SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
เซต(Set)
            เซต คือลักษณะนามที่เราใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ
เช่นกลุ่มของคน สัตว์ กลุ่มของสิ่งของเป็นต้น และสิ่งต่าง ๆ ที่
อยู่ในกลุมว่า สมาชิก
          ่
            ใช้อักษรในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนชื่อเซต
อักษรในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก ตัวเลข เขียนสมาชิกของเซต
เมื่อเรากล่าวถึงเซต จะต้องกล่าวถึงสมาชิกในเซตซึ่งอาจจะมีหรือ
ไม่มีก็ได้ ถ้ามีก็ต้องทราบว่ามีอะไรบ้าง ดังนั้นการเขียนเซตจึง
จำาแนกได้ 2 แบบ ตามวิธีการเขียนสมาชิก
            1. การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
                                 วิธีการเขียนแบบนี้จะเขียนสมาชิก
ของเซตในวงเล็บปีกกา และคั่นเครื่องหมายจุลภาค “ , ” และ A
= เซตของวันในหนึงสัปดาห์
                      ่
                   A={
จันทร์,อังคาร,พุธ,พฤหัสบดี,ศุกร์,เสาร์,อาทิตย์}
            2. การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
                      วิธีเขียนแบบนี้เรานิยมใช้ตัวแปร x , y ,z
แทนสมาชิก หลังจากนั้นใช้เส้นคั่นและต่อจากเส้นคั่นจะเป็นส่วน
อธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไขของสมาชิก
                   A = {x x เป็นวันในหนึ่งสัปดาห์}
                   A={
            จันทร์,อังคาร,พุธ,พฤหัสบดี,ศุกร์,เสาร์,อาทิตย์}
            ใช้สัญลักษณ์ “       ” แทนคำาว่า “ เป็นสมาชิกของ”
เช่น
                   B = { x x เป็นสระในภาษาอังกฤษ}
                   B={a,e,i,o,u}
                   a ∈A , e ∈ A , i∈A , o∈A , u∈A

     ชนิดของเซต
         1. เซตว่าง (Empty Set ) คือเซตที่ไม่มีสมาชิกเลย
            ใช้สัญลักษณ์ { } หรือ
         2. เซตจำากัด( Finite Set) คือเซตที่สามารถบอกได้ว่า
            มีสมาชิกเป็นจำานวนเท่าใด
         3. เซตอนันต์ (Infinity Set) คือเซตที่ไม่ใช่เซตจำากัด
     การเท่ากันของเซต
เซตสองเซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิก
เท่ากันและเหมือนกันตัวต่อตัว
               A = {x เป็นจำานวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 5}
               B={1,2,3,4}
               A=B

     สับเซต
           1. A เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A
ต้องอยู่ใน B ใช้สัญลักษณ์
                 A⊂B =       {x x ∈ A → x ∈ B}
                       =     ∀x[x ∈ A → x ∈ B]
           2. A ไม่ เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกบางตัว
ของ A แต่ไม่อยู่ใน B ใช้สัญลักษณ์
                 A⊄B         =    {x x ∈ A ∧ x ∉B}
                       =     ∃x[x ∈ A ∧ x ∉ B]
           3. ถ้า n(A) = k แล้ว
                 จำานวนสับเซตของ A มี            =    2k
                       สับเซต
                 จำานวนสับเซตแท้ของ A มี =       2k -1
                 สับเซต
                สัญลัก เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย
                ษณ์      A B
                         เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทน
                         ด้วย A B
A = {1, 2}      B=     A B, A C, A D
{2, 3}                 B A, B C, B D
C = {1, 2, 3}      D = C A, C B, C D
{1, 2, 3, 4}           D A, D B, D C
           1. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง (A A)
           2. เซตว่าง เป็นสับเซตของทุก ๆ เซต ( A)
           3. ถ้า A แล้ว A =
           4. ถ้า A B และ B C แล้ว A C
           5. A = B ก็ต่อเมื่อ A B และ B A
     เพาเวอร์เซต (Power Set)
1. เพาเวอร์เซต ของเเซต A คือสมาชิกทั้งหมดเป็น
สับเซตของ A ใช้สัญลักษณ์
                               P(A) = {x x ⊂ A }
          2. ถ้า A เป็นเซตจำากัด
                ถ้า n(A) = k แล้ว
                      1. n[P(A)] =   2k
                      2. n[P(P(A))] =     k
                                           22
          3. จำานวนสมาชิกของ P(A) จะอยู่ในลำาดับเรขาคณิต
             ดังนี้
n(A)    0       1       2     3      4      5      6 ------
                                                      ----
n[P(    1       2       4     8     16      32    64 ------
A)]                                                   ----

     ทฤษฎีเกี่ยวกับเพาเวอร์เซต
        ถ้า A และ B เป็นเซตจำากัดใด ๆ
               1. สมาชิกทุกตัวของเพาเวอร์เซต ต้องเป็นเซต
               2. φ ∈P(A) และ          P(A) เสมอ
               3. A∈P(A) เสมอ แต่ A ไม่จำาเป็นต้องเป็นสับ
                  เซตของ P(A)
               4. เมื่อ A∈P(A) ดังนั้น P(A) ∈P(P(A))
               5. เพาเวอร์เซต จะไม่มทางเป็นเซตว่างได้เลย
                                        ี
                  นั่นคือ P(A) ≠φ
               6. P(φ) = {φ}
               7. {A}⊂P(A) เสมอ ดังนั้น {P(A)} ⊂P(P(A))
               8. P(A∩B)=P(A) ∩P(B)
               9. ถ้า A⊂B แล้ว P(A) ⊂P(B)

     การกระทำาของเซต(Operation of Set)
           คือการนำาเซตหลาย ๆ เซตมากระทำากันเพื่อให้เกิดเซต
ใหม่ขึ้นมา ซึ่งมีอยู่ 3 วิธีคือ
           1. อินเตอร์เซคชัน(Intersection)
                  ถ้า A และ B เป็นเซตสองเซต อินเตอร์เซคชัน
ของ A และ B หมายถึงเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นทังของ A
                                                     ้
และ B ใช้สัญลักษณ์ A∩B
A∩B = {xx ∈ A และ x ∈ B}
ตัวอย่าง        A={1,2,3}, B={2,3,4}
วิธทำา
   ี        A∩B = {2 , 3 }
                   สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย
เลอร์ ได้ดังนี้

                     A       B      U
                     1   2 3 4



                        A∩B = {2 , 3 }
            2. ยูเนียน (Union)
                  ถ้า A และ B เป็นเซตสองเซต ของยูเนียน A
และ B หมายถึงเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นทังของ A และ B
                                             ้
ใช้สัญลักษณ์ A∪B
                  A∪B = {xx ∈ A หรือ x ∈ B}
ตัวอย่าง          A={1,2,3}, B={2,3,4}
วิธทำา
   ี        A∪B = {1 , 2 , 3 ,4 }
                       สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย
เลอร์ ได้ดังนี้
                    A       B      U
                     1   2 3 4



                       A∪B = {1 , 2 , 3 , 4 }
          3. ผลต่างและคอมพลีเม้นต์(Difference and
Complement)
                 ถ้า A และ B เป็นเซตสองเซต เซตที่ประกอบ
ด้วยสมาชิกที่เป็นทั้งของ A แต่ไม่เป็นสมาชิกของ B ใช้
สัญลักษณ์ A - B
                 A - B = {xx ∈ A แต่ x ∉ B}
ตัวอย่าง         A={1,2,3}, B={2,3,4}
วิธทำา
   ี      A - B = {1 , 2 , 3 }
B–A={4}
                สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย
เลอร์ ได้ดังนี้
                     A       B       U
                      1   2 3 4



                     A- B = {1 , 2 , 3 } และ B – A
={ 4 }
             ในทำานองเดียวกัน ถ้าเราจะหา U – A จะได้
               U={1,2 , 3,4,5,6}
               A = {2,4,6}
               U–A={1,3,5}
               U - A = {xx ∈ U แต่ x ∉ A}
               A’ หรือ Ac แทน U – A
               ดังนั้น A’ = Ac {xx ∉ A}
                                          U
                                    A
                           2,4,
                    1 , 3 6 5
                          ,

                     A’ = Ac {xx ∉ A} และ A’ = { 1 ,
3,5}
                 การพิจารณาเกี่ยวกับเซตจะง่ายขึ้น ถ้าเราใช้
    แผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์ เข้ามาช่วย หลักการเขียน
    แผนภาพมีดังนี้
    1. ใช้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนเอกภพ
    สัมพัทธ์
    2. ใช้วงกลมหรือวงรีหรือรูปปิดใด ๆ แทนเซตต่าง ๆ ที่เป็น
    สมาชิกของ
และเขียนภายในสี่เหลี่ยมผืนผ้า
เป็นเอกภพสัมพัทธ์               A เป็นสับเซตของ



       เซต A และ B เป็นสับเซต เซต A และ B เป็นสับเซตของ
       ของ โดยที่ A และ B ไม่มี โดยที่ A และ B มีสมาชิกบาง
           สมาชิกร่วมกัน                 ตัวร่วมกัน



        เซต A เป็นสับเซตของ B                  เซต A = B

จำานวนสมาชิกของเซต หาได้จาก
       1. n(A∪B)=n(A)+n(B)-n(A∩B)
       2. n(A∪B∪C)= (A)+n(B)+n(C) - n(A∩B)- n(B∩C)-
          n(A∩C)+n(A ∩B ∩C)
ตัวอย่างที่ ١ ถ้า n(A∩B) มีสมาชิก ٣ ตัว (A∪B) มีสมาชิก ٥
ตัว A และ B มีสมาชิกเท่ากัน A-B
                มีสมาชิก ١ ตัว
วิธทำา
   ๊           จาก n(A∪B)=n(A)+n(B)-n(A∩B)
             แทนค่า           ٥  = n(A)+n(B)-3
                                 8       = 2n(A)
; เนื่องจาก n(A) = n(B)
                                        8
                                        2
                                              = n(A)
                    4 = n(A)

                     สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย
เลอร์ ได้ดังนี้
                        A           B         U
                         1      2
                                3       5
                                4
A = {1,2,3,4}
                   B = {2,3,4,5}
                  A∪B = {1,2,3,4,5}
            A∩B = {2,3,4}
                  A - B = {1}
                  B - A = {5}
ตัวอย่างที่ ٢ ครอบครัวหนึงระหว่างที่ไปพักตากอากาศชายทะเล
                              ่
บางแสนมีฝนตก 13 วัน ถ้าฝนตก
                  ตอนเช้าตอนบ่าย อากาศแจ่มใส          แต่ถาฝนตก
                                                          ้
ตอนบ่าย ตอนเช้าอากาศแจ่มใส             ถ้า
                  ระหว่างที่พักตากอากาศ อยู่ นั้นมีอากาศแจ่มใส
ตอนเช้า 11 วัน และตอนบ่ายแจ่มใส
                12 วัน อยากทราบว่าครอบครัวนี้ไปพักตากอากาศ
กี่วัน
วิธทำา
    ี           กำาหนด        A แทนตอนเช้าอากาศแจ่มใส
                                  B แทนตอนบ่ายอากาศแจ่มใส
                            x แทนอากาศแจ่มใสตลอดทั้งวัน
      จาก                   n(A∪B)=n(A)+n(B)-n(A∩B)
                        13 =         (11-x)+ (12-x)
                        13       = 23 –2x
              2x =      23-13
                         10
              x =         2     = 5
            ดังนั้นจำานวนวันที่ไปพักตากอากาศ 13+5 = 18
วัน
                                         U
                   A
                                     B
                       11-x x 12-x
ตัวอย่างที่ 3 นักเรียนโรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งมีจำานวน ٣٠٠ คน
เลือกเข้าชุมนุมดังนี้
                  ١٥٠ คน เลือกคอมพิวเตอร์
                   ٢٠٦ คน เลือกคณิตศาสตร์
                   ٨٠ คน เลือกภาษาอังกฤษ
                   ٧٤ คนเลือก คอมพิวเตอร์และคณิตศาสตร์
            ٣٢ คนเลือก คอมพิวเตอร์และภาษาอังกฤษ
                  ٢٠ คนเลือกทั้ง ٣ วิชา
            จงหา จำานวนนักเรียนที่เลือกเรียนวิชาเดียว นักเรียนที่
เลือกคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษแต่ไม่เลือกคอมพิวเตอร์
วิธทำา
   ี          กำาหนด         C แทน เลือกคอมพิวเตอร์ ١٥٠ คน
                             M แทนเลือก เลือกคณิตศาสตร์ ٢
٠٦ คน
                             E แทนเลือกภาษาอังกฤษ ٨٠ คน
                             n(C∩M) แทน เลือก คอมพิวเตอร์
และคณิตศาสตร์ ٧٤ คน
                  n(C∩E) เลือก คอมพิวเตอร์และภาษาอังกฤษ ٣
٢ คน
                       n(C∩M∩E) เลือกทัง ٣ วิชา ٢٠ คน
                                            ้
                  n(M∩E) = ?
จาก     n(C∪M∪E)= n(C)+n(M)+n(E) - n(C∩M)- n(C∩E)-
n(M∩E)+n(C ∩M ∩E)
แทนค่า                 ٣٠٠ = 150+206+80-74-32- n(M∩E)
+20
                      n(M∩E) = 456-300-74-32
                      n(M∩E) = 50
                       สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย
เลอร์ ได้ดังนี้


                                    C              U
                                  6
                      M           4
                                5
                                    12
                                42
                          82      0
                                  x 18         E
***นักเรียนที่เลือกเรียน คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษแต่ไม่
เลือกคอมพิวเตอร์
                              20+x    =   50
                                   x  =    30
***นักเรียนที่เลือกเรียน เพียง 1 วิชา
                                  82+18+64 =164
คน
                          แบบฝึกหัด
1. จากการสอบถามนักเรียนคอมพิวเตอร์สอวน. จำานวน 20 คน
พบว่า ชอบดื่มชาเชียวน้อยกว่าสองเท่าของจำานวนผูที่ชอบดื่มนำ้า
                                               ้
อัดลม 7 คน จำานวนที่ชอบทั้งชาเขียวและนำ้าอัดลม เท่ากับ
จำานวนผู้ที่ไม่ชอบชาเขียวและนำ้าอัดลม จงหาจำานวนผู้ที่ชอบชา
เขียว
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพUmmara Kijruangsri
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ยApirak Potpipit
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการJirathorn Buenglee
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตK'Keng Hale's
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1Prasatphinyo Fah
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อCherry Lay
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์Aon Narinchoti
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1pandachar
 

Was ist angesagt? (20)

เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้นทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
 
ยูเนียน
ยูเนียนยูเนียน
ยูเนียน
 
โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5          โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5
 
Plan 1
Plan 1Plan 1
Plan 1
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการ
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 

Andere mochten auch

โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
วิมลวรรณอินเตอร์เทรด
วิมลวรรณอินเตอร์เทรดวิมลวรรณอินเตอร์เทรด
วิมลวรรณอินเตอร์เทรดwimonwan suda
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 

Andere mochten auch (20)

Set
SetSet
Set
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
Set
SetSet
Set
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
13ผลต่าง
13ผลต่าง13ผลต่าง
13ผลต่าง
 
วิมลวรรณอินเตอร์เทรด
วิมลวรรณอินเตอร์เทรดวิมลวรรณอินเตอร์เทรด
วิมลวรรณอินเตอร์เทรด
 
Bสอบจุด3 4 ครั้งที่ 2
Bสอบจุด3 4 ครั้งที่ 2Bสอบจุด3 4 ครั้งที่ 2
Bสอบจุด3 4 ครั้งที่ 2
 
8แผนภาพ
8แผนภาพ8แผนภาพ
8แผนภาพ
 
12ต่ออินเตอร์เซก
12ต่ออินเตอร์เซก12ต่ออินเตอร์เซก
12ต่ออินเตอร์เซก
 
สับเซต
สับเซตสับเซต
สับเซต
 
สมุดงาน1
สมุดงาน1สมุดงาน1
สมุดงาน1
 
14ฝึกแผนภาพ
14ฝึกแผนภาพ14ฝึกแผนภาพ
14ฝึกแผนภาพ
 
13คอมพลีเมนต์
13คอมพลีเมนต์13คอมพลีเมนต์
13คอมพลีเมนต์
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
11อินเตอร์เซก
11อินเตอร์เซก11อินเตอร์เซก
11อินเตอร์เซก
 
10ยูเนียน
10ยูเนียน10ยูเนียน
10ยูเนียน
 
ผลต่าง
ผลต่างผลต่าง
ผลต่าง
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 

Ähnlich wie Set

O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEFocusjung Suchat
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนFern Monwalee
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)Tum Anucha
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationsetwongsrida
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebookaossy
 
การกระทำของเซต
การกระทำของเซตการกระทำของเซต
การกระทำของเซตWave Green G
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตkroojaja
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
สับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตสับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตNuchita Kromkhan
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 

Ähnlich wie Set (20)

Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลายMath Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
Set54 operation
Set54 operationSet54 operation
Set54 operation
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationset
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
Math kit ebook
Math kit ebookMath kit ebook
Math kit ebook
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebook
 
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
การกระทำของเซต
การกระทำของเซตการกระทำของเซต
การกระทำของเซต
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซต
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
สับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตสับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซต
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 

Set

  • 1. เซต(Set) เซต คือลักษณะนามที่เราใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ เช่นกลุ่มของคน สัตว์ กลุ่มของสิ่งของเป็นต้น และสิ่งต่าง ๆ ที่ อยู่ในกลุมว่า สมาชิก ่ ใช้อักษรในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนชื่อเซต อักษรในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก ตัวเลข เขียนสมาชิกของเซต เมื่อเรากล่าวถึงเซต จะต้องกล่าวถึงสมาชิกในเซตซึ่งอาจจะมีหรือ ไม่มีก็ได้ ถ้ามีก็ต้องทราบว่ามีอะไรบ้าง ดังนั้นการเขียนเซตจึง จำาแนกได้ 2 แบบ ตามวิธีการเขียนสมาชิก 1. การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก วิธีการเขียนแบบนี้จะเขียนสมาชิก ของเซตในวงเล็บปีกกา และคั่นเครื่องหมายจุลภาค “ , ” และ A = เซตของวันในหนึงสัปดาห์ ่ A={ จันทร์,อังคาร,พุธ,พฤหัสบดี,ศุกร์,เสาร์,อาทิตย์} 2. การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก วิธีเขียนแบบนี้เรานิยมใช้ตัวแปร x , y ,z แทนสมาชิก หลังจากนั้นใช้เส้นคั่นและต่อจากเส้นคั่นจะเป็นส่วน อธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไขของสมาชิก A = {x x เป็นวันในหนึ่งสัปดาห์} A={ จันทร์,อังคาร,พุธ,พฤหัสบดี,ศุกร์,เสาร์,อาทิตย์} ใช้สัญลักษณ์ “ ” แทนคำาว่า “ เป็นสมาชิกของ” เช่น B = { x x เป็นสระในภาษาอังกฤษ} B={a,e,i,o,u} a ∈A , e ∈ A , i∈A , o∈A , u∈A ชนิดของเซต 1. เซตว่าง (Empty Set ) คือเซตที่ไม่มีสมาชิกเลย ใช้สัญลักษณ์ { } หรือ 2. เซตจำากัด( Finite Set) คือเซตที่สามารถบอกได้ว่า มีสมาชิกเป็นจำานวนเท่าใด 3. เซตอนันต์ (Infinity Set) คือเซตที่ไม่ใช่เซตจำากัด การเท่ากันของเซต
  • 2. เซตสองเซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิก เท่ากันและเหมือนกันตัวต่อตัว A = {x เป็นจำานวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 5} B={1,2,3,4} A=B สับเซต 1. A เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A ต้องอยู่ใน B ใช้สัญลักษณ์ A⊂B = {x x ∈ A → x ∈ B} = ∀x[x ∈ A → x ∈ B] 2. A ไม่ เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกบางตัว ของ A แต่ไม่อยู่ใน B ใช้สัญลักษณ์ A⊄B = {x x ∈ A ∧ x ∉B} = ∃x[x ∈ A ∧ x ∉ B] 3. ถ้า n(A) = k แล้ว จำานวนสับเซตของ A มี = 2k สับเซต จำานวนสับเซตแท้ของ A มี = 2k -1 สับเซต สัญลัก เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย ษณ์ A B เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทน ด้วย A B A = {1, 2} B= A B, A C, A D {2, 3} B A, B C, B D C = {1, 2, 3} D = C A, C B, C D {1, 2, 3, 4} D A, D B, D C 1. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง (A A) 2. เซตว่าง เป็นสับเซตของทุก ๆ เซต ( A) 3. ถ้า A แล้ว A = 4. ถ้า A B และ B C แล้ว A C 5. A = B ก็ต่อเมื่อ A B และ B A เพาเวอร์เซต (Power Set)
  • 3. 1. เพาเวอร์เซต ของเเซต A คือสมาชิกทั้งหมดเป็น สับเซตของ A ใช้สัญลักษณ์ P(A) = {x x ⊂ A } 2. ถ้า A เป็นเซตจำากัด ถ้า n(A) = k แล้ว 1. n[P(A)] = 2k 2. n[P(P(A))] = k 22 3. จำานวนสมาชิกของ P(A) จะอยู่ในลำาดับเรขาคณิต ดังนี้ n(A) 0 1 2 3 4 5 6 ------ ---- n[P( 1 2 4 8 16 32 64 ------ A)] ---- ทฤษฎีเกี่ยวกับเพาเวอร์เซต ถ้า A และ B เป็นเซตจำากัดใด ๆ 1. สมาชิกทุกตัวของเพาเวอร์เซต ต้องเป็นเซต 2. φ ∈P(A) และ P(A) เสมอ 3. A∈P(A) เสมอ แต่ A ไม่จำาเป็นต้องเป็นสับ เซตของ P(A) 4. เมื่อ A∈P(A) ดังนั้น P(A) ∈P(P(A)) 5. เพาเวอร์เซต จะไม่มทางเป็นเซตว่างได้เลย ี นั่นคือ P(A) ≠φ 6. P(φ) = {φ} 7. {A}⊂P(A) เสมอ ดังนั้น {P(A)} ⊂P(P(A)) 8. P(A∩B)=P(A) ∩P(B) 9. ถ้า A⊂B แล้ว P(A) ⊂P(B) การกระทำาของเซต(Operation of Set) คือการนำาเซตหลาย ๆ เซตมากระทำากันเพื่อให้เกิดเซต ใหม่ขึ้นมา ซึ่งมีอยู่ 3 วิธีคือ 1. อินเตอร์เซคชัน(Intersection) ถ้า A และ B เป็นเซตสองเซต อินเตอร์เซคชัน ของ A และ B หมายถึงเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นทังของ A ้ และ B ใช้สัญลักษณ์ A∩B
  • 4. A∩B = {xx ∈ A และ x ∈ B} ตัวอย่าง A={1,2,3}, B={2,3,4} วิธทำา ี A∩B = {2 , 3 } สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย เลอร์ ได้ดังนี้ A B U 1 2 3 4 A∩B = {2 , 3 } 2. ยูเนียน (Union) ถ้า A และ B เป็นเซตสองเซต ของยูเนียน A และ B หมายถึงเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นทังของ A และ B ้ ใช้สัญลักษณ์ A∪B A∪B = {xx ∈ A หรือ x ∈ B} ตัวอย่าง A={1,2,3}, B={2,3,4} วิธทำา ี A∪B = {1 , 2 , 3 ,4 } สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย เลอร์ ได้ดังนี้ A B U 1 2 3 4 A∪B = {1 , 2 , 3 , 4 } 3. ผลต่างและคอมพลีเม้นต์(Difference and Complement) ถ้า A และ B เป็นเซตสองเซต เซตที่ประกอบ ด้วยสมาชิกที่เป็นทั้งของ A แต่ไม่เป็นสมาชิกของ B ใช้ สัญลักษณ์ A - B A - B = {xx ∈ A แต่ x ∉ B} ตัวอย่าง A={1,2,3}, B={2,3,4} วิธทำา ี A - B = {1 , 2 , 3 }
  • 5. B–A={4} สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย เลอร์ ได้ดังนี้ A B U 1 2 3 4 A- B = {1 , 2 , 3 } และ B – A ={ 4 } ในทำานองเดียวกัน ถ้าเราจะหา U – A จะได้ U={1,2 , 3,4,5,6} A = {2,4,6} U–A={1,3,5} U - A = {xx ∈ U แต่ x ∉ A} A’ หรือ Ac แทน U – A ดังนั้น A’ = Ac {xx ∉ A} U A 2,4, 1 , 3 6 5 , A’ = Ac {xx ∉ A} และ A’ = { 1 , 3,5} การพิจารณาเกี่ยวกับเซตจะง่ายขึ้น ถ้าเราใช้ แผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์ เข้ามาช่วย หลักการเขียน แผนภาพมีดังนี้ 1. ใช้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนเอกภพ สัมพัทธ์ 2. ใช้วงกลมหรือวงรีหรือรูปปิดใด ๆ แทนเซตต่าง ๆ ที่เป็น สมาชิกของ และเขียนภายในสี่เหลี่ยมผืนผ้า
  • 6. เป็นเอกภพสัมพัทธ์ A เป็นสับเซตของ เซต A และ B เป็นสับเซต เซต A และ B เป็นสับเซตของ ของ โดยที่ A และ B ไม่มี โดยที่ A และ B มีสมาชิกบาง สมาชิกร่วมกัน ตัวร่วมกัน เซต A เป็นสับเซตของ B เซต A = B จำานวนสมาชิกของเซต หาได้จาก 1. n(A∪B)=n(A)+n(B)-n(A∩B) 2. n(A∪B∪C)= (A)+n(B)+n(C) - n(A∩B)- n(B∩C)- n(A∩C)+n(A ∩B ∩C) ตัวอย่างที่ ١ ถ้า n(A∩B) มีสมาชิก ٣ ตัว (A∪B) มีสมาชิก ٥ ตัว A และ B มีสมาชิกเท่ากัน A-B มีสมาชิก ١ ตัว วิธทำา ๊ จาก n(A∪B)=n(A)+n(B)-n(A∩B) แทนค่า ٥ = n(A)+n(B)-3 8 = 2n(A) ; เนื่องจาก n(A) = n(B) 8 2 = n(A) 4 = n(A) สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย เลอร์ ได้ดังนี้ A B U 1 2 3 5 4
  • 7. A = {1,2,3,4} B = {2,3,4,5} A∪B = {1,2,3,4,5} A∩B = {2,3,4} A - B = {1} B - A = {5} ตัวอย่างที่ ٢ ครอบครัวหนึงระหว่างที่ไปพักตากอากาศชายทะเล ่ บางแสนมีฝนตก 13 วัน ถ้าฝนตก ตอนเช้าตอนบ่าย อากาศแจ่มใส แต่ถาฝนตก ้ ตอนบ่าย ตอนเช้าอากาศแจ่มใส ถ้า ระหว่างที่พักตากอากาศ อยู่ นั้นมีอากาศแจ่มใส ตอนเช้า 11 วัน และตอนบ่ายแจ่มใส 12 วัน อยากทราบว่าครอบครัวนี้ไปพักตากอากาศ กี่วัน วิธทำา ี กำาหนด A แทนตอนเช้าอากาศแจ่มใส B แทนตอนบ่ายอากาศแจ่มใส x แทนอากาศแจ่มใสตลอดทั้งวัน จาก n(A∪B)=n(A)+n(B)-n(A∩B) 13 = (11-x)+ (12-x) 13 = 23 –2x 2x = 23-13 10 x = 2 = 5 ดังนั้นจำานวนวันที่ไปพักตากอากาศ 13+5 = 18 วัน U A B 11-x x 12-x
  • 8. ตัวอย่างที่ 3 นักเรียนโรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งมีจำานวน ٣٠٠ คน เลือกเข้าชุมนุมดังนี้ ١٥٠ คน เลือกคอมพิวเตอร์ ٢٠٦ คน เลือกคณิตศาสตร์ ٨٠ คน เลือกภาษาอังกฤษ ٧٤ คนเลือก คอมพิวเตอร์และคณิตศาสตร์ ٣٢ คนเลือก คอมพิวเตอร์และภาษาอังกฤษ ٢٠ คนเลือกทั้ง ٣ วิชา จงหา จำานวนนักเรียนที่เลือกเรียนวิชาเดียว นักเรียนที่ เลือกคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษแต่ไม่เลือกคอมพิวเตอร์ วิธทำา ี กำาหนด C แทน เลือกคอมพิวเตอร์ ١٥٠ คน M แทนเลือก เลือกคณิตศาสตร์ ٢ ٠٦ คน E แทนเลือกภาษาอังกฤษ ٨٠ คน n(C∩M) แทน เลือก คอมพิวเตอร์ และคณิตศาสตร์ ٧٤ คน n(C∩E) เลือก คอมพิวเตอร์และภาษาอังกฤษ ٣ ٢ คน n(C∩M∩E) เลือกทัง ٣ วิชา ٢٠ คน ้ n(M∩E) = ? จาก n(C∪M∪E)= n(C)+n(M)+n(E) - n(C∩M)- n(C∩E)- n(M∩E)+n(C ∩M ∩E) แทนค่า ٣٠٠ = 150+206+80-74-32- n(M∩E) +20 n(M∩E) = 456-300-74-32 n(M∩E) = 50 สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ - ออย เลอร์ ได้ดังนี้ C U 6 M 4 5 12 42 82 0 x 18 E
  • 9. ***นักเรียนที่เลือกเรียน คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษแต่ไม่ เลือกคอมพิวเตอร์ 20+x = 50 x = 30 ***นักเรียนที่เลือกเรียน เพียง 1 วิชา 82+18+64 =164 คน แบบฝึกหัด 1. จากการสอบถามนักเรียนคอมพิวเตอร์สอวน. จำานวน 20 คน พบว่า ชอบดื่มชาเชียวน้อยกว่าสองเท่าของจำานวนผูที่ชอบดื่มนำ้า ้ อัดลม 7 คน จำานวนที่ชอบทั้งชาเขียวและนำ้าอัดลม เท่ากับ จำานวนผู้ที่ไม่ชอบชาเขียวและนำ้าอัดลม จงหาจำานวนผู้ที่ชอบชา เขียว ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ……. ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… …