SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 11
เทคโนโลยีสารสนเทศ
โดย สริดา ทรงอธิกมาศ ม. 6/2 เลขที่ 50
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Information Technology: IT
“คือการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดดาเนินการข้อมูล
ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับธุรกิจหนึ่งหรือองค์การอื่น ๆ ศัพท์นี้โดยปกติก็ใช้แทนความหมายของเครื่องคอมพิวเตอร์
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และยังรวมไปถึงเทคโนโลยีการกระจายสารสนเทศอย่างอื่นด้วยเช่นโทรทัศน์และ
โทรศัพท์ อุตสาหกรรมหลายอย่างเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์กึ่งตัวนา อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์โทรคมนาคม การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการทาง
คอมพิวเตอร์”
ระบบสารสนเทศ
Information System : IS
เป็นระบบพื้นฐานของการทางานต่างๆ ในรูปแบบของการเก็บ (input) การประมวลผล (processing)
เผยแพร่ (output) และมีส่วนจัดเก็บข้อมูล (storage) ประกอบด้วย
- ข้อมูล (Data) หมายถึง ค่าของความจริงที่ปรากฏขึ้น โดยค่าความจริงที่ได้จะนามาจัดการปรับแต่งหรือ
ประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ
- สารสนเทศ (Information) คือ กลุ่มของข้อมูลที่ถูกตามกฎเกณฑ์ตามหลักความสัมพันธ์ เพื่อให้ข้อมูล
เหล่านั้นมีประโยชน์และมีความหมายมากขึ้น
- การจัดการ (Management) คือ การบริหารอย่างเป็นระบบ เป็นการกาหนดเป้ าหมายและทิศทางการ
จัดการขององค์กรนั้น ซึ่งต้องมีการวางแผน กาหนดการ และจัดการทรัพยากรภายในองค์กร เพื่อให้บรรลุ
ถึงวัตถุประสงค์ขององค์กรนั้นๆ
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
แบ่งเป็น 3 ระดับ
ระดับสูง (Top Level Management)
กลุ่มของผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่กาหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กร
เพื่อนาไปสู่เป้ าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และสารสนเทศภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้ม
สถานการณ์โดยรวม ซึ่งระบบสารสนเทศในระดับนี้ต้องออกแบบให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน ไม่มี
ความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่รวดเร็วและทันท่วงทีด้วย
เช่นกัน
ระดับกลาง (Middle Level Management)
เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการบริหารและจัดการองค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง
นามาสานต่อให้บรรลุตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบ
สารสนเทศที่ใช้มักได้มาจากแหล่งข้อมูลภายใน ระบบสารสนเทศจึงต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้
โดยเลือกใช้ค่าทางสถิติช่วยพยากรณ์หรือทานายทิศทางไว้ด้วย หากระดับของการตัดสินใจนั้นมีความซับซ้อน
หรือยุ่งยากมากเกินไป
ระดับปฏิบัติการ (Operation Level Management)
ผู้ใช้กลุ่มนี้จะเกี่ยวข้องกับการผลิตหรือการปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบสินค้า งานทั่วไป
ที่ไม่จาเป็นต้องใช้การวางแผนหรือระดับการตัดสินใจมากนัก ข้อมูลหรือสารสนเทศในระดับนี้จะถูกนาไป
ประมวลผลในระดับกลางและระดับสูงต่อไป
ประเภทของระบบสารสนเทศ
1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็นระบบที่ทา
หน้าที่ในการปฏิบัติงานประจา บันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ร
ผลลัพธ์ของระบบนี้มักจะอยู่ในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผลเบื้องต้น
2. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS)
เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบเกี่ยวข้องกับการจัดการ
เอกสาร ผลลัพธ์ของระบบนี้มักอยู่ในรูปของเอกสาร กาหนดการ สิ่งพิมพ์
3, ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS)
เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรที่ทางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น เพื่อ
นาไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงานต้องนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้
การพัฒนาเกิดขึ้นได้โดย ผลลัพธ์ของระบบนี้มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ
เป็นต้น
4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็นระบบ
สารสนเทศสาหรับ ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบจะเชื่อมโยง
ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้าด้วยกัน เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศที่
เหมาะสมและจาเป็นต่อการบริหารงาน ผลลัพธ์ของระบบนี้มักอยู่ในรูปของรายงานสรุป
รายงานของสิ่งผิดปกติ
4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS)
เป็นระบบที่ช่วยในการตัดสินใจสาหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้นตอนในการหา
คาตอบที่แน่นอนเพียงบางส่วน ข้อมูลที่ใช้ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอก
กิจการประกอบกัน สร้างขึ้นจากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการผลลัพธ์ อาจจะอยู่
ในรูปของ รายงานเฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทานาย หรือ
พยากรณ์เหตุการณ์
5. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System - EIS)
เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทาหน้าที่กาหนดแผน
ระยะยาวและเป้ าหมายของกิจการ จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลภายนอก ผลลัพธ์ของระบบนี้
มักอยู่ในรูปของการพยากรณ์/การคาดการณ์
พัฒนาการของเทคโนโลยี
สารสนเทศพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นอาจแบ่งได้เป็นสี่ยุคตามเทคโนโลยีการจัดเก็บและการประมวลผลที่ใช้
ได้แก่ ยุคก่อนเครื่องกล (3000 ปีก่อน ค.ศ. – คริสต์ทศวรรษ 1450) ยุคเครื่องกล (1450–1840) ยุคเครื่องกลไฟฟ้ า
(1840–1940) และยุคอิเล็กทรอนิกส์ (1940–ปัจจุบัน) [5] บทความนี้จะให้ความสาคัญไปที่ยุคล่าสุด (ยุคอิเล็กทรอนิกส์)
ซึ่งเริ่มเมื่อประมาณคริสต์ทศวรรษ 1940
อุปกรณ์ได้ถูกนามาใช้เพื่อช่วยในการคานวณเป็นพันๆปีมาแล้ว ครั้งแรกน่าจะเป็นในรูปแบบของไม้หรือติ้วเพื่อ
บันทึกการนับ กลไก Antikythera สืบมาจากจุดเริ่มต้นของศตวรรษที่หนึ่งก่อนคริศตศักราชโดยทั่วไปถูกพิจารณาว่าเป็น
คอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกที่ใช้กลไกที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่รู้จักกัน และกลไกที่ใช้เฟืองที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่รู้จักกัน อุปกรณ์ที่
ใช้เฟืองทีสามารถเทียบได้ไม่ได้เกิดขึ้นใน ยุโรปจนถึงศตวรรษที่ 16 และมันไม่ได้เปลี่ยนแปลงจนกระทั่งปี 1645 ที่เครื่อง
คิดเลขกลไกตัวแรกที่มีความสามารถในการดาเนินการคานวณทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานทั้งสี่ได้รับการพัฒนา
คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้รีเลย์หรือวาล์ว เริ่มปรากฏให้เห็นในช่วงต้นปี 1940s เครื่องกลไฟฟ้ า Zuse Z3,
เสร็จสมบูรณ์ใน ปี 1941, เป็นคอมพิวเตอร์ที่โปรแกรมได้เครื่องแรกของโลก และตามมาตรฐานที่ทันสมัย เป็นหนึ่งใน
เครื่องแรกที่อาจถูกพิจารณาว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์แบบเครื่องหนึ่ง เครื่อง Colossus, ถูกพัฒนาขึ้นในช่วง
สงครามโลกครั้งที่สองเพื่อถอดรหัสข้อความภาษาเยอรมัน, เป็นคอมพิวเตอร์ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ตัวแรก แม้ว่ามันจะ
โปรแกรมได้ มันก็ไม่ได้ถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป มันถูกออกแบบมาเพื่อทางานเพียงงานเดียว มันยังขาด
ความสามารถในการจัดเก็บโปรแกรมในหน่วยความจาอีกด้วย การเขียนโปรแกรม สามารถทาได้โดยใช้ปลั๊กและสวิทช์
เพื่อเปลี่ยนแปลงการเดินสายไฟภายใน คอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมได้แบบดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยและได้รับการ
ยอมรับตัวแรก คือ Manchester Small-Scale Experimental Machine (SSEM) ซึ่งวิ่ง โปรแกรมแรกในวันที่ 21
มิถุนายน 1948
การพัฒนาของทรานซิสเตอร์ในปลายปี 1940s ที่ ห้องปฏิบัติการ Bell ยอมให้รุ่นใหม่ของเครื่องคอมพิวเตอร์
ได้รับการออกแบบด้วยการใช้พลังงานที่ลดลงอย่างมาก เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมได้ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ตัวแรก
ชื่อ Ferranti Mark I ประกอบด้วย วาล์ว 4,050 ตัวและมี การใช้พลังงาน 25 กิโลวัตต์ เมื่อเปรียบเทียบคอมพิวเตอร์ที่ใช้
ทรานซิสเตอร์ตัวแรก, ที่ถูกพัฒนาขึ้นที่มหาวิทยาลัยแห่งแมนเชสเตอร์และเปิดใช้งานในเดือนพฤศจิกายน ปี 1953,
บริโภคพลังงานเพียง 150 วัตต์ในรุ่นสุดท้ายของมัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนามาประยุกต์ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาค
การผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศ และเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
เศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนามาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจได้หลายประการดังตัวอย่างเช่น
1. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
2.การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาพันธมิตรของกลุ่มผู้ประกอบการ (Virtual Cluster Development)
3. การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ในปัจจุบัน อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศได้กลายเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีการประมาณการ
ว่าตลาดโลกสาหรับอุปกรณ์ ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ โทรคมนาคม และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ จะมีขนาด 1,600 พันล้าน
เหรียญสหรัฐ ในปี 1994 ด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 20 ต่อปี
การลงทุนในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดศักยภาพในการแข่งขัน จึงย่อมส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อเศรษฐกิจ
ของนานาประเทศ จากผลการศึกษาใน 11 ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งมีทั้งประเทศที่ถือว่าพัฒนาแล้ว พัฒนาใหม่ และกาลัง
พัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลกระทบต่อสังคมมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มันอย่างไร ในโลกปัจจุบัน
แรงผลักดันทางเศรษฐกิจมักจะมีบทบาทสูงในการกาหนดทิศทางของเทคโนโลยีเป็นที่ทราบกันดีว่าเทคโนโลยีการสื่อสารทั้งในอดีต
และปัจจุบันได้เปลี่ยนโฉมไปอย่างมาก ในอนาคตธุรกิจบันเทิงจะเป็นธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จะทาเงินให้แก่ผู้ประกอบการทางด้านการ
สื่อสารโทรคมนาคม เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีอิทธิพลอย่างสูงกับแนวความคิด ความอ่านของผู้คนในสังคม เพราะเป็นวิถีทางหนึ่งที่ผู้ร่วม
บันเทิงได้รับอิทธิพลทางความคิดจากผู้อื่นที่ร่วมอยู่ในวงบันเทิง และยอมรับสถานภาพว่าตนก็เป็นส่วนหนึ่งของสังคมนั้นๆ การ
ถ่ายทอดแนวความคิดระหว่างบุคคลในสังคมนั้นก็เป็นสิ่งที่เราเรียกว่า วัฒนธรรมนั่นเอง
ช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริชองสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล ผู้ต้องขัง
และคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY ( Digital Accessible Information System)
ด้านการศึกษา
เทคโนโลยีลดความเหลื่อมล้าของโอกาสทางการศึกษา ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญในการตอบสนองนโยบายการศึกษาที่เป็น
“การศึกษาเพื่อประชาชนทุกคน” อันเป็นการสร้างความเท่าเทียมทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเท่าเทียมทางการศึกษา
เช่น การติดตั้งจานดาวเทียมในโรงเรียนชนบทห่างไกล เพื่อให้นักเรียนได้รับโอกาสในการศึกษาที่เท่าเทียมกับรักเรียนในพื้นที่
อื่นๆ การติดตั้งเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้ครูและนักเรียนสามารถเข้าถึงสารสนเทศแหล่งข้อมูลจากทั่วโลก นอกจากนี้
เทคโนโลยีสารสนเทศยังช่วยให้ผู้พิการมีโอกาสได้รับการศึกษาและการประกอบอาชีพในสิ่งแวดล้อมของคนปกติ
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กล่าวคือนวัตกรรมทางการศึกษาในปัจจุบันเป็นผล
สืบเนื่องจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การผลิตสื่อการศึกษาในรูปแบบซีดีรอม ช่วยให้นักเรียนที่เรียนรู้ช้าได้มีโอกาส
เรียนรู้ตามศักยภาพของแต่ละคน การนาเสนอสื่อการศึกษาในปัจจุบันยังมีความหลากหลาย โดยมีการนาเสนอด้วยเสียง
ข้อความ ภาพ และภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเอื้อต่อการเรียนรู้และกระตุ้นความสนใจในการศึกษาของผู้เรียนทุกวัย นอกจากนี้
เทคโนโลยีเสมือนจริง ยังช่วยพัฒนาบุคลิกภาพการศึกษาในวิชาชีพที่ภาคปฏิบัติมีความสาคัญ เช่น การฝึกนักบิน การสอน
ภาคปฏิบัติแก่นักนิสิตคลินิก เป็นต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนต่อการฝึกอบรม การประชุมและการติดต่อสื่อสาร เช่น การอบรมทางไกล การประชุม
ทางไกล การประชุมผ่านอินเทอร์เน็ต ซึ่งทาให้การฝึกอบรมประหยัดเวลาและงบประมาณ โดยไม่มีข้อจากัดด้านสถานที่
บุคลากร และเวลา ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ การนาอินเทอร์เน็ตมาสนับสนุนต่อการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
แนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา
1.การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction) มีหลายรูปแบบเช่น Drill and Practice, Linear Program ,
Branching Program, Simulation, Game, Multimedia, Intelligence CAI
2.การศึกษาทางไกล(Distance Learning) ซึ่งจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์ การสื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่าน
ดาวเทียม (Direct to Home : DTH) หรือระบบการแระชุมทางไกล (Video Teleconference)
3.เครือข่ายการศึกษา(Education Network) ซึ่งเป็นการนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ ซึ่งมีบริการในหลายรูปแบบ เช่นElectronic
Mail , File Transfer Protocol, Telnet , World Wide Webเป็นต้น เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์จะสามารถให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มี
จานวนมากมายที่เชื่อมโยงในเครือข่ายทั่วโลก
4.การใช้งานในห้องสมุด(Electronic Library) เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบค้นข้อมูลหนังสือ วารสาร หรือบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ผลงานการวิจัย
5.การใช้งานในห้องปฏิบัติการ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจาลองสถานการณ์(Simulation) การใช้ในงานประจาและงานบริหาร
(Computer Manage Instruction) เป็นการประยุกต์ใช้ในสานักงานเพื่อช่วยในการบริหาร จัดการ ทาให้เกิดความคล่องตัว รวดเร็วและ
แม่นยา การตัดสินใจในการดาเนินการต่างๆ ย่อมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม
เทคโนโลยีของการสื่อสารและโทรคมนาคมในปัจจุบันก้าวไกลไปมาก มีบริการมากมายที่ทันสมัยและตอบรับกับ
การนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจ ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้เพียงสาหรับคุยสนทนาเพียง
อย่างเดียวอีกต่อไป แต่มันสามารถช่วยงานได้มากขึ้น โดยอ้างอิงข้อมูลและการเปิดให้บริการของบริษัท มีติดต่อสื่อสาร
ผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสียง มีโทรศัพท์มือถือรุ่นต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
เช่นเทเลคอม เอเชีย คอร์ปอร์เรชั่น จากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้วางแผนการก่อสร้าง และติดตั้งขยายบริการโทรศัพท์พื้นฐาน
2.6 ล้านเลขหมาย ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล รวมถึงการซ่อมบารุงรักษาเป็นระยะเวลา 25 ปี และเป็น
หนึ่งในผู้ให้บริการในปัจจุบัน
ด้านสาธารณสุข
เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันได้รับการนามาใช้ในการพัฒนา ด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวาง และทาให้งานด้าน
สาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างมาก โดยได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ ดังนี้
- ด้านการลงทะเบียนผู้ป่วย ตั้งแต่เริ่มทาบัตร ดูประวัติคนไข้ จ่ายยา เก็บค่ารักษาพยาบาล ทาให้เกิดความสะดวก
รวดเร็วแก่พนักงานและผู้มาใช้บริการ
- การสนับสนุนการรักษาพยาบาล โดยการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ต่างๆ เข้าด้วยกัน สามารถ
สร้างเครือข่ายข้อมูลทางการแพทย์ แลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ป่วยแต่ละพื้นที่ได้
- ประชาชนสามารถได้รับความรู้ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ จากแพทย์ หรือหน่วยงานสาธารณสุขจากเทคโนโลยี
สารสนเทศ ทาให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ได้ผลขึ้น โดยสามารถใช้สื่อต่างๆ เช่นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวมีเสียงและ
อื่นๆ ทาให้ประชาชนเกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น
- สามารถให้คาปรึกษาทางไกล โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชานาญ เทคโนโลยีสารสนเทศ จะช่วยให้แพทย์สามารถเห็นหน้า
หรือท่าทางอาการของผู้ป่วยได้ ช่วยให้ส่งข้อมูลที่เป็นเอกสาร หรือภาพเพื่อประกอบการพิจารณาของแพทย์ได้
ในปัจจุบันนี้ประชาชนเกิดความเชื่อถือและไว้วางใจต่อทางสาธารณสุขเป็นอย่างมาก เพราะ ทางสาธารณสุขมี
ความก้าวหน้าในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อย่างกว้างขวางและทันสมัย ทาให้ประชาชนได้รับความรู้โดยตรง
และเกิดประโยชน์เป็นอย่างมาก
ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
1. งานเผยแพร่ข่าวสารและประชาสัมพันธ์
ในขณะนี้หน่วยงานต่างๆ ที่มีกิจกรรมทางด้านสิ่งแวดล้อมได้จัดทาโฮมเพจเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมและงาน
สิ่งแวดล้อมแก่ประชาชนมาก
2. งานด้านฐานข้อมูล
ข้อมูลทางด้านสิ่งแวดล้อมนั้นมีมากมายหลายประเภท บางประเภทก็เป็นข้อมูลตัวเลข เช่นค่ามาตรฐานของสารต่างๆ ที่
ยอมให้ปนเปื้อนได้ในน้าประปา หรืออาหาร บางประเภทก็เป็นข้อมูลตัวอักษร บางประเภทก็เป็นภาพกราฟิค และบาง
ประเภทก็อาจจะเป็นภาพสามมิติ งานด้านฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพนั้นจะต้องเน้นการออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้
เหมาะสมแก่การค้นคืน
3. งานด้านวิเคราะห์ข้อมูล
นักวิจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมอาจจะใช้โปรแกรมคานวณสถิติที่รู้จักกันดีคือ SPSS ในการบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
หรือหากการวิเคราะห์ไม่ได้ใช้สถิติที่ยุ่งยากนัก ก็อาจจะใช้แค่เพียงโปรแกรมตารางทาการ (spread sheet)
4. งานด้านจาลองแบบ
การจาลองแบบช่วยในการวางแผนงานทางด้านสิ่งแวดล้อม การจาลองแบบด้วยคอมพิวเตอร์นั้นจาเป็นจะต้องอาศัย
ความรู้ด้านการจัดทาแบบจาลอง (model) และความรู้ทางด้าน คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิธีจาลองแบบนั้นๆ
5. งานด้านแผนที่
ปัจจุบันหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย คือ กรมควบคุมมลพิษ ได้นาระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์มาใช้ในการจัดทา
แผนที่สิ่งแวดล้อม แล้วนา ออกเผยแพร่ทางระบบอินเทอร์เน็ตด้วย
6. งานระบบอัตโนมัติ
การพัฒนาระบบอัตโนมัติต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งแวดล้อมคงจะเกิดมากขึ้นในอนาคต อาทิ เครื่องตรวจวัด
คาร์บอนไดออกไซด์, เครื่องตรวจวัดคาร์บอนมอนออกไซด์ ระบบอัตโนมัติเหล่านี้จะช่วยให้สามารถเฝ้ าระวังสิ่งแวดล้อมใน
ด้านต่างๆ ได้อย่างสะดวก และสามารถแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างตรงจุดและรวดเร็ว
7. งานวิเคราะห์ข้อมูลด้วยดาวเทียม
งานนี้คือการเฝ้ าระวังสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยข้อมูลที่ถ่าย และส่งมาจากดาวเทียมต่างๆ จากนั้นก็นาข้อมูลมา วิเคราะห์ด้วย
โปรแกรมพิเศษเพื่อให้เห็นภาพของผิวโลกและสิ่งแวดล้อม
8. งานวิจัยด้านสารสนเทศอื่นๆ
ยังมีงานวิจัยอื่นๆ อีกมากทางด้านคอมพิวเตอร์หรือวิชาการสารสนเทศที่อาจเกี่ยวข้องกับงานด้านสิ่งแวดล้อม อาทิ การ
จัดทาโปรแกรมสาหรับใช้ค้นคืนข้อมูลโมเลกุลสามมิติ, โปรแกรมสาหรับค้นคืนข้อมูลดีเอ็นเอ, โปรแกรมสาหรับสร้างภาพ
(visualization) สาหรับช่วยวิเคราะห์ข้อมูล ฯลฯ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556[1] เป็นแผนนโยบายที่เป็นแผนประสานงานระดับชาติ แผน
แม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2545-2549” ซึ่งเป็นแผนนโยบาย ICT ของประเทศไทยระยะแรก ๆ
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย
มี การจัดการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพื่อจัดทาแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3 จานวน 8 ครั้ง ระหว่างวันที่ 25
กรกฎาคม – 8 สิงหาคม 2556 เพื่อให้การจัดทาแผนแม่บทฯ มีเนื้อหาที่ครบถ้วนและสมบูรณ์ กาหนดทิศทางและสอดคล้องกับ
ปัจจัยต่างๆ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งสามารถนาไปปฏิบัติพร้อมกับติดตามผลได้จริง โดยแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3
จาเป็นต้องระบุนโยบายซึ่งสามารถขับเคลื่อนด้วยยุทธศาสตร์ที่จะส่งผลให้มีการพัฒนาและการใช้ประโยชน์ด้าน ICT ที่สร้าง
คุณค่าต่อประเทศและประชาชนอย่างเหมาะสม
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2)ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 เป็นแผนนโยบายที่เป็น
แผนประสานงานระดับชาติ (sectoral plan) ซึ่งผ่านการอนุมัติของคณะรัฐมนตรีเมื่อ ตุลาคม 2552 มีลักษณะต่างจาก
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งเป็นแผนภาพรวมระดับประเทศ ในแผนนี้มีสาระสาคัญหลายประการที่สะท้อนให้
เห็นความต่อเนื่องทางนโยบายจาก “นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย” และ “แผนแม่บท
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2545-2549” ซึ่งเป็นแผนนโยบาย ICT ของประเทศไทย
ระยะแรก ๆ
วิสัยทัศน์
“ประเทศไทยเป็นสังคมอุดมปัญญา (Smart Thailand) ด้วย ICT”
เป้ าหมาย
(1) ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของประชากรทั้งประเทศ มีความรอบรู้ สามารถเข้าถึง สร้างสรรค์ และใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ
รู้เท่าทัน มีคุณธรรมและจริยธรรม (Information Literacy) ก่อ เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ การทางาน และการดารงชีวิตประจาวัน
(2) ยกระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ขึ้นอย่างน้อย 15 อันดับ ใน Networked Readiness Index
(3) เพิ่มบทบาทและความสาคัญของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีสัดส่วนมูลค่าเพิ่ม
ของอุตสาหกรรม ICT ต่อ GDP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1: การพัฒนากาลังคนด้าน ICT และบุคคลทั่วไปให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ ผลิต และใช้สารสนเทศ
อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
ยุทธศาสตร์ที่ 2: การบริหารจัดการระบบ ICT ของประเทศอย่างมีธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ที่ 3: การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ยุทธศาสตร์ที่ 4: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการ
ของภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ที่ 5: การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้เข้า
ประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 6: การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน
อ้างอิง
http://wikipedia.com
https://blog.eduzones.com/dena/4892
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/8_2.html
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/8_4.html
http://www.tanti.ac.th/Com-tranning/IT/technof1.html
http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04093009_2204/isweb/Lesson%207.htm
http://theeraporn14.wordpress.com
http://www.thaigoodview.com/node/99393
http://patcharaphiman.blogspot.com/2012/08/blog-post_9687.html
http://www.healthcarethai.com
http://www.thailibrary.in.th/2014/02/22/ict-master-plan-3/
http://www.thailibrary.in.th/2014/02/22/ict-master-plan-2/

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Кружок "Рукодельница"
Кружок "Рукодельница"Кружок "Рукодельница"
Кружок "Рукодельница"Nelli-RNV
 
Flexible learners for a global future - Alison Le Cornu
Flexible learners for a global future - Alison Le CornuFlexible learners for a global future - Alison Le Cornu
Flexible learners for a global future - Alison Le CornuHEA_AH
 
Presentación1REDES SOCIALES
Presentación1REDES SOCIALESPresentación1REDES SOCIALES
Presentación1REDES SOCIALESRosa Albán
 
Introduction to Creating Websites
Introduction to Creating WebsitesIntroduction to Creating Websites
Introduction to Creating WebsitesJustin Clune
 
Implementing innovation and commercialisation - Stuart Abbott, Zoë Prytherch ...
Implementing innovation and commercialisation - Stuart Abbott, Zoë Prytherch ...Implementing innovation and commercialisation - Stuart Abbott, Zoë Prytherch ...
Implementing innovation and commercialisation - Stuart Abbott, Zoë Prytherch ...HEA_AH
 
Analisis Kebijakan Internasional
Analisis Kebijakan InternasionalAnalisis Kebijakan Internasional
Analisis Kebijakan InternasionalNovia Anwar
 
Lição 14 Cura Divina
Lição 14   Cura DivinaLição 14   Cura Divina
Lição 14 Cura DivinaWander Sousa
 
Perspectiva a lo largo del tiempo de nuestra cooperativa y del movimiento aso...
Perspectiva a lo largo del tiempo de nuestra cooperativa y del movimiento aso...Perspectiva a lo largo del tiempo de nuestra cooperativa y del movimiento aso...
Perspectiva a lo largo del tiempo de nuestra cooperativa y del movimiento aso...Koynos Cooperativa Valenciana
 

Andere mochten auch (20)

S4 tarea4 golom
S4 tarea4 golomS4 tarea4 golom
S4 tarea4 golom
 
Кружок "Рукодельница"
Кружок "Рукодельница"Кружок "Рукодельница"
Кружок "Рукодельница"
 
Flexible learners for a global future - Alison Le Cornu
Flexible learners for a global future - Alison Le CornuFlexible learners for a global future - Alison Le Cornu
Flexible learners for a global future - Alison Le Cornu
 
S4 tarea4 golom
S4 tarea4 golomS4 tarea4 golom
S4 tarea4 golom
 
Meteor Day Talk
Meteor Day TalkMeteor Day Talk
Meteor Day Talk
 
Presentación1REDES SOCIALES
Presentación1REDES SOCIALESPresentación1REDES SOCIALES
Presentación1REDES SOCIALES
 
arthimatic progressions
arthimatic progressionsarthimatic progressions
arthimatic progressions
 
Introduction to Creating Websites
Introduction to Creating WebsitesIntroduction to Creating Websites
Introduction to Creating Websites
 
Implementing innovation and commercialisation - Stuart Abbott, Zoë Prytherch ...
Implementing innovation and commercialisation - Stuart Abbott, Zoë Prytherch ...Implementing innovation and commercialisation - Stuart Abbott, Zoë Prytherch ...
Implementing innovation and commercialisation - Stuart Abbott, Zoë Prytherch ...
 
S4 tarea4 golom
S4 tarea4 golomS4 tarea4 golom
S4 tarea4 golom
 
Analisis Kebijakan Internasional
Analisis Kebijakan InternasionalAnalisis Kebijakan Internasional
Analisis Kebijakan Internasional
 
Lição 14 Cura Divina
Lição 14   Cura DivinaLição 14   Cura Divina
Lição 14 Cura Divina
 
skydrive_ppt_doc
skydrive_ppt_docskydrive_ppt_doc
skydrive_ppt_doc
 
7th april map discussion
7th april map discussion7th april map discussion
7th april map discussion
 
Applying
Applying Applying
Applying
 
report_present
report_presentreport_present
report_present
 
Resep Bintang 7
Resep Bintang 7Resep Bintang 7
Resep Bintang 7
 
M.Tech_final_presentation
M.Tech_final_presentationM.Tech_final_presentation
M.Tech_final_presentation
 
Thanksgiving
ThanksgivingThanksgiving
Thanksgiving
 
Perspectiva a lo largo del tiempo de nuestra cooperativa y del movimiento aso...
Perspectiva a lo largo del tiempo de nuestra cooperativa y del movimiento aso...Perspectiva a lo largo del tiempo de nuestra cooperativa y del movimiento aso...
Perspectiva a lo largo del tiempo de nuestra cooperativa y del movimiento aso...
 

Ähnlich wie Work3-50

บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศBeauso English
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nu Tip SC
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nu Tip SC
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Ploy Wantakan
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1Sindy Lsk
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Tarinee Bunkloy
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkunlayaneepanichh
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 

Ähnlich wie Work3-50 (20)

บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chap1 new
Chap1 newChap1 new
Chap1 new
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Work3-50

  • 1. บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ โดย สริดา ทรงอธิกมาศ ม. 6/2 เลขที่ 50
  • 2. เทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology: IT “คือการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดดาเนินการข้อมูล ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับธุรกิจหนึ่งหรือองค์การอื่น ๆ ศัพท์นี้โดยปกติก็ใช้แทนความหมายของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และยังรวมไปถึงเทคโนโลยีการกระจายสารสนเทศอย่างอื่นด้วยเช่นโทรทัศน์และ โทรศัพท์ อุตสาหกรรมหลายอย่างเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์กึ่งตัวนา อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์โทรคมนาคม การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการทาง คอมพิวเตอร์” ระบบสารสนเทศ Information System : IS เป็นระบบพื้นฐานของการทางานต่างๆ ในรูปแบบของการเก็บ (input) การประมวลผล (processing) เผยแพร่ (output) และมีส่วนจัดเก็บข้อมูล (storage) ประกอบด้วย - ข้อมูล (Data) หมายถึง ค่าของความจริงที่ปรากฏขึ้น โดยค่าความจริงที่ได้จะนามาจัดการปรับแต่งหรือ ประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ - สารสนเทศ (Information) คือ กลุ่มของข้อมูลที่ถูกตามกฎเกณฑ์ตามหลักความสัมพันธ์ เพื่อให้ข้อมูล เหล่านั้นมีประโยชน์และมีความหมายมากขึ้น - การจัดการ (Management) คือ การบริหารอย่างเป็นระบบ เป็นการกาหนดเป้ าหมายและทิศทางการ จัดการขององค์กรนั้น ซึ่งต้องมีการวางแผน กาหนดการ และจัดการทรัพยากรภายในองค์กร เพื่อให้บรรลุ ถึงวัตถุประสงค์ขององค์กรนั้นๆ
  • 3. ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น 3 ระดับ ระดับสูง (Top Level Management) กลุ่มของผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่กาหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กร เพื่อนาไปสู่เป้ าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และสารสนเทศภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้ม สถานการณ์โดยรวม ซึ่งระบบสารสนเทศในระดับนี้ต้องออกแบบให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน ไม่มี ความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่รวดเร็วและทันท่วงทีด้วย เช่นกัน ระดับกลาง (Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการบริหารและจัดการองค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นามาสานต่อให้บรรลุตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบ สารสนเทศที่ใช้มักได้มาจากแหล่งข้อมูลภายใน ระบบสารสนเทศจึงต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้ โดยเลือกใช้ค่าทางสถิติช่วยพยากรณ์หรือทานายทิศทางไว้ด้วย หากระดับของการตัดสินใจนั้นมีความซับซ้อน หรือยุ่งยากมากเกินไป ระดับปฏิบัติการ (Operation Level Management) ผู้ใช้กลุ่มนี้จะเกี่ยวข้องกับการผลิตหรือการปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบสินค้า งานทั่วไป ที่ไม่จาเป็นต้องใช้การวางแผนหรือระดับการตัดสินใจมากนัก ข้อมูลหรือสารสนเทศในระดับนี้จะถูกนาไป ประมวลผลในระดับกลางและระดับสูงต่อไป
  • 4. ประเภทของระบบสารสนเทศ 1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็นระบบที่ทา หน้าที่ในการปฏิบัติงานประจา บันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ร ผลลัพธ์ของระบบนี้มักจะอยู่ในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผลเบื้องต้น 2. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบเกี่ยวข้องกับการจัดการ เอกสาร ผลลัพธ์ของระบบนี้มักอยู่ในรูปของเอกสาร กาหนดการ สิ่งพิมพ์ 3, ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS) เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรที่ทางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น เพื่อ นาไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงานต้องนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้ การพัฒนาเกิดขึ้นได้โดย ผลลัพธ์ของระบบนี้มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็นต้น 4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็นระบบ สารสนเทศสาหรับ ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบจะเชื่อมโยง ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้าด้วยกัน เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศที่ เหมาะสมและจาเป็นต่อการบริหารงาน ผลลัพธ์ของระบบนี้มักอยู่ในรูปของรายงานสรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ 4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS) เป็นระบบที่ช่วยในการตัดสินใจสาหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้นตอนในการหา คาตอบที่แน่นอนเพียงบางส่วน ข้อมูลที่ใช้ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอก กิจการประกอบกัน สร้างขึ้นจากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการผลลัพธ์ อาจจะอยู่ ในรูปของ รายงานเฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทานาย หรือ พยากรณ์เหตุการณ์ 5. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System - EIS) เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทาหน้าที่กาหนดแผน ระยะยาวและเป้ าหมายของกิจการ จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลภายนอก ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของการพยากรณ์/การคาดการณ์
  • 5. พัฒนาการของเทคโนโลยี สารสนเทศพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นอาจแบ่งได้เป็นสี่ยุคตามเทคโนโลยีการจัดเก็บและการประมวลผลที่ใช้ ได้แก่ ยุคก่อนเครื่องกล (3000 ปีก่อน ค.ศ. – คริสต์ทศวรรษ 1450) ยุคเครื่องกล (1450–1840) ยุคเครื่องกลไฟฟ้ า (1840–1940) และยุคอิเล็กทรอนิกส์ (1940–ปัจจุบัน) [5] บทความนี้จะให้ความสาคัญไปที่ยุคล่าสุด (ยุคอิเล็กทรอนิกส์) ซึ่งเริ่มเมื่อประมาณคริสต์ทศวรรษ 1940 อุปกรณ์ได้ถูกนามาใช้เพื่อช่วยในการคานวณเป็นพันๆปีมาแล้ว ครั้งแรกน่าจะเป็นในรูปแบบของไม้หรือติ้วเพื่อ บันทึกการนับ กลไก Antikythera สืบมาจากจุดเริ่มต้นของศตวรรษที่หนึ่งก่อนคริศตศักราชโดยทั่วไปถูกพิจารณาว่าเป็น คอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกที่ใช้กลไกที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่รู้จักกัน และกลไกที่ใช้เฟืองที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่รู้จักกัน อุปกรณ์ที่ ใช้เฟืองทีสามารถเทียบได้ไม่ได้เกิดขึ้นใน ยุโรปจนถึงศตวรรษที่ 16 และมันไม่ได้เปลี่ยนแปลงจนกระทั่งปี 1645 ที่เครื่อง คิดเลขกลไกตัวแรกที่มีความสามารถในการดาเนินการคานวณทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานทั้งสี่ได้รับการพัฒนา คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้รีเลย์หรือวาล์ว เริ่มปรากฏให้เห็นในช่วงต้นปี 1940s เครื่องกลไฟฟ้ า Zuse Z3, เสร็จสมบูรณ์ใน ปี 1941, เป็นคอมพิวเตอร์ที่โปรแกรมได้เครื่องแรกของโลก และตามมาตรฐานที่ทันสมัย เป็นหนึ่งใน เครื่องแรกที่อาจถูกพิจารณาว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์แบบเครื่องหนึ่ง เครื่อง Colossus, ถูกพัฒนาขึ้นในช่วง สงครามโลกครั้งที่สองเพื่อถอดรหัสข้อความภาษาเยอรมัน, เป็นคอมพิวเตอร์ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ตัวแรก แม้ว่ามันจะ โปรแกรมได้ มันก็ไม่ได้ถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป มันถูกออกแบบมาเพื่อทางานเพียงงานเดียว มันยังขาด ความสามารถในการจัดเก็บโปรแกรมในหน่วยความจาอีกด้วย การเขียนโปรแกรม สามารถทาได้โดยใช้ปลั๊กและสวิทช์ เพื่อเปลี่ยนแปลงการเดินสายไฟภายใน คอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมได้แบบดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยและได้รับการ ยอมรับตัวแรก คือ Manchester Small-Scale Experimental Machine (SSEM) ซึ่งวิ่ง โปรแกรมแรกในวันที่ 21 มิถุนายน 1948 การพัฒนาของทรานซิสเตอร์ในปลายปี 1940s ที่ ห้องปฏิบัติการ Bell ยอมให้รุ่นใหม่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้รับการออกแบบด้วยการใช้พลังงานที่ลดลงอย่างมาก เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมได้ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ตัวแรก ชื่อ Ferranti Mark I ประกอบด้วย วาล์ว 4,050 ตัวและมี การใช้พลังงาน 25 กิโลวัตต์ เมื่อเปรียบเทียบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ทรานซิสเตอร์ตัวแรก, ที่ถูกพัฒนาขึ้นที่มหาวิทยาลัยแห่งแมนเชสเตอร์และเปิดใช้งานในเดือนพฤศจิกายน ปี 1953, บริโภคพลังงานเพียง 150 วัตต์ในรุ่นสุดท้ายของมัน
  • 6. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนามาประยุกต์ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาค การผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศ และเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนามาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจได้หลายประการดังตัวอย่างเช่น 1. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) 2.การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาพันธมิตรของกลุ่มผู้ประกอบการ (Virtual Cluster Development) 3. การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ในปัจจุบัน อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศได้กลายเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีการประมาณการ ว่าตลาดโลกสาหรับอุปกรณ์ ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ โทรคมนาคม และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ จะมีขนาด 1,600 พันล้าน เหรียญสหรัฐ ในปี 1994 ด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 20 ต่อปี การลงทุนในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดศักยภาพในการแข่งขัน จึงย่อมส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อเศรษฐกิจ ของนานาประเทศ จากผลการศึกษาใน 11 ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งมีทั้งประเทศที่ถือว่าพัฒนาแล้ว พัฒนาใหม่ และกาลัง พัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลกระทบต่อสังคมมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มันอย่างไร ในโลกปัจจุบัน แรงผลักดันทางเศรษฐกิจมักจะมีบทบาทสูงในการกาหนดทิศทางของเทคโนโลยีเป็นที่ทราบกันดีว่าเทคโนโลยีการสื่อสารทั้งในอดีต และปัจจุบันได้เปลี่ยนโฉมไปอย่างมาก ในอนาคตธุรกิจบันเทิงจะเป็นธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จะทาเงินให้แก่ผู้ประกอบการทางด้านการ สื่อสารโทรคมนาคม เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีอิทธิพลอย่างสูงกับแนวความคิด ความอ่านของผู้คนในสังคม เพราะเป็นวิถีทางหนึ่งที่ผู้ร่วม บันเทิงได้รับอิทธิพลทางความคิดจากผู้อื่นที่ร่วมอยู่ในวงบันเทิง และยอมรับสถานภาพว่าตนก็เป็นส่วนหนึ่งของสังคมนั้นๆ การ ถ่ายทอดแนวความคิดระหว่างบุคคลในสังคมนั้นก็เป็นสิ่งที่เราเรียกว่า วัฒนธรรมนั่นเอง ช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริชองสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล ผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY ( Digital Accessible Information System)
  • 7. ด้านการศึกษา เทคโนโลยีลดความเหลื่อมล้าของโอกาสทางการศึกษา ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญในการตอบสนองนโยบายการศึกษาที่เป็น “การศึกษาเพื่อประชาชนทุกคน” อันเป็นการสร้างความเท่าเทียมทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเท่าเทียมทางการศึกษา เช่น การติดตั้งจานดาวเทียมในโรงเรียนชนบทห่างไกล เพื่อให้นักเรียนได้รับโอกาสในการศึกษาที่เท่าเทียมกับรักเรียนในพื้นที่ อื่นๆ การติดตั้งเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้ครูและนักเรียนสามารถเข้าถึงสารสนเทศแหล่งข้อมูลจากทั่วโลก นอกจากนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศยังช่วยให้ผู้พิการมีโอกาสได้รับการศึกษาและการประกอบอาชีพในสิ่งแวดล้อมของคนปกติ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กล่าวคือนวัตกรรมทางการศึกษาในปัจจุบันเป็นผล สืบเนื่องจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การผลิตสื่อการศึกษาในรูปแบบซีดีรอม ช่วยให้นักเรียนที่เรียนรู้ช้าได้มีโอกาส เรียนรู้ตามศักยภาพของแต่ละคน การนาเสนอสื่อการศึกษาในปัจจุบันยังมีความหลากหลาย โดยมีการนาเสนอด้วยเสียง ข้อความ ภาพ และภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเอื้อต่อการเรียนรู้และกระตุ้นความสนใจในการศึกษาของผู้เรียนทุกวัย นอกจากนี้ เทคโนโลยีเสมือนจริง ยังช่วยพัฒนาบุคลิกภาพการศึกษาในวิชาชีพที่ภาคปฏิบัติมีความสาคัญ เช่น การฝึกนักบิน การสอน ภาคปฏิบัติแก่นักนิสิตคลินิก เป็นต้น เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนต่อการฝึกอบรม การประชุมและการติดต่อสื่อสาร เช่น การอบรมทางไกล การประชุม ทางไกล การประชุมผ่านอินเทอร์เน็ต ซึ่งทาให้การฝึกอบรมประหยัดเวลาและงบประมาณ โดยไม่มีข้อจากัดด้านสถานที่ บุคลากร และเวลา ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ การนาอินเทอร์เน็ตมาสนับสนุนต่อการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน แนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา 1.การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction) มีหลายรูปแบบเช่น Drill and Practice, Linear Program , Branching Program, Simulation, Game, Multimedia, Intelligence CAI 2.การศึกษาทางไกล(Distance Learning) ซึ่งจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์ การสื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่าน ดาวเทียม (Direct to Home : DTH) หรือระบบการแระชุมทางไกล (Video Teleconference) 3.เครือข่ายการศึกษา(Education Network) ซึ่งเป็นการนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ ซึ่งมีบริการในหลายรูปแบบ เช่นElectronic Mail , File Transfer Protocol, Telnet , World Wide Webเป็นต้น เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์จะสามารถให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มี จานวนมากมายที่เชื่อมโยงในเครือข่ายทั่วโลก 4.การใช้งานในห้องสมุด(Electronic Library) เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบค้นข้อมูลหนังสือ วารสาร หรือบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ผลงานการวิจัย 5.การใช้งานในห้องปฏิบัติการ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจาลองสถานการณ์(Simulation) การใช้ในงานประจาและงานบริหาร (Computer Manage Instruction) เป็นการประยุกต์ใช้ในสานักงานเพื่อช่วยในการบริหาร จัดการ ทาให้เกิดความคล่องตัว รวดเร็วและ แม่นยา การตัดสินใจในการดาเนินการต่างๆ ย่อมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
  • 8. ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม เทคโนโลยีของการสื่อสารและโทรคมนาคมในปัจจุบันก้าวไกลไปมาก มีบริการมากมายที่ทันสมัยและตอบรับกับ การนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจ ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้เพียงสาหรับคุยสนทนาเพียง อย่างเดียวอีกต่อไป แต่มันสามารถช่วยงานได้มากขึ้น โดยอ้างอิงข้อมูลและการเปิดให้บริการของบริษัท มีติดต่อสื่อสาร ผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสียง มีโทรศัพท์มือถือรุ่นต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เช่นเทเลคอม เอเชีย คอร์ปอร์เรชั่น จากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้วางแผนการก่อสร้าง และติดตั้งขยายบริการโทรศัพท์พื้นฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล รวมถึงการซ่อมบารุงรักษาเป็นระยะเวลา 25 ปี และเป็น หนึ่งในผู้ให้บริการในปัจจุบัน ด้านสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันได้รับการนามาใช้ในการพัฒนา ด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวาง และทาให้งานด้าน สาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างมาก โดยได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ ดังนี้ - ด้านการลงทะเบียนผู้ป่วย ตั้งแต่เริ่มทาบัตร ดูประวัติคนไข้ จ่ายยา เก็บค่ารักษาพยาบาล ทาให้เกิดความสะดวก รวดเร็วแก่พนักงานและผู้มาใช้บริการ - การสนับสนุนการรักษาพยาบาล โดยการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ต่างๆ เข้าด้วยกัน สามารถ สร้างเครือข่ายข้อมูลทางการแพทย์ แลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ป่วยแต่ละพื้นที่ได้ - ประชาชนสามารถได้รับความรู้ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ จากแพทย์ หรือหน่วยงานสาธารณสุขจากเทคโนโลยี สารสนเทศ ทาให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ได้ผลขึ้น โดยสามารถใช้สื่อต่างๆ เช่นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวมีเสียงและ อื่นๆ ทาให้ประชาชนเกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น - สามารถให้คาปรึกษาทางไกล โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชานาญ เทคโนโลยีสารสนเทศ จะช่วยให้แพทย์สามารถเห็นหน้า หรือท่าทางอาการของผู้ป่วยได้ ช่วยให้ส่งข้อมูลที่เป็นเอกสาร หรือภาพเพื่อประกอบการพิจารณาของแพทย์ได้ ในปัจจุบันนี้ประชาชนเกิดความเชื่อถือและไว้วางใจต่อทางสาธารณสุขเป็นอย่างมาก เพราะ ทางสาธารณสุขมี ความก้าวหน้าในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อย่างกว้างขวางและทันสมัย ทาให้ประชาชนได้รับความรู้โดยตรง และเกิดประโยชน์เป็นอย่างมาก
  • 9. ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 1. งานเผยแพร่ข่าวสารและประชาสัมพันธ์ ในขณะนี้หน่วยงานต่างๆ ที่มีกิจกรรมทางด้านสิ่งแวดล้อมได้จัดทาโฮมเพจเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมและงาน สิ่งแวดล้อมแก่ประชาชนมาก 2. งานด้านฐานข้อมูล ข้อมูลทางด้านสิ่งแวดล้อมนั้นมีมากมายหลายประเภท บางประเภทก็เป็นข้อมูลตัวเลข เช่นค่ามาตรฐานของสารต่างๆ ที่ ยอมให้ปนเปื้อนได้ในน้าประปา หรืออาหาร บางประเภทก็เป็นข้อมูลตัวอักษร บางประเภทก็เป็นภาพกราฟิค และบาง ประเภทก็อาจจะเป็นภาพสามมิติ งานด้านฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพนั้นจะต้องเน้นการออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้ เหมาะสมแก่การค้นคืน 3. งานด้านวิเคราะห์ข้อมูล นักวิจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมอาจจะใช้โปรแกรมคานวณสถิติที่รู้จักกันดีคือ SPSS ในการบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล หรือหากการวิเคราะห์ไม่ได้ใช้สถิติที่ยุ่งยากนัก ก็อาจจะใช้แค่เพียงโปรแกรมตารางทาการ (spread sheet) 4. งานด้านจาลองแบบ การจาลองแบบช่วยในการวางแผนงานทางด้านสิ่งแวดล้อม การจาลองแบบด้วยคอมพิวเตอร์นั้นจาเป็นจะต้องอาศัย ความรู้ด้านการจัดทาแบบจาลอง (model) และความรู้ทางด้าน คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิธีจาลองแบบนั้นๆ 5. งานด้านแผนที่ ปัจจุบันหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย คือ กรมควบคุมมลพิษ ได้นาระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์มาใช้ในการจัดทา แผนที่สิ่งแวดล้อม แล้วนา ออกเผยแพร่ทางระบบอินเทอร์เน็ตด้วย 6. งานระบบอัตโนมัติ การพัฒนาระบบอัตโนมัติต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งแวดล้อมคงจะเกิดมากขึ้นในอนาคต อาทิ เครื่องตรวจวัด คาร์บอนไดออกไซด์, เครื่องตรวจวัดคาร์บอนมอนออกไซด์ ระบบอัตโนมัติเหล่านี้จะช่วยให้สามารถเฝ้ าระวังสิ่งแวดล้อมใน ด้านต่างๆ ได้อย่างสะดวก และสามารถแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างตรงจุดและรวดเร็ว 7. งานวิเคราะห์ข้อมูลด้วยดาวเทียม งานนี้คือการเฝ้ าระวังสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยข้อมูลที่ถ่าย และส่งมาจากดาวเทียมต่างๆ จากนั้นก็นาข้อมูลมา วิเคราะห์ด้วย โปรแกรมพิเศษเพื่อให้เห็นภาพของผิวโลกและสิ่งแวดล้อม 8. งานวิจัยด้านสารสนเทศอื่นๆ ยังมีงานวิจัยอื่นๆ อีกมากทางด้านคอมพิวเตอร์หรือวิชาการสารสนเทศที่อาจเกี่ยวข้องกับงานด้านสิ่งแวดล้อม อาทิ การ จัดทาโปรแกรมสาหรับใช้ค้นคืนข้อมูลโมเลกุลสามมิติ, โปรแกรมสาหรับค้นคืนข้อมูลดีเอ็นเอ, โปรแกรมสาหรับสร้างภาพ (visualization) สาหรับช่วยวิเคราะห์ข้อมูล ฯลฯ
  • 10. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556[1] เป็นแผนนโยบายที่เป็นแผนประสานงานระดับชาติ แผน แม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2545-2549” ซึ่งเป็นแผนนโยบาย ICT ของประเทศไทยระยะแรก ๆ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย มี การจัดการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพื่อจัดทาแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3 จานวน 8 ครั้ง ระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม – 8 สิงหาคม 2556 เพื่อให้การจัดทาแผนแม่บทฯ มีเนื้อหาที่ครบถ้วนและสมบูรณ์ กาหนดทิศทางและสอดคล้องกับ ปัจจัยต่างๆ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งสามารถนาไปปฏิบัติพร้อมกับติดตามผลได้จริง โดยแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3 จาเป็นต้องระบุนโยบายซึ่งสามารถขับเคลื่อนด้วยยุทธศาสตร์ที่จะส่งผลให้มีการพัฒนาและการใช้ประโยชน์ด้าน ICT ที่สร้าง คุณค่าต่อประเทศและประชาชนอย่างเหมาะสม แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2)ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 เป็นแผนนโยบายที่เป็น แผนประสานงานระดับชาติ (sectoral plan) ซึ่งผ่านการอนุมัติของคณะรัฐมนตรีเมื่อ ตุลาคม 2552 มีลักษณะต่างจาก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งเป็นแผนภาพรวมระดับประเทศ ในแผนนี้มีสาระสาคัญหลายประการที่สะท้อนให้ เห็นความต่อเนื่องทางนโยบายจาก “นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย” และ “แผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2545-2549” ซึ่งเป็นแผนนโยบาย ICT ของประเทศไทย ระยะแรก ๆ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยเป็นสังคมอุดมปัญญา (Smart Thailand) ด้วย ICT” เป้ าหมาย (1) ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของประชากรทั้งประเทศ มีความรอบรู้ สามารถเข้าถึง สร้างสรรค์ และใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ รู้เท่าทัน มีคุณธรรมและจริยธรรม (Information Literacy) ก่อ เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ การทางาน และการดารงชีวิตประจาวัน (2) ยกระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ขึ้นอย่างน้อย 15 อันดับ ใน Networked Readiness Index (3) เพิ่มบทบาทและความสาคัญของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีสัดส่วนมูลค่าเพิ่ม ของอุตสาหกรรม ICT ต่อ GDP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1: การพัฒนากาลังคนด้าน ICT และบุคคลทั่วไปให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ ผลิต และใช้สารสนเทศ อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน ยุทธศาสตร์ที่ 2: การบริหารจัดการระบบ ICT ของประเทศอย่างมีธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 3: การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยุทธศาสตร์ที่ 4: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการ ของภาครัฐ ยุทธศาสตร์ที่ 5: การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้เข้า ประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 6: การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน