SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21/07/58 1
• เกิดจากการติดเชื้อ Influenza virus
• สายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ในคนมีหลายสายพันธุ์ แต่ที่พบกันบ่อยๆ คือ
–H1N1
–H3N2
• เป็นการติดเชื้อทางเดินระบบหายใจ เชื้ออาจจะลามเข้าปอดทาให้เกิด
ปอดบวม มีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดตามตัวและปวดกล้ามเนื้อ
21/07/58 2
21/07/58 3
• เชื้อนี้ติดต่อระบบทางเดินหายใจ
• วิธีการติดต่อ ได้แก่
–ติดต่อโดยการไอหรือจาม เชื้อจะเข้าทางเยื่อบุตาและปาก
–สัมผัสเสมหะของผู้ป่ วยทางแก้วน้า
–สัมผัสทางมือที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
21/07/58 4
• ระยะฟักตัว: ประมาณ 1-4 วัน เฉลี่ย 2 วัน
–ไข้สูง 39-40 องศา ตาแดง
–เจ็บคอ คอแดง ไอแห้งๆ
–มีน้ามูกไหล คัดจมูก อาจจะอยู่ได้1 สัปดาห์
21/07/58 5
• ระยะฟักตัว: ประมาณ 1-4 วัน เฉลี่ย 2 วัน (ต่อ)
–มีอาการอ่อนเพลีย
–เบื่ออาหาร คลื่นไส้
–ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดรอบกระบอกตา
–ปวดแขนขา ปวดข้อ
21/07/58 6
• ผู้ป่ วยอาจจะมีอาการกาเริบของโรคที่เป็นอยู่ เช่น
–หูน้าหนวก
–หลอดลมอักเสบ
–ปอดบวม ปอดอักเสบ
–กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
–สมองอักเสบ
21/07/58 7
• พักผ่อนมากๆ
• อยู่ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
• รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และย่อยง่าย ควรดื่มน้ามากๆ
• ถ้ามีไข้ให้ใช้ผ้าชุมน้าเช็ดตัว หากไข้ไม่ลงให้รับประทาน paracetamol
• ถ้าไอมากก็รับประทานยาแก้ไอ
แต่ในเด็กเล็กไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
21/07/58 8
• ผู้ที่เจ็บคอ อาจจะใช้น้า 1 แก้วผสมเกลือ 1 ช้อนกรวกคอ
• อย่าสั่งน้ามูกแรง ๆ เพราะอาจจะทาให้เชื้อลุกลาม
• ในช่วงที่ระบาดให้หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์สาธารณะ ลูกบิด ประตู
• เวลาไอหรือจามต้องใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดปากและจมูก
• ต้องสวมผ้าปิดปาก ปิดจมูกตลอดเวลา
• ให้หยุดงาน หยุดเรียนจนกว่าจะพ้นระยะการติดต่อของโรค คือ
–7 วันหลังเริ่มป่วย หรืออย่างน้อย 1 วันหลังไม่มีไข้
21/07/58 9
• หากมีอาการเหล่านี้ควรพบแพทย์ ผู้ป่ วยเด็กควรปรึกษาแพทย์เมื่อมี
อาการดังต่อไปนี้
–ไข้สูง ให้ยาลดไข้แล้วไข้ยังเกิน 38.5 องศา
–หายใจหอบหรือหายใจลาบาก มีอาการมากกว่า 7 วัน ผิวสีม่วง
–เด็กดื่มน้าหรือรับประทานอาหารไม่พอ เด็กซึม หรือไม่เล่น
–เด็กไข้ลด แต่อาการไม่ดีขึ้น
21/07/58 10
• สาหรับผู้ใหญ่ที่เป็นไข้หวัดใหญ่ หากมีอาการดังต่อไปนี้ให้พบแพทย์
–ไข้สูงและเป็นมานาน
–หายใจลาบาก หรือหายใจหอบ
–เจ็บหรือแน่นหน้าอก
–หน้ามืดเป็นลม
–อาเจียน รับประทานอาหารไม่ได้
21/07/58 11
• กลุ่มผู้ป่ วยเหล่านี้ถือเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน ควรจะพบ
แพทย์เมื่อเป็นไข้หวัดใหญ่
–ผู้ที่มีโรคเรื้อรังประจาตัว เช่น โรคตับ โรคหัวใจ โรคไต โรคปอด
–หญิงตั้งครรภ์
–คนที่มีอายุมากกว่า 65 ปี
–ผู้ป่วยโรคเอดส์
–ผู้ที่พักในสถานเลี้ยงคนชรา
21/07/58 12
• ผู้ป่ วยไข้หวัดใหญ่ที่มีอาการเหล่านี้ควรจะรักษาในโรงพยาบาล
–มีอาการขาดน้าไม่สามารถดื่มน้าได้อย่างเพียงพอ
–เสมหะมีเลือดปน
–หายใจลาบาก หายใจหอบ
–ริมฝีปากเปลี่ยนเป็นสีม่วงเขียว
–ไข้สูงมากเพ้อ
–มีอาการไข้และไอหลังจากไข้หวัดหายแล้ว
21/07/58 13
• ล้างมือบ่อย ๆ
• พักผ่อนให้เพียงพอ และออกกาลังกาย
• หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย
• อย่าใช้ของส่วนตัว เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า แก้วน้า ร่วมกับผู้อื่น
• รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เน้นพวกผัก ผลไม้
นม ไข่ กินอาหารปรุงสุกใหม่ๆ และใช้ช้อนกลาง
• ฉีดวัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่ทุกปี
21/07/58 14
21/07/58 15
21/07/58 16
21/07/58 17
• การฉีดวัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่เป็นวิธีที่ได้ผลดีที่สุด
21/07/58 18
สามารถลดอัตราการติดเชื้อ
ลดอัตราการนอนโรงพยาบาล
ลดภาวะแทรกซ้อน
ลดการหยุดงานหรือหยุดเรียน
• วัคซีนชนิดเชื้อเป็น
–เป็นวัคซีนที่ผลิตโดยนาเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่มาทาให้อ่อนฤทธิ์ลง
–เข้าสู่ร่างกายโดยใช้วิธีพ่นทางจมูก เพื่อสร้างภูมิต้านทานเฉพาะใน
เยื่อบุทางเดินหายใจ
–สาหรับประเทศไทยยังไม่ได้นาเข้ามาใช้ และกาลังอยู่ในระหว่าง
ทาการศึกษาวิจัยถึงการผลิต
21/07/58 19
• วัคซีนชนิดเชื้อตาย
–เป็นวัคซีนที่สกัดมาจากชิ้นส่วนของไวรัส
–นาเข้าสู่ร่างกายโดยใช้วิธีฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เพื่อสร้างภูมิต้านทาน
เฉพาะที่ในเลือด
–วัคซีนชนิดนี้สามารถฉีดให้แก่บุคคลทั่วไปที่อายุตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป
โดยวัคซีนชนิดนี้มีใช้ในประเทศไทยแล้ว
21/07/58 20
• คนอ้วน
• หญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป
• ผู้พิการทางสมอง
• เด็กเล็กที่มีอายุ 6 เดือน – 2 ปี
• ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป
• ผู้ป่ วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ ปอด หอบหืด ไต เบาหวาน หรือ
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
21/07/58 21
• เด็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน
• คนที่มีประวัติแพ้ไก่หรือไข่ไก่อย่างรุนแรง เพราะวัคซีนชนิดนี้ผลิตจาก
ไข่ไก่
• ผู้ที่เคยฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่แล้วมีอาการแพ้อย่างรุนแรง
• ผู้ที่มีไข้หรือเจ็บป่วยเฉียบพลัน
• ผู้ป่ วยที่มีโรคประจากาเริบ ควบคุมไม่ได้ ควรเลื่อนการรับวัคซีนไปก่อน
21/07/58 22
• ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่จะเข้ารับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่คือ
–ในช่วงก่อนที่จะเข้าฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน)
–เป็นช่วงที่วัคซีนสาหรับปีนั้น ๆ จะออกมาพอดี
–หากไม่สะดวก จะเข้ารับการฉีดวัคซีนในช่วงใดของปีก็ได้ เนื่องจาก
ประเทศไทยสามารถพบไข้หวัดใหญ่ได้เกือบตลอดทั้งปี
21/07/58 23
• ในการฉีดวัคซีนอาจเกิดผลข้างเคียงขึ้นได้
–อาจมีอาการไข้
–ปวดเมื่อยตามตัว หรือปวดบวมบริเวณที่มีการฉีดวัคซีน
–หายเป็นปกติได้ภายใน 1 – 2 วัน
21/07/58 24
• ในผู้ที่แพ้ไข่ไก่แบบรุนแรง จึงไม่จะควรฉีดวัคซีนนี้
• สาหรับผู้ที่มีไข้สูงแบบเฉียบพลัน ก็ควรจะรอให้ไข้ลดลงก่อน
แล้วจึงไปเข้ารับการฉีดวัคซีน
21/07/58 25
21/07/58 26
21/07/58 27
21/07/58 28
21/07/58 29
21/07/58 30

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Prachaya Sriswang
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใสDbeat Dong
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุBallista Pg
 
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับPanda Jing
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (20)

คอตีบ+1
คอตีบ+1คอตีบ+1
คอตีบ+1
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
 
DHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.pptDHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.ppt
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
ภูมิแพ้
ภูมิแพ้ภูมิแพ้
ภูมิแพ้
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 

Andere mochten auch

โรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนกโรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนกFaii Manassanan
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดvalharnvarkiat
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมWan Ngamwongwan
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.PptxWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 

Andere mochten auch (20)

โรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนกโรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนก
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infection
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวม
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptx
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease
 

Mehr von Prachaya Sriswang

Mehr von Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 

Ppt influenza