใช้ในทางปฏิบัติ = IO x RF รูปที่ 2.69 โครงสร้างอย่างง่ายของ R-2R Ladder DAC 8 I 2 1 x V =n ref Rค่ากระแส 1 LSB = …(2.37) กระแสเอาต์พุต = กระแสที่ 1LSB x ค่าดิจิตอลอินพุตที่แปลงเป็นเลขฐานสิบ 101
  • 102. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion สิ่งที่ต้องคํานึงเมื่อเลือกใช้ D/A 1. ดิจิตอลอินพุต ่ ่ ไฟ ( )2. แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) - แบบแหล่งจ่ายไฟเดี่ยว (Single Supply) เช่น 5V, 12V, 15V - แบบแหล่งจ่ายไฟคู่ (Dual Supply) เช่น +/- 15 V , +/- 12 V 3 แรงดันอ้างอิง (Voltage reference) 4 ลักษณะสัญญาณเอาต์พต3. แรงดนอางอง (Voltage reference) 4. ลกษณะสญญาณเอาตพุต 5. ออฟเซต(Offset) 6. การค้างค่าสัญญาณอินพุต (Data Latch) 7 เวลาในการแปลงสัญญาณ (Conversion Time)7. เวลาในการแปลงสญญาณ (Conversion Time) 102
  • 103. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ้ ่ ั ป ั ิ ิ ป็ ั ็ ป ้ ป ป์แมวาตวแปลงสญญาณดจตอลเปนสญญาณแอนะลอกจะประกอบดวยวงจรออปแอมป ก็ตามแต่ใน D/A ที่มีจําหน่ายบางเบอร์ก็มีสัญญาณกําหนดจังหวะการทํางานของ D/A เช่น ใ ป ี่ 2 70 ี ั L t h bl ึ่ ใ ้ใ ั่ ใ ้ D/A ั้ ํ ้ในรูปท 2.70 มขาสญญาณ Latch enable ซงใชในการสงงานให D/A นนนาขอมูล ดิจิตอลด้านอินพุตไปค้างไว้เป็นอินพุตของ D/A ซึ่งผลก็คือแรงดันแอนะล็อกเอาต์พุตจะ ป ี่ ิ ิ ิ ื่ ั L t h bl ี ti ่ ั้ ึ่ ่เปลยนตามดจตอลอนพุตเมอสญญาณ Latch enable มการ active เทานน ซงยอม หมายความว่าแรงดันเอาต์พุตจะคงที่ กรณีที่สัญญาณ Latch Enable ไม่มีการ active รูปที่ 2.70 สัญญาณต่างๆในการเชื่อมต่อ D/A Chip 103
  • 104. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ใ ์ใ ่ ์ ่ ใ ไในการประยุกต์ใช้ D/A กรณีทีต้องการสัญญาณเอาต์พุตหลายช่องแทนทีจะใช้ไอซี D/A หลายๆตัวเราก็จะใช้ S&H และไอซีที่ทําหน้าที่อิเล็กทรอนิกส์สวิตช์แทนเพื่อลด ไ ้ ่จํานวน D/A ดังแสดงไดอะแกรมแนวคิดนีในรูปที 2.73 D/AD/A รูปที่ 2.73 ตัวอย่างการใช้ S&H เพื่อช่วยลดจํานวน D/A 104
  • 105. Signal Conditioning Circuit & Data Conversion ตัวอย่าง D/A ขนาด = 8 บิต แรงดันอ้างอิงคือ2.55โวลต์ จงคํานวณหาค่าResolution วิธีทํา Resolution = 1LSB mVref 96.9 256 55.2 2 55.2 2 8 ===N V ซึ่งก็หมายความว่าค่าดิจิตอลอินพุตต่ําสุดคือ 0000 0001 ทําให้แรงดันเอาต์พุตมีค่า เท่ากับ 9.96 mV หรือหากค่าข้อมลดิจิตอลที่อินพตเปลี่ยนไป 1 LSB จะทําให้เทากบ 9.96 mV หรอหากคาขอมูลดจตอลทอนพุตเปลยนไป 1 LSB จ ทาให แรงดันเอาต์พุตเปลี่ยนไป 9.96 mV 105