SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 60
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ขอบเขตของการวิจัย
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก สาขาเทคโนโลยี
มัลติมีเดีย จานวน 74 คน
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
ตัวแปรต้น คือ รูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุ
วัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล
ตัวแปรตาม คือ สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุ
วัฒนธรรม
หลักสูตร
กระบวนการ
ประชาสัมพันธ์
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม
1. การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 2. การร่างหลักสูตร
3. การกาหนดจุดมุ่งหมาย 4. การกาหนดเนื้อหาสาระ
5. การกาหนดประสบการเรียนรู้ 6. การกาหนดวิธีการวัดและ
ประเมินผล
7. การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร 8. การทดลองใช้หลักสูตร
9. การประเมินหลักสูตร
สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์
สมรรถนะดิจิทัล
สมรรถนะ
พหุวัฒนะธรรม
สมรรถนะ
นักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรม
รูปแบบการฝึกอบรมฐานสมรรถนะ
ผลการประเมินสมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรม
สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์
สมรรถนะบุคคล
[9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [16]
Knowled
ge
Skill
Attribute
1. มีความรู้ความสามารถในงานประชาสัมพันธ์อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่      
2. มีความรู้เกี่ยวกับนโยบาย และแผนบริหารงานองค์กร และข้อบังคับในการปฏิบัติงาน       
3. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม       
4. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาเหมาะสมแก่การปฏิบัติหน้าที่         
5. มีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยและประเมินผล       
6. มีความรู้ทั่วไปเรื่องชุมชน        
7. มีการจัดทาแผนประชาสัมพันธ์ในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวขององค์กร        
8 ติดตามและประเมินผลการให้คาแนะนาเพื่อนามาปรับปรุงแนวทางการในการปฎิบัติงาน      
ทักษะ
9. มีทักษะการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์       
10. มีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร     
11. มีทักษะการดาเนินการด้านสื่อมวลชนสัมพันธ์        
12. รับฟัง และเข้าใจถึงสภาพปัญหา และให้คาปรึกษาเป็นอย่างดี         
13. มีทักษะในการใช้สื่อสังคมออนไลน์        
14. ทักษะการเขียนหนังสือราชการ       
15. มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติหน้าที่      
16. มีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศ      
17. มีความสามารถในการติดต่อประสานงานทั้งภายในภายนอก เพื่อให้เกิดความร่วมมือ     
18. สามารถชี้แจงให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง เพื่อสร้างความเข้าใจในการ
ดาเนินงาน
       
19. มีความสามารถในการจับกระแสความคิดของสังคม การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายของรัฐ       
20.จัดกิจกรรมตามโครงการประชาสัมพันธ์ทั้งในและต่างประเทศ       
21.มีความสามารถในการออกแบบ จัดทาและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อ         
Attribute ทัศนคติ
22. มีการเตรียมพร้อมอยู่เสมอ ในการรับมือกับวิกฤตการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นทั้งภายใน และ
ภายนอก
    
23. สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เพื่อจะสามารถเรียนรู้ความรู้สึก
ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
     
24. ให้บริการข้อมูลประชาชนและหน่วยงานอื่น ให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง      
25 . มีความสนใจใฝ่รู้ แสวงหาความรู้ใหม่ เพื่อให้งานที่สร้างสรรค์ออกมีความแปลกใหม่ เป็นที่
ต้องการและเป็นที่ยอมรับของสังคม
     
26. ประพฤติตนในทางที่ชอบธรรมต่อลูกค้าหรือองค์กร        
27. ต้องยึดมั่นในมาตรฐานจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการประชาสัมพันธ์เพื่อประโยชน์ของ
สาธารณชน
      
28. ต้องไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดที่ มีผลประโยชน์ขัดกันหรือแข่งขัน        
29. ต้องไม่ปฏิบัติตนในทางทุจริตต่อภาพลักษณ์ที่ดีขององค์การ และทาให้เกิดปัญหาในการ
สื่อสารกับสาธารณชน
      
30.ต้องระบุให้สาธารณชนทราบถึงแหล่งที่มาของข้อมูลข่าวสารที่รับผิดชอบ         
31.ต้องไม่จงใจที่จะเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาดหรือชี้นาให้เกิดความเข้าใจผิดต่อองค์การ  
32. ต้องมีความยุติธรรมเป็นกลาง ไม่เกี่ยวข้องกับองค์การใดๆ องค์กรหนึ่งที่จะทาให้องค์กร
เสื่อมเสีย
       
34 มีความน่าเชื่อถือ เป็นภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร     
สมรรถนะดิจิทัล [17] [18] [19] [20] [21] [22] [23] [24]
1. Digital Communication การสื่อสารดิจิทัล
1.1 สื่อสารการแสดงออกที่สร้างสรรค์ Communicate creative expression      
1.2 ความรู้ทั่วไปและทักษะการทางาน General knowledge and work skills      
1.3 ทักษะการสื่อสารใช้ในชีวิตประจาวัน Communication skills used in daily life        
1.4 การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ Creative expression      
1.5 มีความเข้าใจและตระหนักถึงบทบาทของ ICT ในสังคม      
1.6 การตัดสินใจอย่างชาญฉลาดเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม    
1.7 การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล     
1.8 การพัฒนาทักษะการอ่านการเขียนการคิดเลขและการพูด      
1.9 สามารถสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศหรือ ภาษาในประเทศอาเซียน       
1.10 ใช้สิ่ดิจิทัลเพื่อการทางานร่วมกัน     
2. Data Management & Preservation การจัดการและการเก็บรักษาข้อมูล
2.1 ความปลอดภัยด้านกฎหมาย      
2.2 การใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย (IT security)      
2.3 ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัย        
2.4 การรับรู้ถึงความปลอดภัยไซเบอร์      
2.5 การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ได้อย่างสร้างสรรค์      
3. Data Analysis & Presentation การวิเคราะห์และการนาเสนอข้อมูล
3.1 นาเสนอพื้นที่ความสามารถแบบดิจิทัล      
3.2 การทางานร่วมกันแบบออนไลน์ (online collaboration)     
3.3 การใช้โปรแกรมนาเสนอ      
3.4 การประมวลผลและการจัดการข้อมูล     
3.5 การประเมินและติดตามความสามารถทางดิจิตอล     
4. Critical making design & development การออกแบบและการพัฒนา
4.1 การใช้โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล (web editing)      
4.2 การสื่อสารและการทางานร่วมกันทางเทคโนโลยี      
4.3 สามารถแก้ปัญหาทางเทคนิคควบคู่กับการใช้คู่มือ     
4.4 สามารถพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆ     
4.5 สามารถผลิตสื่อดิจิทัล เช่นกราฟิก คลิปวิดิ์โอหรือคลิปเสียง และการบันทึกภาพ หน้าจอ      
5. Digital Survival skills ทักษะดิจิตอล
5.1 การใช้งานคอมพิวเตอร์      
5.2 การใช้งานอินเทอร์เน็ต     
5.3 สามารถติดตั้งและใช้ซอฟต์แวร์ รวมถึงแอพลิเคชั่นที่เป็นประโยชน์บนอุปกรณ์     
5.4 ส่วนตัวทั้งโทรศัพท์มือถือหรือแท็บเล็ต      
5.5 การทางานกับซอฟต์แวร์สานักงานและฐานข้อมูล      
5.6 ทักษะการใช้งาน Microsoft Office      
5.7 สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ได้อย่างมั่นใจ รวมทั้งเครื่องมือสาหรับการอ้างอิง การผลิตงาน
นาเสนอ
    
สมรรถนะพหุวัฒนธรรม [25] [26] [27] [9]
1 การให้ความร่วมมือกับกิจกรรมของสังคม หรือชุมชน   
2. ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสังคม   
3. ผู้นาชุมชนคือตัวขับเคลื่อนในสังคม  
4. มีผู้นาชุมชนที่เข้มแข็ง และสื่อสารกับชุมชนได้เข้าใจ  
5. การรักษาความสัมพันธ์ในความแตกต่างระหว่างศาสนา    
6. สังคมต้องมีความยุติธรรม ประนีประนอม  
7. การเป็นหนึ่งเดียวกันของเชื้อชาติ/ชนชาติและเน้นการหลอมรวมให้ทุกคนมี
วัฒนธรรมเดียวกัน
 
8. ต้องการส่งเสริมใสใจ อย่างเท่าเทียม 
9. การมีส่วนร่วมในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน   
10. ต้องสร้างความน่าที่น่าเชื่อถือในสังคม   
11. สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น .ในการทางาน
ร่วมกัน
   
12. ให้บริการข้อมูลประชาชนและหน่วยงานอื่น ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ
อย่างถูกต้อง
  
13.ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนงานของชุมขนองค์กร    
14. มีการสร้างเครือข่ายสังคม เพื่อให้เกิดความร่วมมือของประชาคมใน
ประเทศ และต่างประเทศ
 
15. มีสร้างความสัมพันธ์ในการดาเนินกิจกรรมของชุมชน  
16. ต้องมีการชี้แจงให้รายละเอียดข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อสร้างความเข้าใจความ
กัน

17. ทุกคนต้องสามารถทางานร่วมกันได้ เข้าใจความรู้สึกคนในสังคม  
สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล
พหุวัฒนธรรมพหุวัฒนธรรม
Competency for Digital Public Relation
สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์Competency for Digital Public Relation สมรรถนะดิจิทัลCompetency for Digital
สมรรถนะพหุวัฒนธรรมMulticultural
Competency
[9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [17] [18 [19] [20] [21] [22] [23] [24] [25] [26] [27] [9]
สมรรถนะการสร้างการมีส่วนร่วมดิจิทัล (Participator)
1. การมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนประชาสัมพันธ์ดิจิทัลขององค์กร               
2. การมีส่วนร่วมในการสื่อสารวิสัยทัศน์ พันธกิจและนโยบาย ขององค์กรดิจิทัล             
3. มีความสามารถในการทางานร่วมกันเป็นทีม ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การมี
ปฏิสัมพันธ์ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
               
4. การมีส่วนร่วมในการรับมือและจัดการสื่อสารในภาวะวิกฤต           
5. การมีส่วนร่วมในการสร้างความสัมพันธ์กับสมาชิกประชาคมขององค์กรดิจิทัล          
6. การมีส่วนร่วมในการสร้างเครือข่ายในประเทศ และต่างประเทศ เพื่อให้เกิดความ
ร่วมมือ
             
7. มีความสามารถมีส่วนร่วมในฐานะพลเมืองไทยและสามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมไทย
สู่สากล
             
สมรรถนะด้านการเผยแพร่ (Disseminator)
1. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมกับการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์              
2. มีความสามารถในการเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ดิจิทัลเพื่อเผยแพร่           
3. มีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารเพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ดิจิทัล    
4 มีความสามารถในการใช้สื่อดิจิทัลเป็น เครื่องมือสาหรับการติดต่อสื่อสาร          
5. มีความสามารถในการออกแบบ จัดทาและผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการเผยแพร่             
6. มีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการเผยแพร่ข้อมูลได้อย่างเหมะสม            
7 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ในการนาเสนอข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง
เที่ยงตรง และเป็นกลาง
สมรรถนะด้านการอานวยความสะดวก (Facilitator)
1. สามารถประชาสัมพันธ์แนะนาข้อมูลด้านต่างๆผ่านสื่อดิจิทัล    
2. ใช้คอมพิวเตอร์ในการช่วยเหลือในกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติ
หน้าที่
           
3. ให้บริการข้อมูลประชาชนและหน่วยงานอื่น ให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง            
4. สามารถชี้แจงให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง เพื่อสร้างความเข้าใจในการ
ดาเนินงาน
        
5. สามารถสื่อสารการใช้ภาษาต่างประเทศ เพื่อช่วยเหลือในการให้ข้อมูล             
6 ให้ความช่วยเหลือ หรือในการฝึกเกี่ยวกับเทคนิคต่างๆในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยี
ดิจืทัล แก่บุคคล หรือหน่วยงาน
              
7. ในการประชาสัมพันธ์แนะนาข้อมูลด้านต่างๆ ผ่านสื่อดิจิทัล ควรอานวยความสะดวก
แก่บุคคลทุพพลภาพ คนชรา และเด็ก
              
สมรรถนะด้านการให้คาปรึกษา (Advisor)
1. มีทักษะในการให้คาปรึกษา และการวิเคราะห์ผู้รับสารในงานสื่อสารมวลชน            
2. สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เพื่อจะสามารถเรียนรู้
ความรู้สึก ความต้องการของสังคมกลุ่มเป้าหมาย
        
3. มีความน่าเชื่อถือ เป็นภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรในระบบองค์กรดิจิทัล        
4. มีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยและประเมินผลเพื่อนามาปรับปรุงแนวทางการให้
คาปรึกษาสามารถนนาไปปฏิบัติได้
          
5.มีความรู้ในการสื่อสารในงานสื่อสารมวลชนเพื่อการโน้มน้าวใจ           
6. มีการสร้างความสัมพันธ์ในการดาเนินงานกับสาธารชน และสื่อมวลชนสัมพันธ์               
7. มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และความกระตือรือร้น ความเชื่อมั่นในตนเอง กล้า
ตัดสินใจ และมีความมุ่งมั่นในการทางาน
              
1. สารวจและ
การกาหนด
ปัญหา
สารวจ
ปัญหา
การคัดเลือก
ปัญหา
2. การวางแผน
และการกาหนด
แผน
การวางแผน
การแกไข
ปัญหา
วางแผนและ
การพัฒนา
3. การเลือก
ข้อความและ
เครื่องมือ
การเลือก
ประเด็นการ
สื่อสาร
การเลือก
รูปแบบการ
PR
4. การปฏิบัติ
และการสื่อสาร
การพัฒนา
สื่อ PR
การเลือก
ช่องทางการ
PR
5. การ
ประเมินผลและ
การปฏิบัติงาน
การ
ประเมินผล
งาน
การ
ประเมินผล
สมรรถนะ
ҧ
𝑥
ҧ
𝑥
ҧ
𝑥 ҧ
𝑥 ҧ
𝑥 ҧ
𝑥 ҧ
𝑥
สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรม
เริ่มต้นโดยการสังเคราะห์คา 3 คามาผสมกัน ได้แก่
สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ สมรรถนะดิจิทัล สมรรถนะ
พหุวัฒนธรรม สังเคราะห์ทีละคาสาคัญแล้วนามาผนวก
รวมกันจนเกิดเป็นสมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล
ประกอบด้วย 4 สมรรถนะ 1) สมรรถนะด้านการสร้าง
การมีส่วนร่วมดิจิทัล ด้านที่ 2) สมรรถนะด้านการ
เผยแพร่ ด้านที่ 3) สมรรถนะด้านการอานวยความ
สะดวก และด้านที่ 4) สมรรถนะด้านการให้คาปรึกษา
และในแต่ละสมรรถนะหลักก็จะมีสมรรถนะย่อย มี
ทั้งหมด 28 สมรรถนะ
ผลการวิเคราะห์สังเคราะห์กระบวนการ
ประชาสัมพันธ์ดิจิทัล มีกระบวนการของการฝึกอบรม
5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสารวจและการกาหนดปัญหา 2)
การวางแผนและการกาหนดแผน 3) การเลือกเนื้อหา
และเครื่องมือ 4) การปฏิบัติและการสื่อสาร และ 5) การ
ประเมินผลงานและการปฏิบัติ
1. การสารวจและการกาหนดปัญหา การสารวจและกาหนดปัญหาเชิงรุก การประมวลข้อมูล
เกี่ยวกับสถาบัน หน่วยงาน ทั้งในแง่ความรู้ ความคิดเห็น ทัศนคติ และพฤติกรรม ที่เป็นผล
มาจากนโยบายและการดาเนินงานของสถาบัน โดยมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า ให้สอดคล้อง
กับนโยบายขององค์กร และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในยุคดิจิทัล
2. การวางแผนและการกาหนดแผน การวางแผนและกาหนดแผนงานการปฏิบัติเชิงรุก การ
ลงมือปฏิบัติและทาการสื่อสารตามที่วางแผนและกาหนดไว้แล้ว ในขั้นตอนที่สอง เพื่อให้
บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ และตรงตามแผนการปฏิบัติงานตามนโยบายการใช้
เทคโนโลยีสื่อดิจิทัล
3. การเลือกเนื้อหาและเครื่องมือ การเลือกเนื้อหาและเครื่องมือ (Select Content & Tool)
หลังจากที่วางแผนเสร็จทาการเลือกเนื้อหาที่ได้จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์และตรวจทวน
พร้อมเลือกเครื่องมือที่จะใช้จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์และเลือกช่องทางในการประชาสัมพันธ์
4. การปฏิบัติและการสื่อสาร การปฏิบัติการและการสื่อสารเชิงรุกผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล การ
ลงมือปฏิบัติและทาการสื่อสารตามที่วางแผนและกาหนดไว้แล้วในขั้นตอนที่สอง เพื่อให้
บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน และ
5. การประเมินผลงานและการปฏิบัติ การประเมินผลการปฏิบัติงานเชิงรุก การตัดสินผลการ
ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ รวมทั้งประเมินประสิทธิผลของ การเตรียมแผนงานและการ
สนับสนุน แผนงานโดยการสารวจผลและความคิดเห็น จากกลุ่มประชาชน เป้าหมาย
โดยตรง จากผู้ที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในสื่อออนไลน์
รูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนัก
ประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ที่พัฒนาขึ้นมีกระบวนการของการฝึกอบรม
5 ขั้นตอน ได้แก่
1) การสารวจและการกาหนดปัญหา
2) การวางแผนและการกาหนดแผน
3) การเลือกข้อความและเครื่องมือ
4) การปฏิบัติและการสื่อสาร
5) การประเมินผลงานและการปฏิบัติ ซึ่งการจัดกิจกรรม
ฝึกอบรมนั้นเป็นการจัดฝึกอบรมเป็นออนไลน์ดังนั้นจึงมีนา
เทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ มาใช้จัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เข้า
อบรมเกิดสมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ซึ่ง
กระบวนการขับเคลื่อนการจัดการฝึกอบรม เครื่องมือที่ใช้
ในการอบรม
ความเหมาะสมของรูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุ
วัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล แบ่งการประเมิน
ออกเป็น 3 ด้าน เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสม ได้แก่
ด้านที่ 1 ด้านกระบวนการฝึกอบรมตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ด้านที่ 2
ด้านเครื่องมือเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการฝึกอบรม และด้านที่ 3
ด้านสมรรถนะที่ใช้ในการประเมินผลหรือสมรรถนะนัก
ประชาสัมพันธ์ดิจิทัลทั้ง 3 ด้าน มีผลการประเมินอยู่ในระดับ
เหมาะสม ซึ่งแสดงให้เห็นว่ารูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุ
วัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นนั้นมี
ความเหมาะสาหรับการนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะ
ของนักประชาสัมพันธ์เพื่อต่อยอดให้บุคคลเหล่านั้นกลายเป็นนัก
ประชาสัมพันธ์ดิจิทัลต่อไป
หลักสูตรฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนัก
ประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นโดยมีความสอดคล้องกับ
รูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนัก
ประชาสัมพันธ์ดิจิทัล หลังจากที่ออกแบบหลักสูตรผู้วิจัยได้นาไป
ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ปรากฎว่ากลุ่มตัวอย่างให้ความสนใจและ
ติดตามการฝึกอบรมตั้งแต่กระบวนการแรกจนถึงกระบวนการ
สุดท้าย แต่ก็จะมีบางคนที่เข้าร่วมในแต่ละกระบวนไม่จบ
กระบวนการ ซึ่งเกิดจากความไม่พร้อมของเครื่องมือที่ใช้ในการเข้า
ร่วมฝึกอบรมนั้นไม่พร้อมต่อการ อันได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์
สัญญาณอินเทอร์เน็ต เป็นต้น แต่ในภาพรวมนั้นกลุ่มตัวอย่างหรือ
ผู้เรียนมีเสียงสะท้อนกลับมาว่าเป็นกิจกรรมที่ดี และน่าใจ สามารถ
นาไปใช้งานได้จริงและเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนและการทางาน
สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรมของนัก
ประชาสัมพันธ์ที่อบรมโดยใช้รูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรม
ผู้วิจัยได้แบ่งการประเมินสมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรม
ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 ด้านความรู้ ผู้วิจัยได้วัดความรู้ของกลุ่มตัวอย่าง
ก่อนเรียนและหลังเรียนปรากฎว่าภาพรวมการประเมินความด้านความอยู่กลุ่ม
ตัวอย่างมีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม ด้านที่ 2 ด้านทักษะ
ผู้วิจัยได้ตั้งเกณฑ์การประเมินขึ้นพร้อมกับให้กลุ่มตัวอย่างฝึกทักษะการ
ปฏิบัติงานจริงซึ่งหลังการจัดการอบรมตามหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น ปรากฎว่ากลุ่ม
ตัวอย่างมีทักษะการเป็นนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรมในภาพรวมอยู่ใน
ระดับดีมาก และด้านที่ 3 ด้านทัศนคติ ผู้วิจัยได้ให้กลุ่มตัวอย่างแสดงความ
คิดเห็นต่อหลักสูตรที่ได้พัฒนาขึ้น ซึ่งวัดประดับทัศนคติ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้
ถ่ายทอดความรู้ ด้านเนื้อหา ด้านรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ ด้านการจัด
กิจกรรม และด้านการนาความรู้และทักษะไปใช้ในการปฏิบัติงาน ในภาพรวม
นั้นกลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติอยู่ในระดับดีมาก ซึ่งเราอาจจะสรุปได้ว่า กลุ่มตัวอย่าง
ชอบการจัดการอบรมออนไลน์ที่มีการดาเนินกิจกรรมตามรูปแบบฝึกอบรมฐาน
สมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล
ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาผลการใช้การพัฒนารูปแบบ
ฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลที่
พัฒนาขึ้นกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาเท่านั้น ซึ่งจากการนารูปแบบที่
พัฒนาขึ้นไปทดลองจริง เกิดความสนใจในกลุ่มอื่นด้วย เช่น กลุ่มอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัย และองค์กรต่าง ๆ จึงเสนอแนะให้ผู้ที่จะทาวิจัยในครั้งต่อได้
พิจารณาและนารูปแบบไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างอื่นด้วย
ในการจัดฝึกอบรมรูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับ
นักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ได้มีการนาเครื่องมือเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน
กระบวนการต่าง ๆ ซึ่งมีหลายเครื่องมือที่ได้นาเสนอไว้ หากผู้ที่สนใจทาการวิจัย
ในครั้งถัดไปอาจจะใช้เครื่องมืออื่นนอกเหนือจากที่ผู้วัยได้นาเสนอไว้ก็สามารถ
ทาได้ ซึ่งควรพิจารณาถือความเหมาะสมหรือพิจารณาทรัพยากรของหน่วยงาน
หรือส่วนตัวที่มีอยู่และสามารถนามาใช้ได้























Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
Phanudet Senounjan
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
Winthai Booloo
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
Ariaty KiKi Sang
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
poms0077
 

Was ist angesagt? (20)

สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
02 การทำโครงงานอย่างง่าย
02 การทำโครงงานอย่างง่าย02 การทำโครงงานอย่างง่าย
02 การทำโครงงานอย่างง่าย
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
แบบโครงการท่องเที่ยว
แบบโครงการท่องเที่ยวแบบโครงการท่องเที่ยว
แบบโครงการท่องเที่ยว
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
 
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพยสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีวศึกษา#1
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีวศึกษา#1เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีวศึกษา#1
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีวศึกษา#1
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 

Ähnlich wie การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์

Digital final pres
Digital final presDigital final pres
Digital final pres
cheriser
 
Design-Research-for-Media-Development
Design-Research-for-Media-DevelopmentDesign-Research-for-Media-Development
Design-Research-for-Media-Development
Amanda noonan
 
Talkabout Social Media
Talkabout Social MediaTalkabout Social Media
Talkabout Social Media
Daniel Graham
 

Ähnlich wie การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์ (20)

What Are Some Approaches For Researchers Using Social Media For Research, Com...
What Are Some Approaches For Researchers Using Social Media For Research, Com...What Are Some Approaches For Researchers Using Social Media For Research, Com...
What Are Some Approaches For Researchers Using Social Media For Research, Com...
 
Mastery journey timeline Javier Montiel Instructional Design and Technology. ...
Mastery journey timeline Javier Montiel Instructional Design and Technology. ...Mastery journey timeline Javier Montiel Instructional Design and Technology. ...
Mastery journey timeline Javier Montiel Instructional Design and Technology. ...
 
Digital final pres
Digital final presDigital final pres
Digital final pres
 
Digital final pres
Digital final presDigital final pres
Digital final pres
 
Ppt it
Ppt itPpt it
Ppt it
 
PPT NANI
PPT NANI PPT NANI
PPT NANI
 
PPT NANI
PPT NANI PPT NANI
PPT NANI
 
ULearn08
ULearn08ULearn08
ULearn08
 
6 unit-3
6 unit-36 unit-3
6 unit-3
 
Design-Research-for-Media-Development
Design-Research-for-Media-DevelopmentDesign-Research-for-Media-Development
Design-Research-for-Media-Development
 
Communications strategy and social media for reseachers
Communications strategy and social media for reseachersCommunications strategy and social media for reseachers
Communications strategy and social media for reseachers
 
The 21st century digital learner.pptx(anna)
The 21st century digital learner.pptx(anna)The 21st century digital learner.pptx(anna)
The 21st century digital learner.pptx(anna)
 
Developing a Social Media Strategy for Children's Mental Health
Developing a Social Media Strategy for Children's Mental HealthDeveloping a Social Media Strategy for Children's Mental Health
Developing a Social Media Strategy for Children's Mental Health
 
Building capacity to communicate
Building capacity to communicateBuilding capacity to communicate
Building capacity to communicate
 
Digital Competences Guitert. Digital Empowerment
Digital Competences Guitert. Digital Empowerment Digital Competences Guitert. Digital Empowerment
Digital Competences Guitert. Digital Empowerment
 
Social media, PR. & Google Glass Guest Lecture [Fall 2013]
Social media, PR. & Google Glass Guest Lecture [Fall 2013]Social media, PR. & Google Glass Guest Lecture [Fall 2013]
Social media, PR. & Google Glass Guest Lecture [Fall 2013]
 
Leveraging Apps, Social Media, and Your Digital Reputation for Professional S...
Leveraging Apps, Social Media, and Your Digital Reputation for Professional S...Leveraging Apps, Social Media, and Your Digital Reputation for Professional S...
Leveraging Apps, Social Media, and Your Digital Reputation for Professional S...
 
Integration of social tools in the curriculum
Integration of social tools in the curriculumIntegration of social tools in the curriculum
Integration of social tools in the curriculum
 
Talkabout Social Media
Talkabout Social MediaTalkabout Social Media
Talkabout Social Media
 
Snss & PR Professionals: A Case Study of Facebook PR Groups as a Tool for Bui...
Snss & PR Professionals: A Case Study of Facebook PR Groups as a Tool for Bui...Snss & PR Professionals: A Case Study of Facebook PR Groups as a Tool for Bui...
Snss & PR Professionals: A Case Study of Facebook PR Groups as a Tool for Bui...
 

Mehr von Prachyanun Nilsook

เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
Prachyanun Nilsook
 

Mehr von Prachyanun Nilsook (20)

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 

Kürzlich hochgeladen

Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
PECB
 
Gardella_Mateo_IntellectualProperty.pdf.
Gardella_Mateo_IntellectualProperty.pdf.Gardella_Mateo_IntellectualProperty.pdf.
Gardella_Mateo_IntellectualProperty.pdf.
MateoGardella
 
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdf
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdfActivity 01 - Artificial Culture (1).pdf
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdf
ciinovamais
 

Kürzlich hochgeladen (20)

Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"
Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"
Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"
 
Measures of Central Tendency: Mean, Median and Mode
Measures of Central Tendency: Mean, Median and ModeMeasures of Central Tendency: Mean, Median and Mode
Measures of Central Tendency: Mean, Median and Mode
 
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
 
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
 
Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...
Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...
Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...
 
Unit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptx
Unit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptxUnit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptx
Unit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptx
 
Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"
Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"
Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"
 
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsIntroduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
 
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptxINDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
 
APM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across Sectors
APM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across SectorsAPM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across Sectors
APM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across Sectors
 
Paris 2024 Olympic Geographies - an activity
Paris 2024 Olympic Geographies - an activityParis 2024 Olympic Geographies - an activity
Paris 2024 Olympic Geographies - an activity
 
SECOND SEMESTER TOPIC COVERAGE SY 2023-2024 Trends, Networks, and Critical Th...
SECOND SEMESTER TOPIC COVERAGE SY 2023-2024 Trends, Networks, and Critical Th...SECOND SEMESTER TOPIC COVERAGE SY 2023-2024 Trends, Networks, and Critical Th...
SECOND SEMESTER TOPIC COVERAGE SY 2023-2024 Trends, Networks, and Critical Th...
 
How to Give a Domain for a Field in Odoo 17
How to Give a Domain for a Field in Odoo 17How to Give a Domain for a Field in Odoo 17
How to Give a Domain for a Field in Odoo 17
 
microwave assisted reaction. General introduction
microwave assisted reaction. General introductionmicrowave assisted reaction. General introduction
microwave assisted reaction. General introduction
 
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfWeb & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
 
Accessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impactAccessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impact
 
Gardella_Mateo_IntellectualProperty.pdf.
Gardella_Mateo_IntellectualProperty.pdf.Gardella_Mateo_IntellectualProperty.pdf.
Gardella_Mateo_IntellectualProperty.pdf.
 
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdf
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdfActivity 01 - Artificial Culture (1).pdf
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdf
 
Key note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdf
Key note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdfKey note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdf
Key note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdf
 
Unit-IV- Pharma. Marketing Channels.pptx
Unit-IV- Pharma. Marketing Channels.pptxUnit-IV- Pharma. Marketing Channels.pptx
Unit-IV- Pharma. Marketing Channels.pptx
 

การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก สาขาเทคโนโลยี มัลติมีเดีย จานวน 74 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรต้น คือ รูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุ วัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ตัวแปรตาม คือ สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุ วัฒนธรรม
  • 7. หลักสูตร กระบวนการ ประชาสัมพันธ์ กระบวนการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม 1. การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 2. การร่างหลักสูตร 3. การกาหนดจุดมุ่งหมาย 4. การกาหนดเนื้อหาสาระ 5. การกาหนดประสบการเรียนรู้ 6. การกาหนดวิธีการวัดและ ประเมินผล 7. การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร 8. การทดลองใช้หลักสูตร 9. การประเมินหลักสูตร สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ สมรรถนะดิจิทัล สมรรถนะ พหุวัฒนะธรรม สมรรถนะ นักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรม รูปแบบการฝึกอบรมฐานสมรรถนะ ผลการประเมินสมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรม
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ สมรรถนะบุคคล [9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [16] Knowled ge Skill Attribute 1. มีความรู้ความสามารถในงานประชาสัมพันธ์อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่       2. มีความรู้เกี่ยวกับนโยบาย และแผนบริหารงานองค์กร และข้อบังคับในการปฏิบัติงาน        3. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม        4. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาเหมาะสมแก่การปฏิบัติหน้าที่          5. มีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยและประเมินผล        6. มีความรู้ทั่วไปเรื่องชุมชน         7. มีการจัดทาแผนประชาสัมพันธ์ในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวขององค์กร         8 ติดตามและประเมินผลการให้คาแนะนาเพื่อนามาปรับปรุงแนวทางการในการปฎิบัติงาน       ทักษะ 9. มีทักษะการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์        10. มีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร      11. มีทักษะการดาเนินการด้านสื่อมวลชนสัมพันธ์         12. รับฟัง และเข้าใจถึงสภาพปัญหา และให้คาปรึกษาเป็นอย่างดี          13. มีทักษะในการใช้สื่อสังคมออนไลน์         14. ทักษะการเขียนหนังสือราชการ        15. มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติหน้าที่       16. มีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศ       17. มีความสามารถในการติดต่อประสานงานทั้งภายในภายนอก เพื่อให้เกิดความร่วมมือ      18. สามารถชี้แจงให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง เพื่อสร้างความเข้าใจในการ ดาเนินงาน         19. มีความสามารถในการจับกระแสความคิดของสังคม การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายของรัฐ        20.จัดกิจกรรมตามโครงการประชาสัมพันธ์ทั้งในและต่างประเทศ        21.มีความสามารถในการออกแบบ จัดทาและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อ          Attribute ทัศนคติ 22. มีการเตรียมพร้อมอยู่เสมอ ในการรับมือกับวิกฤตการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นทั้งภายใน และ ภายนอก      23. สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เพื่อจะสามารถเรียนรู้ความรู้สึก ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย       24. ให้บริการข้อมูลประชาชนและหน่วยงานอื่น ให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง       25 . มีความสนใจใฝ่รู้ แสวงหาความรู้ใหม่ เพื่อให้งานที่สร้างสรรค์ออกมีความแปลกใหม่ เป็นที่ ต้องการและเป็นที่ยอมรับของสังคม       26. ประพฤติตนในทางที่ชอบธรรมต่อลูกค้าหรือองค์กร         27. ต้องยึดมั่นในมาตรฐานจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการประชาสัมพันธ์เพื่อประโยชน์ของ สาธารณชน        28. ต้องไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดที่ มีผลประโยชน์ขัดกันหรือแข่งขัน         29. ต้องไม่ปฏิบัติตนในทางทุจริตต่อภาพลักษณ์ที่ดีขององค์การ และทาให้เกิดปัญหาในการ สื่อสารกับสาธารณชน        30.ต้องระบุให้สาธารณชนทราบถึงแหล่งที่มาของข้อมูลข่าวสารที่รับผิดชอบ          31.ต้องไม่จงใจที่จะเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาดหรือชี้นาให้เกิดความเข้าใจผิดต่อองค์การ   32. ต้องมีความยุติธรรมเป็นกลาง ไม่เกี่ยวข้องกับองค์การใดๆ องค์กรหนึ่งที่จะทาให้องค์กร เสื่อมเสีย         34 มีความน่าเชื่อถือ เป็นภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร     
  • 13. สมรรถนะดิจิทัล [17] [18] [19] [20] [21] [22] [23] [24] 1. Digital Communication การสื่อสารดิจิทัล 1.1 สื่อสารการแสดงออกที่สร้างสรรค์ Communicate creative expression       1.2 ความรู้ทั่วไปและทักษะการทางาน General knowledge and work skills       1.3 ทักษะการสื่อสารใช้ในชีวิตประจาวัน Communication skills used in daily life         1.4 การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ Creative expression       1.5 มีความเข้าใจและตระหนักถึงบทบาทของ ICT ในสังคม       1.6 การตัดสินใจอย่างชาญฉลาดเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม     1.7 การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล      1.8 การพัฒนาทักษะการอ่านการเขียนการคิดเลขและการพูด       1.9 สามารถสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศหรือ ภาษาในประเทศอาเซียน        1.10 ใช้สิ่ดิจิทัลเพื่อการทางานร่วมกัน      2. Data Management & Preservation การจัดการและการเก็บรักษาข้อมูล 2.1 ความปลอดภัยด้านกฎหมาย       2.2 การใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย (IT security)       2.3 ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัย         2.4 การรับรู้ถึงความปลอดภัยไซเบอร์       2.5 การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ได้อย่างสร้างสรรค์       3. Data Analysis & Presentation การวิเคราะห์และการนาเสนอข้อมูล 3.1 นาเสนอพื้นที่ความสามารถแบบดิจิทัล       3.2 การทางานร่วมกันแบบออนไลน์ (online collaboration)      3.3 การใช้โปรแกรมนาเสนอ       3.4 การประมวลผลและการจัดการข้อมูล      3.5 การประเมินและติดตามความสามารถทางดิจิตอล      4. Critical making design & development การออกแบบและการพัฒนา 4.1 การใช้โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล (web editing)       4.2 การสื่อสารและการทางานร่วมกันทางเทคโนโลยี       4.3 สามารถแก้ปัญหาทางเทคนิคควบคู่กับการใช้คู่มือ      4.4 สามารถพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆ      4.5 สามารถผลิตสื่อดิจิทัล เช่นกราฟิก คลิปวิดิ์โอหรือคลิปเสียง และการบันทึกภาพ หน้าจอ       5. Digital Survival skills ทักษะดิจิตอล 5.1 การใช้งานคอมพิวเตอร์       5.2 การใช้งานอินเทอร์เน็ต      5.3 สามารถติดตั้งและใช้ซอฟต์แวร์ รวมถึงแอพลิเคชั่นที่เป็นประโยชน์บนอุปกรณ์      5.4 ส่วนตัวทั้งโทรศัพท์มือถือหรือแท็บเล็ต       5.5 การทางานกับซอฟต์แวร์สานักงานและฐานข้อมูล       5.6 ทักษะการใช้งาน Microsoft Office       5.7 สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ได้อย่างมั่นใจ รวมทั้งเครื่องมือสาหรับการอ้างอิง การผลิตงาน นาเสนอ     
  • 14. สมรรถนะพหุวัฒนธรรม [25] [26] [27] [9] 1 การให้ความร่วมมือกับกิจกรรมของสังคม หรือชุมชน    2. ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสังคม    3. ผู้นาชุมชนคือตัวขับเคลื่อนในสังคม   4. มีผู้นาชุมชนที่เข้มแข็ง และสื่อสารกับชุมชนได้เข้าใจ   5. การรักษาความสัมพันธ์ในความแตกต่างระหว่างศาสนา     6. สังคมต้องมีความยุติธรรม ประนีประนอม   7. การเป็นหนึ่งเดียวกันของเชื้อชาติ/ชนชาติและเน้นการหลอมรวมให้ทุกคนมี วัฒนธรรมเดียวกัน   8. ต้องการส่งเสริมใสใจ อย่างเท่าเทียม  9. การมีส่วนร่วมในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน    10. ต้องสร้างความน่าที่น่าเชื่อถือในสังคม    11. สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น .ในการทางาน ร่วมกัน     12. ให้บริการข้อมูลประชาชนและหน่วยงานอื่น ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ อย่างถูกต้อง    13.ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนงานของชุมขนองค์กร     14. มีการสร้างเครือข่ายสังคม เพื่อให้เกิดความร่วมมือของประชาคมใน ประเทศ และต่างประเทศ   15. มีสร้างความสัมพันธ์ในการดาเนินกิจกรรมของชุมชน   16. ต้องมีการชี้แจงให้รายละเอียดข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อสร้างความเข้าใจความ กัน  17. ทุกคนต้องสามารถทางานร่วมกันได้ เข้าใจความรู้สึกคนในสังคม  
  • 15. สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล พหุวัฒนธรรมพหุวัฒนธรรม Competency for Digital Public Relation สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์Competency for Digital Public Relation สมรรถนะดิจิทัลCompetency for Digital สมรรถนะพหุวัฒนธรรมMulticultural Competency [9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [17] [18 [19] [20] [21] [22] [23] [24] [25] [26] [27] [9] สมรรถนะการสร้างการมีส่วนร่วมดิจิทัล (Participator) 1. การมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนประชาสัมพันธ์ดิจิทัลขององค์กร                2. การมีส่วนร่วมในการสื่อสารวิสัยทัศน์ พันธกิจและนโยบาย ขององค์กรดิจิทัล              3. มีความสามารถในการทางานร่วมกันเป็นทีม ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การมี ปฏิสัมพันธ์ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น                 4. การมีส่วนร่วมในการรับมือและจัดการสื่อสารในภาวะวิกฤต            5. การมีส่วนร่วมในการสร้างความสัมพันธ์กับสมาชิกประชาคมขององค์กรดิจิทัล           6. การมีส่วนร่วมในการสร้างเครือข่ายในประเทศ และต่างประเทศ เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือ               7. มีความสามารถมีส่วนร่วมในฐานะพลเมืองไทยและสามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมไทย สู่สากล               สมรรถนะด้านการเผยแพร่ (Disseminator) 1. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมกับการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์               2. มีความสามารถในการเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ดิจิทัลเพื่อเผยแพร่            3. มีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารเพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ดิจิทัล     4 มีความสามารถในการใช้สื่อดิจิทัลเป็น เครื่องมือสาหรับการติดต่อสื่อสาร           5. มีความสามารถในการออกแบบ จัดทาและผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการเผยแพร่              6. มีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการเผยแพร่ข้อมูลได้อย่างเหมะสม             7 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ในการนาเสนอข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เที่ยงตรง และเป็นกลาง สมรรถนะด้านการอานวยความสะดวก (Facilitator) 1. สามารถประชาสัมพันธ์แนะนาข้อมูลด้านต่างๆผ่านสื่อดิจิทัล     2. ใช้คอมพิวเตอร์ในการช่วยเหลือในกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติ หน้าที่             3. ให้บริการข้อมูลประชาชนและหน่วยงานอื่น ให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง             4. สามารถชี้แจงให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง เพื่อสร้างความเข้าใจในการ ดาเนินงาน          5. สามารถสื่อสารการใช้ภาษาต่างประเทศ เพื่อช่วยเหลือในการให้ข้อมูล              6 ให้ความช่วยเหลือ หรือในการฝึกเกี่ยวกับเทคนิคต่างๆในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยี ดิจืทัล แก่บุคคล หรือหน่วยงาน                7. ในการประชาสัมพันธ์แนะนาข้อมูลด้านต่างๆ ผ่านสื่อดิจิทัล ควรอานวยความสะดวก แก่บุคคลทุพพลภาพ คนชรา และเด็ก                สมรรถนะด้านการให้คาปรึกษา (Advisor) 1. มีทักษะในการให้คาปรึกษา และการวิเคราะห์ผู้รับสารในงานสื่อสารมวลชน             2. สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เพื่อจะสามารถเรียนรู้ ความรู้สึก ความต้องการของสังคมกลุ่มเป้าหมาย          3. มีความน่าเชื่อถือ เป็นภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรในระบบองค์กรดิจิทัล         4. มีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยและประเมินผลเพื่อนามาปรับปรุงแนวทางการให้ คาปรึกษาสามารถนนาไปปฏิบัติได้            5.มีความรู้ในการสื่อสารในงานสื่อสารมวลชนเพื่อการโน้มน้าวใจ            6. มีการสร้างความสัมพันธ์ในการดาเนินงานกับสาธารชน และสื่อมวลชนสัมพันธ์                7. มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และความกระตือรือร้น ความเชื่อมั่นในตนเอง กล้า ตัดสินใจ และมีความมุ่งมั่นในการทางาน               
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26. 1. สารวจและ การกาหนด ปัญหา สารวจ ปัญหา การคัดเลือก ปัญหา 2. การวางแผน และการกาหนด แผน การวางแผน การแกไข ปัญหา วางแผนและ การพัฒนา 3. การเลือก ข้อความและ เครื่องมือ การเลือก ประเด็นการ สื่อสาร การเลือก รูปแบบการ PR 4. การปฏิบัติ และการสื่อสาร การพัฒนา สื่อ PR การเลือก ช่องทางการ PR 5. การ ประเมินผลและ การปฏิบัติงาน การ ประเมินผล งาน การ ประเมินผล สมรรถนะ
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 45.
  • 46. ҧ 𝑥 ҧ 𝑥 ҧ 𝑥 ҧ 𝑥 ҧ 𝑥
  • 47.
  • 48. สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรม เริ่มต้นโดยการสังเคราะห์คา 3 คามาผสมกัน ได้แก่ สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ สมรรถนะดิจิทัล สมรรถนะ พหุวัฒนธรรม สังเคราะห์ทีละคาสาคัญแล้วนามาผนวก รวมกันจนเกิดเป็นสมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ประกอบด้วย 4 สมรรถนะ 1) สมรรถนะด้านการสร้าง การมีส่วนร่วมดิจิทัล ด้านที่ 2) สมรรถนะด้านการ เผยแพร่ ด้านที่ 3) สมรรถนะด้านการอานวยความ สะดวก และด้านที่ 4) สมรรถนะด้านการให้คาปรึกษา และในแต่ละสมรรถนะหลักก็จะมีสมรรถนะย่อย มี ทั้งหมด 28 สมรรถนะ
  • 49. ผลการวิเคราะห์สังเคราะห์กระบวนการ ประชาสัมพันธ์ดิจิทัล มีกระบวนการของการฝึกอบรม 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสารวจและการกาหนดปัญหา 2) การวางแผนและการกาหนดแผน 3) การเลือกเนื้อหา และเครื่องมือ 4) การปฏิบัติและการสื่อสาร และ 5) การ ประเมินผลงานและการปฏิบัติ
  • 50. 1. การสารวจและการกาหนดปัญหา การสารวจและกาหนดปัญหาเชิงรุก การประมวลข้อมูล เกี่ยวกับสถาบัน หน่วยงาน ทั้งในแง่ความรู้ ความคิดเห็น ทัศนคติ และพฤติกรรม ที่เป็นผล มาจากนโยบายและการดาเนินงานของสถาบัน โดยมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า ให้สอดคล้อง กับนโยบายขององค์กร และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในยุคดิจิทัล 2. การวางแผนและการกาหนดแผน การวางแผนและกาหนดแผนงานการปฏิบัติเชิงรุก การ ลงมือปฏิบัติและทาการสื่อสารตามที่วางแผนและกาหนดไว้แล้ว ในขั้นตอนที่สอง เพื่อให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ และตรงตามแผนการปฏิบัติงานตามนโยบายการใช้ เทคโนโลยีสื่อดิจิทัล 3. การเลือกเนื้อหาและเครื่องมือ การเลือกเนื้อหาและเครื่องมือ (Select Content & Tool) หลังจากที่วางแผนเสร็จทาการเลือกเนื้อหาที่ได้จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์และตรวจทวน พร้อมเลือกเครื่องมือที่จะใช้จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์และเลือกช่องทางในการประชาสัมพันธ์ 4. การปฏิบัติและการสื่อสาร การปฏิบัติการและการสื่อสารเชิงรุกผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล การ ลงมือปฏิบัติและทาการสื่อสารตามที่วางแผนและกาหนดไว้แล้วในขั้นตอนที่สอง เพื่อให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน และ 5. การประเมินผลงานและการปฏิบัติ การประเมินผลการปฏิบัติงานเชิงรุก การตัดสินผลการ ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ รวมทั้งประเมินประสิทธิผลของ การเตรียมแผนงานและการ สนับสนุน แผนงานโดยการสารวจผลและความคิดเห็น จากกลุ่มประชาชน เป้าหมาย โดยตรง จากผู้ที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในสื่อออนไลน์
  • 51. รูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนัก ประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ที่พัฒนาขึ้นมีกระบวนการของการฝึกอบรม 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสารวจและการกาหนดปัญหา 2) การวางแผนและการกาหนดแผน 3) การเลือกข้อความและเครื่องมือ 4) การปฏิบัติและการสื่อสาร 5) การประเมินผลงานและการปฏิบัติ ซึ่งการจัดกิจกรรม ฝึกอบรมนั้นเป็นการจัดฝึกอบรมเป็นออนไลน์ดังนั้นจึงมีนา เทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ มาใช้จัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เข้า อบรมเกิดสมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ซึ่ง กระบวนการขับเคลื่อนการจัดการฝึกอบรม เครื่องมือที่ใช้ ในการอบรม
  • 52. ความเหมาะสมของรูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุ วัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล แบ่งการประเมิน ออกเป็น 3 ด้าน เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสม ได้แก่ ด้านที่ 1 ด้านกระบวนการฝึกอบรมตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ด้านที่ 2 ด้านเครื่องมือเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการฝึกอบรม และด้านที่ 3 ด้านสมรรถนะที่ใช้ในการประเมินผลหรือสมรรถนะนัก ประชาสัมพันธ์ดิจิทัลทั้ง 3 ด้าน มีผลการประเมินอยู่ในระดับ เหมาะสม ซึ่งแสดงให้เห็นว่ารูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุ วัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นนั้นมี ความเหมาะสาหรับการนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะ ของนักประชาสัมพันธ์เพื่อต่อยอดให้บุคคลเหล่านั้นกลายเป็นนัก ประชาสัมพันธ์ดิจิทัลต่อไป
  • 53. หลักสูตรฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนัก ประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นโดยมีความสอดคล้องกับ รูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนัก ประชาสัมพันธ์ดิจิทัล หลังจากที่ออกแบบหลักสูตรผู้วิจัยได้นาไป ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ปรากฎว่ากลุ่มตัวอย่างให้ความสนใจและ ติดตามการฝึกอบรมตั้งแต่กระบวนการแรกจนถึงกระบวนการ สุดท้าย แต่ก็จะมีบางคนที่เข้าร่วมในแต่ละกระบวนไม่จบ กระบวนการ ซึ่งเกิดจากความไม่พร้อมของเครื่องมือที่ใช้ในการเข้า ร่วมฝึกอบรมนั้นไม่พร้อมต่อการ อันได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ สัญญาณอินเทอร์เน็ต เป็นต้น แต่ในภาพรวมนั้นกลุ่มตัวอย่างหรือ ผู้เรียนมีเสียงสะท้อนกลับมาว่าเป็นกิจกรรมที่ดี และน่าใจ สามารถ นาไปใช้งานได้จริงและเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนและการทางาน
  • 54. สมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรมของนัก ประชาสัมพันธ์ที่อบรมโดยใช้รูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรม ผู้วิจัยได้แบ่งการประเมินสมรรถนะนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรม ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 ด้านความรู้ ผู้วิจัยได้วัดความรู้ของกลุ่มตัวอย่าง ก่อนเรียนและหลังเรียนปรากฎว่าภาพรวมการประเมินความด้านความอยู่กลุ่ม ตัวอย่างมีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม ด้านที่ 2 ด้านทักษะ ผู้วิจัยได้ตั้งเกณฑ์การประเมินขึ้นพร้อมกับให้กลุ่มตัวอย่างฝึกทักษะการ ปฏิบัติงานจริงซึ่งหลังการจัดการอบรมตามหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น ปรากฎว่ากลุ่ม ตัวอย่างมีทักษะการเป็นนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลพหุวัฒนธรรมในภาพรวมอยู่ใน ระดับดีมาก และด้านที่ 3 ด้านทัศนคติ ผู้วิจัยได้ให้กลุ่มตัวอย่างแสดงความ คิดเห็นต่อหลักสูตรที่ได้พัฒนาขึ้น ซึ่งวัดประดับทัศนคติ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้ ถ่ายทอดความรู้ ด้านเนื้อหา ด้านรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ ด้านการจัด กิจกรรม และด้านการนาความรู้และทักษะไปใช้ในการปฏิบัติงาน ในภาพรวม นั้นกลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติอยู่ในระดับดีมาก ซึ่งเราอาจจะสรุปได้ว่า กลุ่มตัวอย่าง ชอบการจัดการอบรมออนไลน์ที่มีการดาเนินกิจกรรมตามรูปแบบฝึกอบรมฐาน สมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล
  • 55. ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาผลการใช้การพัฒนารูปแบบ ฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับนักประชาสัมพันธ์ดิจิทัลที่ พัฒนาขึ้นกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาเท่านั้น ซึ่งจากการนารูปแบบที่ พัฒนาขึ้นไปทดลองจริง เกิดความสนใจในกลุ่มอื่นด้วย เช่น กลุ่มอาจารย์ใน มหาวิทยาลัย และองค์กรต่าง ๆ จึงเสนอแนะให้ผู้ที่จะทาวิจัยในครั้งต่อได้ พิจารณาและนารูปแบบไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างอื่นด้วย
  • 56. ในการจัดฝึกอบรมรูปแบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะพหุวัฒนธรรมสาหรับ นักประชาสัมพันธ์ดิจิทัล ได้มีการนาเครื่องมือเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน กระบวนการต่าง ๆ ซึ่งมีหลายเครื่องมือที่ได้นาเสนอไว้ หากผู้ที่สนใจทาการวิจัย ในครั้งถัดไปอาจจะใช้เครื่องมืออื่นนอกเหนือจากที่ผู้วัยได้นาเสนอไว้ก็สามารถ ทาได้ ซึ่งควรพิจารณาถือความเหมาะสมหรือพิจารณาทรัพยากรของหน่วยงาน หรือส่วนตัวที่มีอยู่และสามารถนามาใช้ได้
  • 57.
  • 58.
  • 59.