SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 119
แนวทางการจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง
( HIGH ALERT DRUGS )
ในโรงพยาบาล
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
15-Aug-14 1
High alert drug
 ยาที่มีความเสี่ยงสูง (high alert drug) หมายถึง
◦ ยาที่เสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายหรือผลเสียต่อผู้ป่วย
ที่รุนแรง
◦ ถ้าหากมีความผิดพลาดในการสั่งใช้ยา คัดลอกคาสั่งใช้
ยา จ่ายยา หรือการให้ยา
15-Aug-14 2
เกณฑ์ในการพิจารณาเลือกยาที่มีความเสี่ยงสูง
 เป็นยาที่มีดัชนีการรักษาแคบ ( Narrow Therapeutic Index )
 เป็นยาที่มีอุบัติการณ์การรายงานความคลาดเคลื่อนทางยาสูง
การรับยาเข้าโรงพยาบาล
 ยาความเสี่ยงสูงต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ
ควบคุมดูแลเรื่องยาของโรงพยาบาล โดยคานึงถึงความเสี่ยงใน
การนามาใช้และการเตรียมการป้องกันอย่างเหมาะสม
 ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่ถูกส่งมายังโรงพยาบาลต้องตรวจรับโดย
เภสัชกรที่ได้รับมอบหมาย
15-Aug-14 3
การเก็บรักษา
 ยาความเสี่ยงสูงทุกชนิดต้องเก็บรักษาโดยแยกจากยาอื่นๆ
 ต้องมีสัญลักษณ์เตือนบุคลากรว่าเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง ใช้
สติกเกอร์สีแสดสะท้อนแสง เขียนข้อความว่า“ยาความเสี่ยงสูง”
 จากัดการเข้าถึงยาที่มีความเสี่ยงสูงกลุ่มยาเสพติดให้โทษ โดยต้อง
ใส่ในตู้หรือลิ้นชักที่มีกุญแจ และมีการตรวจสอบสม่าเสมอ
15-Aug-14 4
แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
 การสั่งใช้ยาโดยแพทย์
◦ เขียนคาสั่งใช้ยาอย่างครบถ้วนและชัดเจน เช่น ระบุความแรง
วิถีทางให้ยา และความถี่ของการให้ยา
◦ หลีกเลี่ยงการใช้คาย่อที่ไม่เป็นสากล
◦ หลีกเลี่ยงการสั่งจ่ายยาโดยวาจา/ ทางโทรศัพท์หากจาเป็นควร
มีการทวนซ้าทั้งชื่อยา ขนาด วิธีการให้ และระยะเวลาการให้
จากผู้รับคาสั่ง
◦ แพทย์ควรมีข้อมูลผู้ป่วยอย่างครบถ้วนก่อนสั่งใช้ยาเพื่อให้การ
สั่งใช้ยามีความเหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคนมากที่สุด
15-Aug-14 5
แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
 การสั่งใช้ยาโดยแพทย์ (ต่อ)
◦ ควรมีการวงเล็บ mg/kg ขนาดที่แพทย์ต้องการไว้ข้างหลังชื่อยา
เพื่อการตรวจทานการคานวณความเข้มข้นซ้าได้และหากเป็น
ยาเม็ดควรมีการระบุ mg ที่แพทย์ต้องการใช้ทุกครั้ง เพื่อให้
สามารถตรวจทานขนาดยาซ้าได้
◦ กาหนดขนาด อัตราเร็วของการบริหาร และน้ายาที่ใช้ผสมทุก
ครั้งที่มีการบริหาร
◦ ควรมีการปรับขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทางานของ
ตับและไตผิดปกติ
15-Aug-14 6
แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
 การคัดลอกคาสั่งใช้ยา
◦ ทบทวนการสั่งใช้ยาให้เข้าใจทั้งชื่อ ขนาดยา และวิธีการให้ยา
หากไม่ชัดเจนควรติดต่อแพทย์ผู้เขียนคาสั่งโดยตรง เพื่อให้ได้
ข้อมูลที่ถูกต้องก่อนลอกคาสั่งลงในการ์ดยา
◦ คัดลอกคาสั่งแพทย์ลงในใบสั่งยาให้ครบถ้วนทั้งชื่อยา ขนาดยา
และวิธีการให้ยา โดยหลีกเลี่ยงการใช้คาย่อที่ไม่เป็นสากล
15-Aug-14 7
แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
 การตรวจสอบยาและการจ่ายยา
◦ ตรวจสอบความถูกต้องทั้งชื่อผู้ป่วย ชนิดยา ขนาดยา และ
วิธีการให้ยา อย่างน้อย 2 ครั้งก่อนจ่ายยา หากไม่ชัดเจนให้
ติดต่อกลับไปที่หอผู้ป่วย หรือแพทย์ผู้สั่งใช้ยาโดยตรง
◦ ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
◦ ตรวจสอบความถูกต้องของการเตรียมยา เช่น การใช้ตัว
ทาละลายที่เหมาะสมในกรณีที่ต้องละลายหรือเจือจางยา
◦ หลีกเลี่ยงการรับคาสั่งใช้ยาทางโทรศัพท์ โดยคาสั่งใช้ยาต้อง
เป็นลายลักษณ์อักษร
15-Aug-14 8
แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
 การให้ยา
◦ จัดเตรียมยาสาหรับผู้ป่วยตามคาสั่งแพทย์
◦ ให้ยาอย่างถูกต้องตามหลัก 6 R คือ ถูกต้องตามชนิดของยา
ถูกต้องตามขนาดยา ถูกต้องตามวิถีทาง ถูกต้องตามเวลา
ถูกต้องตามผู้ป่ วย และการบันทึกยาถูกต้อง
◦ ประเมินผลการตอบสนองของยานั้น และสังเกตอาการ
ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา หากเกิดขึ้นให้รายงานแพทย์และ
แจ้งให้เภสัชกรทราบ
15-Aug-14 9
แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
 การเก็บรักษา
◦ เก็บรักษายาให้เหมาะสมกับชนิดของยา เช่น ยาที่ต้องแช่เย็น
ต้องเก็บในตู้เย็น ยากันแสงต้องเก็บในซองสีชา หรืออยู่ใน
ภาชนะบรรจุที่ป้องกันแสง
◦ ควรแยกยากลุ่มนี้ให้ห่างกับยาที่มีรูปลักษณ์ภายนอกของ
ภาชนะบรรจุคล้ายคลึงกัน เพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการจ่าย
หรือเตรียมยา
◦ ติด sticker สีแดงที่ภาชนะที่เก็บยา เพื่อให้ชัดเจนและเพิ่มความ
ระวังในการใช้ยามากขึ้น
15-Aug-14 10
High alert drug จัดแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ
 วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและยาเสพติดให้โทษ
◦ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ได้แก่ dormicum, diazepam,
ketalar ephedrine
◦ ยาเสพติดให้โทษ ได้แก่ morphine, kapanol, pethidine,
fentanyl
 ยาเคมีบาบัด
◦ Taxotere, campto, 5-FU, xeloda, oxalip, lipodox, MTX
15-Aug-14 11
High alert drug จัดแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ
 ยาฉีดอินซูลิน
◦ Insulatard (NPH), actrapid (RI), lantus (insulin glagine)
 ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
◦ Heparin, clexane, warfarin
 ยาที่เป็นสารละลายเกลือแร่ความเข้มข้นสูง
◦ KCl, MgSO4, 3%NaCl, calcium gluconate
15-Aug-14 12
High alert drug จัดแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ
 ยาคลายกล้ามเนื้อที่ใช้ในการดมสลบ
◦ Tracium, nimbex, esmoron, succinyl, siccum, thiopental,
etomidate
 ยาที่มี therapeutic index แคบ
◦ Theophylline, phenytoin, digoxin
 ยา cardiovascular drug
◦ Adenocor, adrenaline, atropine, cardipine, cordarone,
dopamine, dobutex, levophed, nitrocine, sodium
nitroprusside, streptokinase
15-Aug-14 13
แนวทางแก้ปัญหาและการจัดการ
 แพทย์
◦ แพทย์ที่ต้องการสั่งใช้ยากลุ่มนี้ ต้องเขียนใบสั่งจ่ายวัตถุ
ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภทที่ 2 ตามแบบฟอร์มที่
โรงพยาบาลจัดเตรียมไว้ให้ 1 ใบ เพื่อประกอบกับการสั่งยา
 เภสัชกร
◦ ควบคุมการเบิกจ่ายตามกฎเกณฑ์ที่โรงพยาบาลกาหนด
◦ แยกพื้นที่เก็บยาในกลุ่มนี้ไว้ในที่มิดชิดและมีกุญแจล็อค
◦ กาหนดให้เภสัชกรเท่านั้นเป็นผู้นายาจากสถานที่เก็บยามาจ่าย
แก่ผู้ป่วย
15-Aug-14 14
แนวทางแก้ปัญหาและการจัดการ
 พยาบาล
◦ กรณีผู้ป่วยใน ให้แยกใบเก็บยาในที่มิดชิด และควบคุมการ
เบิกจ่ายอย่างเคร่งครัด
◦ หากมียาเหลือจากการที่แพทย์หยุดคาสั่งใช้ยา ให้ส่งคืนงาน
เภสัชกรรม ไม่ควรเก็บคงไว้ที่หอผู้ป่วย
15-Aug-14 15
แบบบันทึกและติดตามการใช้ยาความเสี่ยงสูง
 รายการยาที่มีความเสี่ยงสูง
1. Adrenaline 1 mg/ml Inj
2. Calcium Gluconate inj.
3. Digoxin Inj
4. Dopamine Inj
5. Potassium Chloride Inj
6. Magnesium 10% Inj,50% Inj
15-Aug-14 16
แบบบันทึกและติดตามการใช้ยาความเสี่ยงสูง
 รายการยาที่มีความเสี่ยงสูง (ต่อ)
7. Morphine Inj.
8. Pethidine Inj.
9. Amiodarone Inj
10. Diltiazem Inj
11. Terbutaline Inj
15-Aug-14 17
Adrenaline
 รูปแบบ: Adrenaline Injection (1mg/1ml) = (1:1000)
15-Aug-14 18
Adrenaline
การบริหารยา
เด็ก 0.05 – 1 mcg/kg/min , Maximum dose 1-2 mcg/kg/min
ผู้ใหญ่ 4 mcg/kg/min แล้วค่อยๆ เพิ่มจนสามารถควบคุมอาการได้
Cardiac arrest 1 mg IV และให้ซ้าทุก 3-5 นาที
Anaphylaxi 0.3 – 0.5 mg IM/SC ทุก 15 -20 นาที
Bronchospasm 0.1 – 0.5 mg IM/SC ทุก 10 -15 นาที จนถึง 4 ชม.
0.1-1 % solution พ่นผ่าน nebulizer ทุก 15 นาที จนถึง 4 ชม.
15-Aug-14 19
Adrenaline
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
◦ Cardiopulmonary resuscitation (CPR)
◦ Anaphylaxis
◦ Hypotension
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง
◦ ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
โรคของหลอดเลือดส่วนปลาย (peripheral vascular disease)
15-Aug-14 20
Adrenaline
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
◦ ความดันโลหิตสูง
◦ ปลายมือ ปลายเท้าเขียว
◦ หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
◦ ถ้าให้ IV drip ควรใช้Infusion pump
◦ ควรให้ทางเส้นเลือดใหญ่
15-Aug-14 21
Adrenaline
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ ในกรณี CPR ให้บันทึก Vital signs ทันที เมื่อผู้ป่วยเริ่มมีชีพจร
◦ ในกรณี Anaphylaxis ให้บันทึก Vital signs ทุก 10 นาที จนครบ
30 นาที
◦ ในกรณี Hypotension ที่มีการให้ยาแบบ IV drip ให้บันทึก Vital
ทุก 1 ชม. ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
◦ หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg, HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่
BP > 120/80 mmHg, HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก
ให้แจ้งแพทย์ทันที
◦ ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
15-Aug-14 22
Adrenaline
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ BP>160/90 mmHg, HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่
◦ BP > 120/80 mmHg, HR > 180 ครั้ง/นาทีในเด็ก
ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับลดขนาดยาลง
◦ หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้
เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่
15-Aug-14 23
Calcium Gluconate
 รูปแบบยา: Calcium gluconate Injection 1 gm/10 mL (0.45
mEq/mL)
15-Aug-14 24
Calcium Gluconate
 การบริหารยา
Hypocalcemia:
Neonates I.V. 200 – 800 mg/kg/day
แบบ continuous infusion หรือ แบ่งให้ 4 ครั้ง
(maximum : 1 gm /dose)
Infants &
children
I.V. 200 – 500 mg/kg/day
แบบ continuous infusion หรือ แบ่งให้ 4 ครั้ง
(maximum : 2-3 gm/dose)
Adults I.V. 2 – 15 gm/24 hour
แบบ continuous infusion หรือ แบ่งให้เป็นครั้งๆ
15-Aug-14 25
Calcium Gluconate
 การบริหารยา (ต่อ)
Hypocalcemic tetany:
Neonates,
Infants & children
I.V. 100 – 200 mg/kg/dose นานกว่า 5-10 นาที
สามารถให้ซ้าได้ทุก 6-8 ชม. หรือ
ให้แบบ I.V. infusion ที่ขนาด 500 mg/kg/day
Adults 1 – 3 gm (4.5 – 16 mEq)
Hyperkalemia
(Serum K > 7 mEq/L )
Ca glucanate 0.5 – 1 g (5-10 ml) IV push ช้าๆ (2-5 นาที)
monitor EKG
15-Aug-14 26
Calcium Gluconate
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
1. ในผู้ป่วยที่มีอาการของภาวะ hypocalcemia
2. รักษาภาวะ K+ ในเลือดสูง ที่มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้า
หัวใจ
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ถ้าผู้ป่วยได้รับ digoxin อยู่ อาจเพิ่มฤทธิ์ของ digoxin จนเกิด
พิษได้
15-Aug-14 27
Calcium Gluconate
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ หัวใจเต้นผิดจังหวะ
◦ หากมี Ca ++ สูง อาจทาให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดบริเวณ
กระดูก
◦ ถ้ามียารั่วซึมออกมานอกหลอดเลือด จะทาให้เกิดเนื้อเยื่อตาย
15-Aug-14 28
Calcium Gluconate
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
◦ ควรแยกเส้นการให้ IV กับยาอื่น ๆ เพราะอาจเกิดการ
ตกตะกอนเมื่อผสมกับยาอื่น ๆได้โดยเฉพาะ phosphate
◦ ควรให้ยาทางเส้นเลือดใหญ่ ฉีดช้าๆ ประมาณ 15 นาที หรือ
เจือจาง 1 mg/mL หยดเข้าเส้นเลือดดา
15-Aug-14 29
Calcium Gluconate
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ กรณีแก้ไข Hyper K+ อาจต้องให้ Ca++ อย่างเร็ว ควร monitor
EKG ขณะฉีด IV push ช้าๆ
◦ กรณีแก้ไขภาวะ Hypocalcemia ควรมีการตรวจติดตามระดับ
Ca++ หลังได้รับยา ตามความรุนแรงของผู้ป่วย
◦ ซักถามอาการที่สัมพันธ์กับการมี Ca++ สูง เช่น อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดกระดูก หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการ
ดังกล่าว ให้รีบแจ้งแพทย์ทันที
◦ ตรวจดู IV site บ่อย ๆ ทุก 1 ชม. ตลอดระยะเวลาการให้ยา
15-Aug-14 30
Calcium Gluconate
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
◦ มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดกระดูก หัวใจเต้นผิดจังหวะ หยุด
ยาทันที ร่วมกับตรวจระดับCalcium ในเลือดทันที
◦ มีระดับ Calcium ในเลือดสูงให้หยุดยาทันที ร่วมกับเร่งการขับถ่าย
Calcium ออกจากร่างกายโดยให้สารน้าชนิด Normal saline ทาง IV
ในอัตราเร็วเริ่มต้น 200-300 ml/hr หากไม่ได้ผลให้ปรึกษาแพทย์
ทางระบบต่อมไร้ท่อ หรือแพทย์เฉพาะทางโรคไต
◦ หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้
เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่
15-Aug-14 31
Digoxin (Lanoxin®)
 รูปแบบ:Digoxin injection (0.5mg/2ml)
1. Lanoxin 0.25 mg tablet
2. Lanoxin PG 0.0625 mg tablet
3. Lanoxin elixir 0.05mg/mL (60 mL)
4. Lanoxin injection 0.25 mg/mL (2 mL)
15-Aug-14 32
Digoxin (Lanoxin®)
15-Aug-14 33
Digoxin (Lanoxin®)
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
1. Congestive Heart Failure
2. Reduce ventricular rate
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ระวังการใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย
◦ ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคไตรุนแรง
◦ ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มี K+ ต่า (ต่ากว่า 3.5 mEq/L)
15-Aug-14 34
Digoxin (Lanoxin®)
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ Digitalis Intoxication
◦ หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดจังหวะ
◦ คลื่นไส้ อาเจียน
◦ มองเห็นภาพเป็นสีเหลืองหรือเขียว
15-Aug-14 35
Digoxin (Lanoxin®)
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
◦ ดูระดับ K+ ก่อนให้ยา Digoxin ถ้า K+ ต่ากว่า 3.5 mEq/L ต้องแจ้ง
แพทย์เพื่อยืนยัน
◦ ตรวจชีพจรและลงบันทึกก่อนให้ยา ในผู้ใหญ่ถ้าชีพจรต่ากว่า 60 ครั้ง/
นาที ในเด็กชีพจรเต้นช้าผิดปกติเมื่อเทียบตามอายุ ให้แจ้งแพทย์เพื่อ
ยืนยันก่อนให้ยา
 เด็ก < 1ปี HR ต่ากว่า 100 ครั้ง/นาที
 เด็ก 1-6 ปี HR ต่ากว่า 80 ครั้ง/นาที
 เด็ก > 6 ปี HR ต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที
15-Aug-14 36
Digoxin (Lanoxin®)
 การบริหารยา (ต่อ)
◦ ชนิดฉีด IV ฉีดช้า ๆ เป็นเวลา 5 นาที หรือมากกว่า
◦ ยาน้ารับประทานต้องใช้หลอดหยดที่มีขีดบอกปริมาตร
แน่นอน
◦ ถ้าให้เกินวันละ 1 ครั้ง ยืนยันกับแพทย์ก่อน ยกเว้นผู้ป่วยเด็ก
อาจให้วันละ 2 เวลา ห่างกันทุก 12 ชม.
15-Aug-14 37
Digoxin (Lanoxin®)
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) (ต่อ)
◦ กรณี Digoxin ฉีด ควรมีการ monitor EKG ขณะฉีดยาและหลัง
ฉีดยา 1 ชม.
◦ กรณี Digoxin ฉีด ให้บันทึก HR ทุก 15 นาที ติดต่อกัน 2 ครั้ง
ต่อไปทุก 30 นาที ติดต่อกัน 3 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชม. จนครบ 5
ชม. ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์
15-Aug-14 38
Digoxin (Lanoxin®)
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ กรณีที่เป็นผู้ป่วยในให้ซักถามและสังเกตอาการของภาวะ
Digitalis Intoxication ทุกวัน เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน
มองเห็นแสงสีเขียวเหลือง
◦ ควรตรวจระดับ K+ สัปดาห์ละครั้ง กรณีเป็นผู้ป่วยใน
◦ ถ้าสงสัยว่าเกิด Digitalis Intoxication ให้ส่งตรวจวัดระดับยา
ในเลือดทันที (therapeutic level อยู่ที่ 0.8-2 ng/mL) ถ้าเกิน 2
ng/mL ต้องไม่ให้ยาต่อและแจ้งแพทย์ทันที
15-Aug-14 39
Digoxin (Lanoxin®)
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ เมื่อเกิดภาวะ Digitalis Intoxication ให้ติด monitor EKG ทันที
◦ หากได้รับยาโดยการรับประทาน ภายใน 6-8 ชั่วโมง พิจารณา
ให้ Activated charcoal ขนาด 1 mg/kg เพื่อช่วยดูดซับยาที่
หลงเหลือในทางเดินอาหาร
15-Aug-14 40
Dobutamine
 รูปแบบยา: Dobutamine injection 250 mg/20 mL (12.5
mg/mL)
15-Aug-14 41
Dobutamine
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
◦ เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ในผู้ป่วยที่มีการบีบตัวของหัวใจไม่ดี
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะ hypovolemia ต้องแก้ไขให้เป็นปกติก่อนเริ่ม
ให้ยา
◦ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เป็น idiopathic hypertrophic subaortic
stenosis
◦ ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ myocardial infarction,
severe coronary artery disease, cardiac arrhythmia
15-Aug-14 42
Dobutamine
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ หัวใจเต้นผิดจังหวะ
◦ เจ็บแน่นหน้าอก
◦ คลื่นไส้ อาเจียน
◦ อาการแพ้ยา เช่นผื่น หอบเหนื่อย หายใจลาบาก
◦ หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
15-Aug-14 43
Dobutamine
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
◦ ระวังสับสนกับ Dopamine
◦ ควรใช้Infusion pump
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ บันทึก BP, HR ทุก 1 ชั่วโมงขณะให้ยา
◦ หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่
BP > 120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก
ให้แจ้งแพทย์ทันที หรือตามแพทย์สั่ง
◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชม.
◦ ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
15-Aug-14 44
Dobutamine
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ หากพบว่ามี HR หรือ BP มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ให้
พิจารณาหยุดยาหรือปรับลดขนาดยาลง
◦ หากพบว่ามีผื่น หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก ให้หยุดยาทันที
◦ หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site
ให้เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่
15-Aug-14 45
Dopamine
 รูปแบบยา
1. Dopmin injection 200 mg/ 5mL (40 mg/mL)
2. Inopin (Dopamine) injection 250 mg/ 10mL (25 mg/mL)
15-Aug-14 46
Dopamine
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
1. Low cardiac output
2. Hypotension
3. Poor perfusion of vital organs
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ระวังสับสนกับ Dobutamine
◦ ก่อนเริ่มยา ควรแก้ไขภาวะ acidosis, hypercapnia,
hypovolemia, hypoxia ของผู้ป่วยก่อน (ถ้ามี)
◦ ต้องเฝ้าระวังหากใช้ร่วมกับ Dilantin (Phenytoin) เพราะจะ
เกิดความดันต่า และหัวใจเต้นช้าลง ผู้ป่วยอาจช็อคได้
15-Aug-14 47
Dopamine
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
◦ ความดันโลหิตสูง
◦ ปลายมือ ปลายเท้าเขียว
◦ หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
15-Aug-14 48
Dopamine
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
◦ ระวังสับสนกับ Dobutamine
◦ ควรให้ทาง central vein ยกเว้นในผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้ทาง central line
ได้จึงต้องให้ทาง peripheral line
◦ ควรใช้Infusion pump
◦ อัตราเร็วสูงสุดในการให้ยา (Max rate) 20 mcg/Kg/min IV
◦ ห้ามหยุดยากะทันหันเพราะความดันจะตกทันที ควรค่อย ๆลดขนาดยา
ลง หรือลด rate of infusion ก่อนหยุดยา
15-Aug-14 49
Dopamine
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ บันทึก BP, HR ทุก 1 ชั่วโมงขณะให้ยา
◦ หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg , HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่
BP > 120/80 mmHg, HR > 180 ครั้ง/นาทีในเด็ก
ให้แจ้งแพทย์ทันที หรือตามแพทย์สั่ง
◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชม.
◦ ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1ชม. ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
15-Aug-14 50
Dopamine
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ หากพบว่าผู้ป่วยมี HR หรือ BP มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้
ข้างต้น ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับลดขนาดยาลง
◦ หากพบว่าผู้ป่ วยมีปลายมือ ปลายเท้าเขียว ให้พิจารณาปรับลด
ขนาดยาลง
◦ หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้
เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่
15-Aug-14 51
15-Aug-14 52
15-Aug-14 53
Heparin
 รูปแบบยา: Heparin 5000 Unit/mL (5 mL)
15-Aug-14 54
Heparin
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
◦ ต้านการแข็งตัวของเลือด
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ห้ามใช้ในผู้ป่ วยที่มีภาวะเลือดออกง่าย
◦ ไม่ควรให้ยาถ้าเกร็ดเลือด (platelet)ต่ากว่า 100,000/mm3
ยกเว้นกรณี keep arterial line หรือ central line
◦ ใช้ในหญิงมีครรภ์ได้เพราะยานี้ไม่ผ่านรก
◦ ระวังการหยิบสลับกับ insulin
15-Aug-14 55
Heparin
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ ภาวะเลือดออกง่าย
◦ เกร็ดเลือดต่า
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
◦ ควรให้ยาผ่าน infusion pump
◦ ห้ามให้ยา heparin พร้อมกับยาต่อไปนี้ ampicillin, ciprofloxacin,
vancomycin, cephalosporins, aminoglycosides, steroids,
antiemetics เพราะอาจตกตะกอน ควรคั่นด้วยการให้ NSS ก่อน
และหลังให้ยาแต่ละชนิดเสมอ
15-Aug-14 56
Heparin
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ ควรตรวจ infusion pump สม่าเสมอ อย่างน้อยทุก 2 ชม.
◦ ตรวจ aPTT ก่อนให้ยา หลังให้ยา 6 ชม. และทุก 24 ชม. ระหว่างที่
ให้ยา
◦ หากมีการปรับเปลี่ยนขนาดยา ควรตรวจ aPTT ซ้าหลังปรับยา 6
ชม.
◦ ตรวจ CBC ก่อนให้ยา หากให้ยาเกิน 7 วัน ควรตรวจซ้า
◦ ระหว่างที่ใช้ยานี้อยู่ควรระมัดระวังเรื่องเลือดออกง่ายและการเกิด
บาดแผลของผู้ป่วย เช่น การใส่ NG tube, การดูดเสมหะ การเจาะ
เลือดบ่อย ๆ
15-Aug-14 57
Heparin
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ หากพบว่ามีเลือดออกผิดปกติ พิจารณาหยุดยา heparin และ
ตรวจ CBC และ aPTT ทันที
◦ ในกรณีที่มีเลือดออกปริมาณไม่มาก และเป็นอวัยวะที่ไม่สาคัญ
ให้หยุดยา heparin ไว้จนกว่าเลือดหยุด และระดับ aPTT ลดลง
หากจาเป็นต้องให้ heparin ต่อ พิจารณาปรับลดขนาดยาลงจาก
เดิมและติดตามค่า aPTT อย่างใกล้ชิด
15-Aug-14 58
Heparin
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา (ต่อ)
◦ ในกรณีที่เลือดออกมาก หรือมีเลือดออกในอวัยวะที่สาคัญ ให้
หยุด heparin ทันที พิจารณาให้ยาแก้พิษ คือ protamine
sulphate
◦ ในกรณีที่ได้รับ heparin แบบ continuous infusion จะให้
protamine sulphate ในขนาด 1 mg ต่อทุก 100 unit ของ
heparin ที่ได้รับใน 2 ชม.
15-Aug-14 59
Insulin
 รูปแบบยา
1. Novorapid
2. Humalog
3. Actrapid HM
4. Humulin R
5. Gensulin R
6. Humulin N
7. Gensulin N
15-Aug-14 60
Insulin
 รูปแบบยา
8. Insulatard HM
9. Lantus
10. Novomix 30
11. Humalog Mix 25
12. Humulin 70/30
13. Mixtard 30 HM
14. Gensulin M
15-Aug-14 61
Insulin
15-Aug-14 62
Insulin
15-Aug-14 63
Insulin
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
◦ ลดน้าตาลในเลือดสาหรับผู้ป่วยเบาหวานทั้งชนิดที่ 1 และ
ชนิดที่ 2
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ก่อนเพิ่มหรือลดขนาดยา และก่อนให้ยา ควรตรวจสอบการ
รับประทานอาหารหรืออาการที่มีผลต่อระดับน้าตาลในเลือด
ก่อน เช่น อาเจียน
15-Aug-14 64
Insulin
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ ระดับน้าตาลในเลือดต่า ซึ่งมีอาการแสดงที่สาคัญ ได้แก่ ใจสั่น
เหงื่อออกมาก ตัวเย็น ซึมลง หมดสติ
 การบริหารยา
◦ Double check ชนิดและขนาดยาเพราะ Insulin มีหลายชนิด
◦ ระวังการหยิบสลับกับ Heparin
◦ หากบริหารยาแบบ IV drip ควรใช้infusion pump
◦ สอนวิธีดูดยาและวิธีฉีดยาที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแล หาก
ผู้ป่วยต้องนากลับไปใช้เองที่บ้าน
15-Aug-14 65
Insulin
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ ติดตามระดับน้าตาลในเลือด ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์ยกเว้น
ผู้ป่วยที่มีโรคประจาตัวอื่น ๆให้เทียบจาก baseline ของผู้ป่วย
เอง
◦ ภายใน 60 นาทีหลังฉีดยา ให้สังเกตอาการ Hypoglycemia เช่น
ใจสั่น เหงื่อออกมาก หน้ามืด เป็นลมหมดสติ
◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 2 ชม.
15-Aug-14 66
Insulin
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ หากพบว่ามีอาการ Hypoglycemia เช่น ใจสั่น เหงื่อออกมาก หน้ามืด
เป็นลม หมดสติ ให้เจาะ capillary blood glucose ทันที
◦ หากพบว่า capillary blood glucose มีค่าน้อยกว่า 60 mg/dL ถ้าได้รับ
insulin อยู่ ให้หยุดยา insulin ทันที และให้ปฏิบัติดังนี้
 ถ้ารู้สึกตัวดี ให้ดื่มน้าหวานอย่างน้อยครึ่งแก้ว ตรวจระดับ capillary
blood glucose ซ้า หลังจากรับประทานน้าหวาน 30 นาที หากระดับ
น้าตาลกลับมาสู่ภาวะปกติ ให้ตรวจ capillary blood glucose เป็น
ระยะๆ
15-Aug-14 67
Insulin
 หากพบว่า capillary blood glucoseมีค่าน้อยกว่า 60 mg/dL ถ้ายัง
ได้รับ insulin อยู่ ให้หยุดยา insulin ทันที และให้ปฏิบัติดังนี้ (ต่อ)
◦ ในกรณีที่ไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
พิจารณาให้ 50% glucose 40-50 ml IV push จากนั้นให้ติดตาม
อาการของผู้ป่วยว่าดีขึ้นหรือไม่
◦ พิจารณาให้ 10% dextrose ในอัตราเร็ว 80-100 ml/hr ตรวจระดับ
capillary blood glucose ซ้า หลังได้รับการรักษาไปแล้วประมาณ
30 นาที ปรับอัตราเร็วของสารน้าตามระดับน้าตาลและสภาพของ
ผู้ป่วยตรวจติดตาม capillary blood glucose เป็นระยะๆ
15-Aug-14 68
Potassium (K+)
 รูปแบบยา: 1. KCl inj. 10 mL ( K+ 2 mEq/mL)
2. K2HPO4 Inj. 20 mL ( K+ 1 mEq/mL)
15-Aug-14 69
Potassium (K+)
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
◦ ภาวะ Hypokalemia ที่ไม่สามารถให้ K+ ทดแทนโดยการกินได้
หรือ ในกรณีที่ K+ ในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว ต่ากว่า 2.5 mEq/L
และมีความเสี่ยงสูงจากการเต้นของหัวใจอย่างผิดปกติ
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ห้ามให้ IV push หรือ bolus
◦ ระมัดระวังในการใช้กับผู้ที่มีภาวะไตวายหรือมีปัสสาวะออกน้อย
◦ กรณีที่ให้ K2HPO4 เพื่อแก้ไขภาวะ Hypophosphatemia ต้อง
ระมัดระวังปริมาณ K+ ที่จะเพิ่มขึ้นด้วย
15-Aug-14 70
Potassium (K+)
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ อาการผู้ป่วยที่มี K+ สูง คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อน
แรง อึดอัด แน่นหน้าอก ชาตามปลายมือปลายเท้า
◦ หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
◦ ห้ามให้ IV push หรือ bolus
◦ ห้ามให้ IV ที่ผสม K+ ในการ loading
◦ ควรให้ยาผ่าน Infusion pump
15-Aug-14 71
Potassium (K+)
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ ถ้าให้ในอัตราเร็ว 10-20 mEq/hr ต้องวัด HR , BP ทุก 1 ชม.
พร้อมติดตาม EKG
◦ ถ้าให้ 40-60 mEq/L ในอัตราเร็ว 8-12 ชม. ให้วัด HR และ
BP ทุก 4-6 ชม.
◦ หากพบว่าผู้ป่วย BP ไม่อยู่ระหว่าง 160/110 และ 90/60 mmHg
หรือ HR ไม่อยู่ระหว่าง 60-100 ครั้ง/นาที ให้รีบรายงานแพทย์
15-Aug-14 72
Potassium (K+)
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ ติดตามค่า K+ เป็นระยะ ตามความรุนแรงของผู้ป่วย
◦ ซักถามและติดตามอาการของ K+ สูง ได้แก่ คลื่นไส้ ใจสั่น
หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง อึดอัด แน่นหน้าอก ชาตาม
ปลายมือปลายเท้าทุกวัน ในช่วงที่ผู้ป่วยได้รับ K+ อยู่
◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อย ทุก4 ชม.
15-Aug-14 73
Potassium (K+)
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ หากพบว่ามีอาการของ K+ สูง ให้หยุดการให้K+ ไว้ก่อน และ
ให้ตรวจวัดระดับ K+ในเลือดทันที
◦ หากพบว่าผู้ป่วยมีค่า K+ สูง
15-Aug-14 74
Potassium (K+)
 พิจารณาให้การรักษาภาวะ hyperkalemia ตามอาการและความ
รุนแรง โดยพิจารณารักษาดังนี้
◦ การรักษาที่ออกฤทธิ์ทันที ภายใน 1-3 นาที คือการให้ 10%
calcium gluconate 10 ml IV push ช้าๆ เพื่อไปต้านฤทธิ์ของ K+
ที่เยื่อหุ้มเซลล์และ monitor EKG ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง
พิจารณาให้ 10% calcium gluconate ซ้าได้
◦ การรักษาที่ออกฤทธิ์เร็วปานกลาง ภายในเวลา 10-30 นาที โดยให้
potassium ในเลือดถูกดึงเข้าเซลล์คือการให้ 50% glucose 40-50
ml+ regular insulin (RI) 5-10 unit IV push และให้ติดตามระดับ
Capillary blood glucose
15-Aug-14 75
Potassium (K+)
 พิจารณาให้การรักษาภาวะ hyperkalemia ตามอาการและความรุนแรง
โดยพิจารณารักษาดังนี้ (ต่อ)
◦ การรักษาที่ออกฤทธิ์ช้า โดยให้ Cation exchange resin ได้แก่
kayexalate หรือ kalimate 30-60 g จะออกฤทธิ์ภายในเวลา
30 นาที หรือหากให้รับประทาน จะออกฤทธิ์ภายใน 2 ชม.โดย
kayexalate นั้นจะต้องละลายใน sorbitol ทุกครั้ง
◦ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีการทางานของไตบกพร่องหรือไม่สามารถแก้ไข
ภาวะ hyperkalemia ได้ให้ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคไต พิจารณา
ทา HD
 ตรวจติดตามค่า K+ เป็นระยะทุก 4-6 ชม.
 หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน
ตาแหน่งในการให้ยาใหม่
15-Aug-14 76
Magnesium sulfate Injection
 รูปแบบยา
1. 50% MgSO4 inj. 2 mL
2. 20% MgSO4 inj. 20 mL
3. 50% MgSO4 inj. 20 mL
4. 4% MgSO4 in D5W 1000 mL
15-Aug-14 77
Magnesium sulfate Injection
15-Aug-14 78
Magnesium sulfate Injection
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
◦ pre-eclampsia , eclampsia
◦ hypomagnesemia
◦ หัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ Torsades de Pointes
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ Magnesium sulfate มีหลายความแรง และหลายขนาดบรรจุ จึง
ต้องระมัดระวังการจ่ายผิด
15-Aug-14 79
Magnesium sulfate Injection
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ คลื่นไส้อาเจียน
◦ หน้าแดง เหงื่อออก กระหายน้า
◦ ท้องเสีย ความดันโลหิตต่า กดการทางานของระบบกล้ามเนื้อ
◦ กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต
◦ กดระบบประสาทส่วนกลาง มึนงง สับสน ง่วงหลับ
◦ กดการหายใจ กดการทางานของหัวใจ เกิด heart block ได้
15-Aug-14 80
Magnesium sulfate Injection
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
◦ ในกรณีที่ต้องให้ IV drip ควรใช้infusion pump หรือ syringe
pump
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ ต้องมีการตรวจวัดระดับ magnesium ในเลือดสมอง หลัง
loading dose และระหว่างให้ยา ค่าปกติ 1.9-2.9 mg/dL แต่
กรณี preeclampsia therapeutic level อยู่ที่ 4-8 mg/dL
15-Aug-14 81
Magnesium sulfate Injection
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) (ต่อ)
◦ กรณี Pre-eclampsia, eclampsia หรือการให้ยาขนาดสูงกว่า 1
gm/hr ให้วัด HR และ RR ทุก 15 นาที 2 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชม.
กรณีอื่นๆให้วัดทุก 4 ชม. ถ้าพบความผิดปกติให้แจ้งแพทย์
 RR ควรมากกว่า 14 ครั้ง/นาที
 ในผู้ใหญ่ถ้าชีพจรต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที ให้แจ้งแพทย์
◦ Urine output > 100 mL/ 4 hr (หรือไม่ต่ากว่าวันละ 600 mL)
15-Aug-14 82
Magnesium sulfate Injection
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) (ต่อ)
◦ ตรวจ Deep tendon reflex โดยดู knee jerk reflex ทุก 4 ชม.
ถ้า negative ให้ทา bicep jerk reflex ถ้า negative ให้แพทย์
พิจารณาหยุดยา
◦ หากพบว่ามีอาการแสดงที่บ่งว่าระดับ Magnesium สูงเกินไป
ให้รีบแจ้งแพทย์ทันที
◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชม.
15-Aug-14 83
Magnesium sulfate Injection
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ เมื่อพบอาการแสดงที่บ่งว่าระดับ Magnesium สูงเกินไป ให้พิจารณา
หยุดยาทันที และตรวจระดับ Magnesium ในเลือด
◦ กรณีที่พบว่าระดับ Magnesium ในเลือดสูงกว่าค่าปกติ การแก้ไขให้
หยุดยาทันที ซึ่งในคนที่การทางานของไตเป็นปกติ จะสามารถปรับตัว
ให้ระดับ Magnesium กลับมาเป็นปกติ ยกเว้นในกรณีของผู้ป่วยที่มี
การทางานของไตบกพร่อง ให้ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางโรคไตเพื่อ
พิจารณาฟอกไต (dialysis)
15-Aug-14 84
Morphine
 รูปแบบยา
◦ Morphine syrup 2 mg/mL
◦ Morphine inj. 1 mg/mL, 10 mg/mL
◦ MST tablet 10, 30, 60 mg
◦ Kapanol cap 20, 50, 100 mg
15-Aug-14 85
Morphine
15-Aug-14 86
Morphine
15-Aug-14 87
Morphine
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
◦ ระงับปวด
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ห้ามใช้ในผู้ป่ วยหอบหืดรุนแรงและเฉียบพลัน ความดันในสมองสูง
ช็อค และไตวาย
◦ ระมัดระวังการใช้ในหญิงให้นมบุตร หากจาเป็นต้องใช้ในหญิงให้นม
บุตร ควรเฝ้าระวังการกดการหายใจในทารกด้วย
◦ ระมัดระวังการใช้กับผู้ใหญ่ที่ปัสสาวะน้อยกว่าวันละ 600 ซีซี หรือผู้ที่
ไตบกพร่องหรือเสีย
◦ ระมัดระวังพิเศษในผู้ป่วยสูงอายุ เด็ก ผู้ป่วยโรคหัวใจ ไต ตับ
15-Aug-14 88
Morphine
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ ถ้า overdose ผู้ป่วยจะง่วงซึมมากและหายใจช้า และม่านตาหดเล็กขนาด
เท่ารูเข็ม
◦ คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก ง่วงซึม เบื่ออาหาร วิงเวียน ตาพร่า หัวใจเต้นช้า
เหงื่อออก คัน
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยาก่อนให้ยาทุกครั้ง
◦ หากเป็นการให้แบบ IV push ควรฉีดช้าๆ ไม่ต่ากว่า 5-10 นาที
◦ หากเป็น IV drip ควรใช้infusion pump หรือ syringe pump
◦ ควรให้ยาก่อนที่จะปวดที่สุดจึงจะได้ผลดี
15-Aug-14 89
Morphine
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
 ถ้าเป็น IV push ให้ monitor
◦ Heart rate
◦ respiratory rate
◦ pain score
◦ sedation score
 ทุก 5 นาที รวม 4 ครั้ง
 จากนั้น ทุก 30 นาที รวม 2 ครั้ง
 การ monitor หลังจากนี้ขึ้นกับภาวะของผู้ป่วยและคาสั่งแพทย์
15-Aug-14 90
Morphine
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) (ต่อ)
 ถ้าเป็น IV continuous drip ให้ monitor
◦ ทุก 1 ชั่วโมง รวม 4 ครั้ง
◦ จากนั้น monitor ทุก 4 ชั่วโมง
 ถ้าเป็น SC or IM
◦ monitor ทุก 15 นาที รวม 4 ครั้ง
◦ จากนั้น ทุก 30 นาที รวม 2 ครั้ง
 หาก RR < 10/min , HR< 60/min ให้แจ้งแพทย์ทันที
15-Aug-14 91
Morphine
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ ถ้าพบว่ามีอาการของการได้รับยามากเกินไป คือ มีอาการง่วงซึมมาก
และหายใจช้า และม่านตาหดเล็กขนาดเท่ารูเข็ม ถ้าหายใจ > 10 ครั้ง/
นาที (เด็กอายุต่ากว่า 1 ปี 30 ครั้ง/ นาทีหรือ เด็กอายุเกิน 1 ปี 20 ครั้ง/
นาที) อาจกดการหายใจได้ ให้แจ้งแพทย์ทันที ถ้าให้ยาเป็น continuous
drip อยู่ ให้หยุดยาทันที
◦ ถ้าจะให้ยา Morphine กินเป็นระยะเวลานาน ควรให้ยาระบายร่วมด้วย
เพื่อป้องกันอาการท้องผูก
15-Aug-14 92
Morphine
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ ยาแก้พิษ คือ Naloxone ขนาดยาในผู้ใหญ่ 0.2-0.4 mg IV , IM,
SC ในเด็ก 0.01 mg/Kg ให้ซ้าได้ทุก 2-3 นาที หยุดแก้เมื่อ
หายใจได้เร็วขึ้นกว่า 10 ครั้งต่อนาที
◦ ควรติดตามต่ออย่างใกล้ชิดเพราะฤทธิ์ของ Naloxone มักหมด
ไปก่อน (ประมาณครึ่ง-1 ชั่วโมง) ฤทธิ์ของ Morphine ทาให้
เกิดการง่วงซึมและกลับมากดการหายใจได้อีก
15-Aug-14 93
Warfarin (Orfarin®)
 รูปแบบยา
1. Orfarin 3 mg tablet
2. Orfarin 5 mg tablet
15-Aug-14 94
Warfarin (Orfarin®)
 ข้อบ่งใช้ (Indication)
◦ ต้านการแข็งตัวของเลือด
 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
◦ ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์
◦ ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาเลือดออกง่าย
◦ ระวังการใช้ในผู้สูงอายุ เพราะเส้นเลือดเปราะ ผิวหนังบาง
◦ ยานี้มีปฏิกิริยากับยาหลายขนาน
15-Aug-14 95
Warfarin (Orfarin®)
 อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
◦ เลือดออกง่าย เลือดออกที่ต่างๆเช่น ในปาก ใต้ผิวหนัง เลือด-
กาเดา ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นสีดา
 การบริหารยา
◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
◦ ให้รับประทานวันละครั้งก่อนนอน หรือตอนเย็น
◦ กรณี OPD ตรวจสอบผู้ป่วยว่าเข้าใจในขนาดยาและวิธี
รับประทาน
15-Aug-14 96
Warfarin (Orfarin®)
 การบริหารยา (ต่อ)
◦ สอนผู้ป่วยเรื่องห้ามสูบบุหรี่ ห้ามดื่มสุรา ไม่ควรกินอาหาร
สมุนไพร เช่น โสม ขิง ใบแปะก๊วย น้ามันปลา เพราะจะเสริม
ฤทธิ์ Warfarin
◦ สอนผู้ป่วยให้แจ้งแพทย์/ ทันตแพทย์ทุกครั้งว่าใช้ยา Warfarin
◦ สอนให้ผู้ป่วยระวังการเกิดบาดแผล และสอนวิธีห้ามเลือด
◦ สอนผู้ป่วยเรื่องการสังเกตอาการ bleeding, clotting และหากมี
ความผิดปกติควรมาพบแพทย์
15-Aug-14 97
Warfarin (Orfarin®)
 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
◦ ตรวจวัด INR เมื่อมีการเปลี่ยนขนาดยา หรือเมื่อจาเป็นต้องใช้
ยาอื่นที่มีปฏิกิริยากับ Warfarin และตรวจทุกครั้งที่นัด
◦ สังเกตอาการ bleeding ได้แก่ จ้าเลือด เลือดออกที่ต่างๆเช่น ใน
ปาก ใต้ผิวหนัง เลือดกาเดา ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็น
สีดา
◦ สังเกตอาการ clotting ได้แก่ ขาบวม ชา ปวดเมื่อย ไม่มีแรง ตา
พร่า
15-Aug-14 98
Warfarin (Orfarin®)
 การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือความคลาดเคลื่อนทาง
ยา
◦ หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการของ bleeding หรือ clotting ให้ส่ง
ตรวจระดับ INR ในเลือดทันที
◦ หากพบว่าค่า INR สูงกว่าค่าปกติที่ควรจะเป็นของผู้ป่วยให้
ปฏิบัติดังนี้
 ในกรณีที่มีเลือดออกมากผิดปกติ พิจารณาให้ Vitamin K1 10
mg IV push ช้า ๆ ร่วมกับพิจารณาให้ Fresh Frozen Plasma
(FFP) หรือ Prothrombin complex concentration ขึ้นกับความ
เร่งด่วนและความรุนแรงของผู้ป่ วย
15-Aug-14 99
ในกรณีที่ไม่มีเลือดออกมากผิดปกติ ให้แก้ไขตามระดับ INR ดังนี้
15-Aug-14 100
Pethidine
 รูปแบบ: Pethidine Injection (50 mg/ml)
 ข้อบ่งใช้:
◦ บรรเทาอาการปวดชนิดปานกลาง-รุนแรง
◦ ใช้ร่วมกับยาระงับความรู้สึกเพื่อการผ่าตัดหรือการทาหัตถการ
ที่ก่อให้เกิดความปวด (Preanesthetic medication)
15-Aug-14 101
Pethidine
 การบริหารยา: ใช้บรรเทาอาการปวด
◦ ผู้ใหญ่: ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเข้าชั้นใต้ผิวหนัง 25-100 มก. ทุก
3-4 ชม.
◦ ถ้าจาเป็นต้องฉีดเข้าหลอดเลือดดา ขนาด 10-30 มก. ให้เจือจาง
ยาในความเข้มข้น 10 มก. /มล. และแบ่งให้หลายครั้ง โดย
ฉีดเข้าหลอดเลือดดาอย่างช้า ๆ นาน 4-5 นาที
◦ เด็ก : ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเข้าชั้นใต้ผิวหนัง 0.5-2 มก./นน. 1
กก. ให้ยาทุก 3-4 ชม. โดยไม่เกิน 100 มก./ครั้ง
15-Aug-14 102
Pethidine
 การติดตามผู้ป่ วย (Monitoring)
◦ ตรวจสอบ vital sign หลังจากให้ยา และให้ผู้ป่วยนอนขณะให้
ยาและให้นอนพัก 30 นาทีหลังให้ยา
◦ RR < 14 ครั้ง/นาที
◦ BP < 90/60 mmHg (orthostatic hypotension)
◦ อาการปวดลดลง
◦ หมดสติ หลับปลุกไม่ตื่น
15-Aug-14 103
Pethidine
 การแก้ไขเมื่อได้รับยาเกินขนาด
◦ ถ้า overdose จะมีอาการง่วงซึมมาก หายใจช้า และม่านตา
หดเล็กเท่ารูเข็ม ถ้าหายใจ < 10 ครั้ง/นาที (เด็กอายุต่ากว่า 1 ปี
30 ครั้ง/นาที เด็กอายุเกิน1 ปี 20 ครั้ง/นาที) อาจกดการหายใจ
◦ ยาแก้พิษคือ naloxone ผู้ใหญ่ 0.2-0.4 mg ให้ทาง IV, IM หรือ
SC ส่วนเด็ก 0.01 mg/kg ให้ซ้าได้ทุก 2-3 นาที หยุดให้ยาแก้
เมื่ออัตราการหายใจ > 10 ครั้ง/นาที
15-Aug-14 104
Amiodarone
 รูปแบบ : Amiodarone injection 150 mg/3 ml
15-Aug-14 105
Amiodarone
 ข้อบ่งใช้ :
◦ Atrial และ Ventricular tachyarrythymia
◦ Rapid atrial arrythymia (AF with RVR) ในผู้ป่วย impair LV function
ที่ใช้Digoxin แล้วไม่ได้ผล
 การบริหารยา :
◦ Cardiac arrest IV push ฉีดยาให้เร็วร่วมกับให้สารน้าไล่ตามไปอีก
20 ml. หลังจากนั้นก็ยกแขนข้างนั้นขึ้นสูงนาน 10-20 วินาที เพื่อให้ยา
เข้าสู่หัวใจได้เร็วขึ้น
◦ : wide complex tachycardia (stable) IV infusion
15-Aug-14 106
Amiodarone
 ข้อห้ามใช้ :
◦ hypersensitivity ต่อ amiodarone หรือ iodine
◦ severe sinus-node dysfunction,bradycardia
◦ cause syncope
◦ cardiogenic shock
15-Aug-14 107
Amiodarone
15-Aug-14 108
Diazepam
 ชื่อการค้า Valium®
 ข้อบ่งใช้
◦ การจัดการสภาวะวิตกกังวลทั่วไป,panic disorder, การนาสลบ
ก่อนการผ่าตัด, การสลบชั่วคราว, การทาให้ความจาเสื่อม
ชั่วคราว, การรักษา status epilepticus, อาการถอนยาจาก
alcohol, คลายกล้ามเนื้อ
 รูปแบบยาที่มีในโรงพยาบาล
◦ Injection: 10 mg/ 2 ml
15-Aug-14 109
Diazepam
 ขนาดใช้ยา: กรณีคลายกังวล คลายกล้ามเนื้อและสงบระงับ
Oral IM/IV
เด็ก • 0.12-0.8 mg/kg/day ทุก 6-8 ชม. • 0.04-0.3 mg/kg/day ทุก 2-4
ชม. โดยภายใน 8 ชม.ไม่เกิน 0.6
mg/kg
ผู้ใหญ่ • 2-10 mg วันละ 2-4 ครั้ง • 2-10 mg ซ้าได้ทุก 3-4 ชม.
ผู้สูงอายุ • กรณีคลายกังวลเริ่ม 1-2 mg วันละ 1-2
ครั้งแล้วค่อยๆ เพิ่มขนาดขึ้น แต่ไม่เกิน 10
mg/day
• กรณีใช้ในการคลายกล้ามเนื้อ 2-5 mg
วันละ 2-4 ครั้ง
15-Aug-14 110
Diazepam
 การปรับขนาดยาในผู้ป่ วยโรคตับ
◦ ผู้ป่วยโรคตับแข็งลดขนาดยาลง 50% และควรหลีกเลี่ยงในโรค
ตับรุนแรงและเฉียบพลัน
 ข้อควรระวัง
◦ ในผู้ป่วยที่ได้รับยาที่กดระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ป่วยที่มี
ระดับ albumin ต่า การทางานของไตบกพร่อง ผู้ป่วยสูงอายุ
และเด็กอ่อน
15-Aug-14 111
Diazepam
15-Aug-14 112
Diazepam
 ข้อห้ามใช้
1. ผู้ป่วยความดันโลหิตต่าขั้นรุนแรง ( systolic < 90 mmHg )
2. ผู้ป่วยที่มี AV block ระดับที่ 2 หรือ 3 หรือมี sick sinus
syndrome มี (sinus bradycardia ต่อเนื่องต่ากว่า 50 ครั้ง/นาที),
มี sinus arrest หรือ SA block
3. ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวขั้นรุนแรง
4. ผู้ป่วยที่มี cardiomyopathy ขั้นรุนแรง
5. หญิงมีครรภ์ หรือให้นมบุตร
6. ผู้ป่วยที่แพ้ยานี้
15-Aug-14 113
Terbutaline
 รูปแบบ : Terbutaline injection 0.5 mg/ml
15-Aug-14 114
Terbutaline
 ข้อบ่งใช้ : ยับยั้งการบีบตัวของมดลูก ป้องกันการคลอดก่อน
กาหนด (preterm labour)
 การบริหารยา : IV infusion ให้นานอย่างน้อย 12 ชม. และติดตาม
การหยุดบีบตัวของมดลูก การปรับขนาดยาต้องทาอย่าง
ระมัดระวัง ปรับตามการตอบสนองต่อการบีบตัวของมดลูก
ความดันโลหิตของแม่ อัตราการเต้นของหัวใจของแม่และเด็ก
 ข้อห้ามใช้ :
◦ Cardiac arrhythmia associate with tachycardia
◦ Tachycardia from digitalis intoxication
15-Aug-14 115
Terbutaline
15-Aug-14 116
ตัวอย่าง
15-Aug-14 117
15-Aug-14 118
15-Aug-14 119

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (20)

Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 

Ähnlich wie Ppt. HAD

แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
Acute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol PoisoningAcute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol Poisoningyinyinyin
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Gulidline patient obestetic รพ.พุทธโสธร
Gulidline patient obestetic  รพ.พุทธโสธรGulidline patient obestetic  รพ.พุทธโสธร
Gulidline patient obestetic รพ.พุทธโสธรssuser94b344
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Goldeneyes ToTo
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
Drug in pregnancy and lactation 0
Drug in pregnancy and lactation 0Drug in pregnancy and lactation 0
Drug in pregnancy and lactation 0PichayaR
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555clio cliopata
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 

Ähnlich wie Ppt. HAD (20)

หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
Acute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol PoisoningAcute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol Poisoning
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Had12may2014 2
Had12may2014  2Had12may2014  2
Had12may2014 2
 
Pih
PihPih
Pih
 
Gulidline patient obestetic รพ.พุทธโสธร
Gulidline patient obestetic  รพ.พุทธโสธรGulidline patient obestetic  รพ.พุทธโสธร
Gulidline patient obestetic รพ.พุทธโสธร
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Drug in pregnancy and lactation 0
Drug in pregnancy and lactation 0Drug in pregnancy and lactation 0
Drug in pregnancy and lactation 0
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 

Mehr von Prachaya Sriswang

Mehr von Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 

Ppt. HAD

  • 1. แนวทางการจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง ( HIGH ALERT DRUGS ) ในโรงพยาบาล นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง 15-Aug-14 1
  • 2. High alert drug  ยาที่มีความเสี่ยงสูง (high alert drug) หมายถึง ◦ ยาที่เสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายหรือผลเสียต่อผู้ป่วย ที่รุนแรง ◦ ถ้าหากมีความผิดพลาดในการสั่งใช้ยา คัดลอกคาสั่งใช้ ยา จ่ายยา หรือการให้ยา 15-Aug-14 2
  • 3. เกณฑ์ในการพิจารณาเลือกยาที่มีความเสี่ยงสูง  เป็นยาที่มีดัชนีการรักษาแคบ ( Narrow Therapeutic Index )  เป็นยาที่มีอุบัติการณ์การรายงานความคลาดเคลื่อนทางยาสูง การรับยาเข้าโรงพยาบาล  ยาความเสี่ยงสูงต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ ควบคุมดูแลเรื่องยาของโรงพยาบาล โดยคานึงถึงความเสี่ยงใน การนามาใช้และการเตรียมการป้องกันอย่างเหมาะสม  ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่ถูกส่งมายังโรงพยาบาลต้องตรวจรับโดย เภสัชกรที่ได้รับมอบหมาย 15-Aug-14 3
  • 4. การเก็บรักษา  ยาความเสี่ยงสูงทุกชนิดต้องเก็บรักษาโดยแยกจากยาอื่นๆ  ต้องมีสัญลักษณ์เตือนบุคลากรว่าเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง ใช้ สติกเกอร์สีแสดสะท้อนแสง เขียนข้อความว่า“ยาความเสี่ยงสูง”  จากัดการเข้าถึงยาที่มีความเสี่ยงสูงกลุ่มยาเสพติดให้โทษ โดยต้อง ใส่ในตู้หรือลิ้นชักที่มีกุญแจ และมีการตรวจสอบสม่าเสมอ 15-Aug-14 4
  • 5. แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง  การสั่งใช้ยาโดยแพทย์ ◦ เขียนคาสั่งใช้ยาอย่างครบถ้วนและชัดเจน เช่น ระบุความแรง วิถีทางให้ยา และความถี่ของการให้ยา ◦ หลีกเลี่ยงการใช้คาย่อที่ไม่เป็นสากล ◦ หลีกเลี่ยงการสั่งจ่ายยาโดยวาจา/ ทางโทรศัพท์หากจาเป็นควร มีการทวนซ้าทั้งชื่อยา ขนาด วิธีการให้ และระยะเวลาการให้ จากผู้รับคาสั่ง ◦ แพทย์ควรมีข้อมูลผู้ป่วยอย่างครบถ้วนก่อนสั่งใช้ยาเพื่อให้การ สั่งใช้ยามีความเหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคนมากที่สุด 15-Aug-14 5
  • 6. แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง  การสั่งใช้ยาโดยแพทย์ (ต่อ) ◦ ควรมีการวงเล็บ mg/kg ขนาดที่แพทย์ต้องการไว้ข้างหลังชื่อยา เพื่อการตรวจทานการคานวณความเข้มข้นซ้าได้และหากเป็น ยาเม็ดควรมีการระบุ mg ที่แพทย์ต้องการใช้ทุกครั้ง เพื่อให้ สามารถตรวจทานขนาดยาซ้าได้ ◦ กาหนดขนาด อัตราเร็วของการบริหาร และน้ายาที่ใช้ผสมทุก ครั้งที่มีการบริหาร ◦ ควรมีการปรับขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทางานของ ตับและไตผิดปกติ 15-Aug-14 6
  • 7. แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง  การคัดลอกคาสั่งใช้ยา ◦ ทบทวนการสั่งใช้ยาให้เข้าใจทั้งชื่อ ขนาดยา และวิธีการให้ยา หากไม่ชัดเจนควรติดต่อแพทย์ผู้เขียนคาสั่งโดยตรง เพื่อให้ได้ ข้อมูลที่ถูกต้องก่อนลอกคาสั่งลงในการ์ดยา ◦ คัดลอกคาสั่งแพทย์ลงในใบสั่งยาให้ครบถ้วนทั้งชื่อยา ขนาดยา และวิธีการให้ยา โดยหลีกเลี่ยงการใช้คาย่อที่ไม่เป็นสากล 15-Aug-14 7
  • 8. แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง  การตรวจสอบยาและการจ่ายยา ◦ ตรวจสอบความถูกต้องทั้งชื่อผู้ป่วย ชนิดยา ขนาดยา และ วิธีการให้ยา อย่างน้อย 2 ครั้งก่อนจ่ายยา หากไม่ชัดเจนให้ ติดต่อกลับไปที่หอผู้ป่วย หรือแพทย์ผู้สั่งใช้ยาโดยตรง ◦ ตรวจสอบวันหมดอายุของยา ◦ ตรวจสอบความถูกต้องของการเตรียมยา เช่น การใช้ตัว ทาละลายที่เหมาะสมในกรณีที่ต้องละลายหรือเจือจางยา ◦ หลีกเลี่ยงการรับคาสั่งใช้ยาทางโทรศัพท์ โดยคาสั่งใช้ยาต้อง เป็นลายลักษณ์อักษร 15-Aug-14 8
  • 9. แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง  การให้ยา ◦ จัดเตรียมยาสาหรับผู้ป่วยตามคาสั่งแพทย์ ◦ ให้ยาอย่างถูกต้องตามหลัก 6 R คือ ถูกต้องตามชนิดของยา ถูกต้องตามขนาดยา ถูกต้องตามวิถีทาง ถูกต้องตามเวลา ถูกต้องตามผู้ป่ วย และการบันทึกยาถูกต้อง ◦ ประเมินผลการตอบสนองของยานั้น และสังเกตอาการ ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา หากเกิดขึ้นให้รายงานแพทย์และ แจ้งให้เภสัชกรทราบ 15-Aug-14 9
  • 10. แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง  การเก็บรักษา ◦ เก็บรักษายาให้เหมาะสมกับชนิดของยา เช่น ยาที่ต้องแช่เย็น ต้องเก็บในตู้เย็น ยากันแสงต้องเก็บในซองสีชา หรืออยู่ใน ภาชนะบรรจุที่ป้องกันแสง ◦ ควรแยกยากลุ่มนี้ให้ห่างกับยาที่มีรูปลักษณ์ภายนอกของ ภาชนะบรรจุคล้ายคลึงกัน เพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการจ่าย หรือเตรียมยา ◦ ติด sticker สีแดงที่ภาชนะที่เก็บยา เพื่อให้ชัดเจนและเพิ่มความ ระวังในการใช้ยามากขึ้น 15-Aug-14 10
  • 11. High alert drug จัดแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ  วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและยาเสพติดให้โทษ ◦ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ได้แก่ dormicum, diazepam, ketalar ephedrine ◦ ยาเสพติดให้โทษ ได้แก่ morphine, kapanol, pethidine, fentanyl  ยาเคมีบาบัด ◦ Taxotere, campto, 5-FU, xeloda, oxalip, lipodox, MTX 15-Aug-14 11
  • 12. High alert drug จัดแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ  ยาฉีดอินซูลิน ◦ Insulatard (NPH), actrapid (RI), lantus (insulin glagine)  ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ◦ Heparin, clexane, warfarin  ยาที่เป็นสารละลายเกลือแร่ความเข้มข้นสูง ◦ KCl, MgSO4, 3%NaCl, calcium gluconate 15-Aug-14 12
  • 13. High alert drug จัดแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ  ยาคลายกล้ามเนื้อที่ใช้ในการดมสลบ ◦ Tracium, nimbex, esmoron, succinyl, siccum, thiopental, etomidate  ยาที่มี therapeutic index แคบ ◦ Theophylline, phenytoin, digoxin  ยา cardiovascular drug ◦ Adenocor, adrenaline, atropine, cardipine, cordarone, dopamine, dobutex, levophed, nitrocine, sodium nitroprusside, streptokinase 15-Aug-14 13
  • 14. แนวทางแก้ปัญหาและการจัดการ  แพทย์ ◦ แพทย์ที่ต้องการสั่งใช้ยากลุ่มนี้ ต้องเขียนใบสั่งจ่ายวัตถุ ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภทที่ 2 ตามแบบฟอร์มที่ โรงพยาบาลจัดเตรียมไว้ให้ 1 ใบ เพื่อประกอบกับการสั่งยา  เภสัชกร ◦ ควบคุมการเบิกจ่ายตามกฎเกณฑ์ที่โรงพยาบาลกาหนด ◦ แยกพื้นที่เก็บยาในกลุ่มนี้ไว้ในที่มิดชิดและมีกุญแจล็อค ◦ กาหนดให้เภสัชกรเท่านั้นเป็นผู้นายาจากสถานที่เก็บยามาจ่าย แก่ผู้ป่วย 15-Aug-14 14
  • 15. แนวทางแก้ปัญหาและการจัดการ  พยาบาล ◦ กรณีผู้ป่วยใน ให้แยกใบเก็บยาในที่มิดชิด และควบคุมการ เบิกจ่ายอย่างเคร่งครัด ◦ หากมียาเหลือจากการที่แพทย์หยุดคาสั่งใช้ยา ให้ส่งคืนงาน เภสัชกรรม ไม่ควรเก็บคงไว้ที่หอผู้ป่วย 15-Aug-14 15
  • 18. Adrenaline  รูปแบบ: Adrenaline Injection (1mg/1ml) = (1:1000) 15-Aug-14 18
  • 19. Adrenaline การบริหารยา เด็ก 0.05 – 1 mcg/kg/min , Maximum dose 1-2 mcg/kg/min ผู้ใหญ่ 4 mcg/kg/min แล้วค่อยๆ เพิ่มจนสามารถควบคุมอาการได้ Cardiac arrest 1 mg IV และให้ซ้าทุก 3-5 นาที Anaphylaxi 0.3 – 0.5 mg IM/SC ทุก 15 -20 นาที Bronchospasm 0.1 – 0.5 mg IM/SC ทุก 10 -15 นาที จนถึง 4 ชม. 0.1-1 % solution พ่นผ่าน nebulizer ทุก 15 นาที จนถึง 4 ชม. 15-Aug-14 19
  • 20. Adrenaline  ข้อบ่งใช้ (Indication) ◦ Cardiopulmonary resuscitation (CPR) ◦ Anaphylaxis ◦ Hypotension  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง ◦ ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคของหลอดเลือดส่วนปลาย (peripheral vascular disease) 15-Aug-14 20
  • 21. Adrenaline  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ ◦ ความดันโลหิตสูง ◦ ปลายมือ ปลายเท้าเขียว ◦ หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา ◦ ถ้าให้ IV drip ควรใช้Infusion pump ◦ ควรให้ทางเส้นเลือดใหญ่ 15-Aug-14 21
  • 22. Adrenaline  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ ในกรณี CPR ให้บันทึก Vital signs ทันที เมื่อผู้ป่วยเริ่มมีชีพจร ◦ ในกรณี Anaphylaxis ให้บันทึก Vital signs ทุก 10 นาที จนครบ 30 นาที ◦ ในกรณี Hypotension ที่มีการให้ยาแบบ IV drip ให้บันทึก Vital ทุก 1 ชม. ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา ◦ หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg, HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ BP > 120/80 mmHg, HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที ◦ ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา 15-Aug-14 22
  • 23. Adrenaline  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ BP>160/90 mmHg, HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ ◦ BP > 120/80 mmHg, HR > 180 ครั้ง/นาทีในเด็ก ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับลดขนาดยาลง ◦ หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้ เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่ 15-Aug-14 23
  • 24. Calcium Gluconate  รูปแบบยา: Calcium gluconate Injection 1 gm/10 mL (0.45 mEq/mL) 15-Aug-14 24
  • 25. Calcium Gluconate  การบริหารยา Hypocalcemia: Neonates I.V. 200 – 800 mg/kg/day แบบ continuous infusion หรือ แบ่งให้ 4 ครั้ง (maximum : 1 gm /dose) Infants & children I.V. 200 – 500 mg/kg/day แบบ continuous infusion หรือ แบ่งให้ 4 ครั้ง (maximum : 2-3 gm/dose) Adults I.V. 2 – 15 gm/24 hour แบบ continuous infusion หรือ แบ่งให้เป็นครั้งๆ 15-Aug-14 25
  • 26. Calcium Gluconate  การบริหารยา (ต่อ) Hypocalcemic tetany: Neonates, Infants & children I.V. 100 – 200 mg/kg/dose นานกว่า 5-10 นาที สามารถให้ซ้าได้ทุก 6-8 ชม. หรือ ให้แบบ I.V. infusion ที่ขนาด 500 mg/kg/day Adults 1 – 3 gm (4.5 – 16 mEq) Hyperkalemia (Serum K > 7 mEq/L ) Ca glucanate 0.5 – 1 g (5-10 ml) IV push ช้าๆ (2-5 นาที) monitor EKG 15-Aug-14 26
  • 27. Calcium Gluconate  ข้อบ่งใช้ (Indication) 1. ในผู้ป่วยที่มีอาการของภาวะ hypocalcemia 2. รักษาภาวะ K+ ในเลือดสูง ที่มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้า หัวใจ  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ถ้าผู้ป่วยได้รับ digoxin อยู่ อาจเพิ่มฤทธิ์ของ digoxin จนเกิด พิษได้ 15-Aug-14 27
  • 28. Calcium Gluconate  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ◦ หากมี Ca ++ สูง อาจทาให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดบริเวณ กระดูก ◦ ถ้ามียารั่วซึมออกมานอกหลอดเลือด จะทาให้เกิดเนื้อเยื่อตาย 15-Aug-14 28
  • 29. Calcium Gluconate  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา ◦ ควรแยกเส้นการให้ IV กับยาอื่น ๆ เพราะอาจเกิดการ ตกตะกอนเมื่อผสมกับยาอื่น ๆได้โดยเฉพาะ phosphate ◦ ควรให้ยาทางเส้นเลือดใหญ่ ฉีดช้าๆ ประมาณ 15 นาที หรือ เจือจาง 1 mg/mL หยดเข้าเส้นเลือดดา 15-Aug-14 29
  • 30. Calcium Gluconate  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ กรณีแก้ไข Hyper K+ อาจต้องให้ Ca++ อย่างเร็ว ควร monitor EKG ขณะฉีด IV push ช้าๆ ◦ กรณีแก้ไขภาวะ Hypocalcemia ควรมีการตรวจติดตามระดับ Ca++ หลังได้รับยา ตามความรุนแรงของผู้ป่วย ◦ ซักถามอาการที่สัมพันธ์กับการมี Ca++ สูง เช่น อาการ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดกระดูก หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการ ดังกล่าว ให้รีบแจ้งแพทย์ทันที ◦ ตรวจดู IV site บ่อย ๆ ทุก 1 ชม. ตลอดระยะเวลาการให้ยา 15-Aug-14 30
  • 31. Calcium Gluconate  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา ◦ มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดกระดูก หัวใจเต้นผิดจังหวะ หยุด ยาทันที ร่วมกับตรวจระดับCalcium ในเลือดทันที ◦ มีระดับ Calcium ในเลือดสูงให้หยุดยาทันที ร่วมกับเร่งการขับถ่าย Calcium ออกจากร่างกายโดยให้สารน้าชนิด Normal saline ทาง IV ในอัตราเร็วเริ่มต้น 200-300 ml/hr หากไม่ได้ผลให้ปรึกษาแพทย์ ทางระบบต่อมไร้ท่อ หรือแพทย์เฉพาะทางโรคไต ◦ หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้ เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่ 15-Aug-14 31
  • 32. Digoxin (Lanoxin®)  รูปแบบ:Digoxin injection (0.5mg/2ml) 1. Lanoxin 0.25 mg tablet 2. Lanoxin PG 0.0625 mg tablet 3. Lanoxin elixir 0.05mg/mL (60 mL) 4. Lanoxin injection 0.25 mg/mL (2 mL) 15-Aug-14 32
  • 34. Digoxin (Lanoxin®)  ข้อบ่งใช้ (Indication) 1. Congestive Heart Failure 2. Reduce ventricular rate  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ระวังการใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย ◦ ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคไตรุนแรง ◦ ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มี K+ ต่า (ต่ากว่า 3.5 mEq/L) 15-Aug-14 34
  • 35. Digoxin (Lanoxin®)  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ Digitalis Intoxication ◦ หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดจังหวะ ◦ คลื่นไส้ อาเจียน ◦ มองเห็นภาพเป็นสีเหลืองหรือเขียว 15-Aug-14 35
  • 36. Digoxin (Lanoxin®)  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา ◦ ดูระดับ K+ ก่อนให้ยา Digoxin ถ้า K+ ต่ากว่า 3.5 mEq/L ต้องแจ้ง แพทย์เพื่อยืนยัน ◦ ตรวจชีพจรและลงบันทึกก่อนให้ยา ในผู้ใหญ่ถ้าชีพจรต่ากว่า 60 ครั้ง/ นาที ในเด็กชีพจรเต้นช้าผิดปกติเมื่อเทียบตามอายุ ให้แจ้งแพทย์เพื่อ ยืนยันก่อนให้ยา  เด็ก < 1ปี HR ต่ากว่า 100 ครั้ง/นาที  เด็ก 1-6 ปี HR ต่ากว่า 80 ครั้ง/นาที  เด็ก > 6 ปี HR ต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที 15-Aug-14 36
  • 37. Digoxin (Lanoxin®)  การบริหารยา (ต่อ) ◦ ชนิดฉีด IV ฉีดช้า ๆ เป็นเวลา 5 นาที หรือมากกว่า ◦ ยาน้ารับประทานต้องใช้หลอดหยดที่มีขีดบอกปริมาตร แน่นอน ◦ ถ้าให้เกินวันละ 1 ครั้ง ยืนยันกับแพทย์ก่อน ยกเว้นผู้ป่วยเด็ก อาจให้วันละ 2 เวลา ห่างกันทุก 12 ชม. 15-Aug-14 37
  • 38. Digoxin (Lanoxin®)  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) (ต่อ) ◦ กรณี Digoxin ฉีด ควรมีการ monitor EKG ขณะฉีดยาและหลัง ฉีดยา 1 ชม. ◦ กรณี Digoxin ฉีด ให้บันทึก HR ทุก 15 นาที ติดต่อกัน 2 ครั้ง ต่อไปทุก 30 นาที ติดต่อกัน 3 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชม. จนครบ 5 ชม. ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์ 15-Aug-14 38
  • 39. Digoxin (Lanoxin®)  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ กรณีที่เป็นผู้ป่วยในให้ซักถามและสังเกตอาการของภาวะ Digitalis Intoxication ทุกวัน เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน มองเห็นแสงสีเขียวเหลือง ◦ ควรตรวจระดับ K+ สัปดาห์ละครั้ง กรณีเป็นผู้ป่วยใน ◦ ถ้าสงสัยว่าเกิด Digitalis Intoxication ให้ส่งตรวจวัดระดับยา ในเลือดทันที (therapeutic level อยู่ที่ 0.8-2 ng/mL) ถ้าเกิน 2 ng/mL ต้องไม่ให้ยาต่อและแจ้งแพทย์ทันที 15-Aug-14 39
  • 40. Digoxin (Lanoxin®)  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ เมื่อเกิดภาวะ Digitalis Intoxication ให้ติด monitor EKG ทันที ◦ หากได้รับยาโดยการรับประทาน ภายใน 6-8 ชั่วโมง พิจารณา ให้ Activated charcoal ขนาด 1 mg/kg เพื่อช่วยดูดซับยาที่ หลงเหลือในทางเดินอาหาร 15-Aug-14 40
  • 41. Dobutamine  รูปแบบยา: Dobutamine injection 250 mg/20 mL (12.5 mg/mL) 15-Aug-14 41
  • 42. Dobutamine  ข้อบ่งใช้ (Indication) ◦ เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ในผู้ป่วยที่มีการบีบตัวของหัวใจไม่ดี  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะ hypovolemia ต้องแก้ไขให้เป็นปกติก่อนเริ่ม ให้ยา ◦ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เป็น idiopathic hypertrophic subaortic stenosis ◦ ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ myocardial infarction, severe coronary artery disease, cardiac arrhythmia 15-Aug-14 42
  • 43. Dobutamine  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ◦ เจ็บแน่นหน้าอก ◦ คลื่นไส้ อาเจียน ◦ อาการแพ้ยา เช่นผื่น หอบเหนื่อย หายใจลาบาก ◦ หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้ 15-Aug-14 43
  • 44. Dobutamine  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา ◦ ระวังสับสนกับ Dopamine ◦ ควรใช้Infusion pump  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ บันทึก BP, HR ทุก 1 ชั่วโมงขณะให้ยา ◦ หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ BP > 120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที หรือตามแพทย์สั่ง ◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชม. ◦ ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา 15-Aug-14 44
  • 45. Dobutamine  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ หากพบว่ามี HR หรือ BP มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ให้ พิจารณาหยุดยาหรือปรับลดขนาดยาลง ◦ หากพบว่ามีผื่น หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก ให้หยุดยาทันที ◦ หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่ 15-Aug-14 45
  • 46. Dopamine  รูปแบบยา 1. Dopmin injection 200 mg/ 5mL (40 mg/mL) 2. Inopin (Dopamine) injection 250 mg/ 10mL (25 mg/mL) 15-Aug-14 46
  • 47. Dopamine  ข้อบ่งใช้ (Indication) 1. Low cardiac output 2. Hypotension 3. Poor perfusion of vital organs  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ระวังสับสนกับ Dobutamine ◦ ก่อนเริ่มยา ควรแก้ไขภาวะ acidosis, hypercapnia, hypovolemia, hypoxia ของผู้ป่วยก่อน (ถ้ามี) ◦ ต้องเฝ้าระวังหากใช้ร่วมกับ Dilantin (Phenytoin) เพราะจะ เกิดความดันต่า และหัวใจเต้นช้าลง ผู้ป่วยอาจช็อคได้ 15-Aug-14 47
  • 48. Dopamine  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ ◦ ความดันโลหิตสูง ◦ ปลายมือ ปลายเท้าเขียว ◦ หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้ 15-Aug-14 48
  • 49. Dopamine  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา ◦ ระวังสับสนกับ Dobutamine ◦ ควรให้ทาง central vein ยกเว้นในผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้ทาง central line ได้จึงต้องให้ทาง peripheral line ◦ ควรใช้Infusion pump ◦ อัตราเร็วสูงสุดในการให้ยา (Max rate) 20 mcg/Kg/min IV ◦ ห้ามหยุดยากะทันหันเพราะความดันจะตกทันที ควรค่อย ๆลดขนาดยา ลง หรือลด rate of infusion ก่อนหยุดยา 15-Aug-14 49
  • 50. Dopamine  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ บันทึก BP, HR ทุก 1 ชั่วโมงขณะให้ยา ◦ หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg , HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ BP > 120/80 mmHg, HR > 180 ครั้ง/นาทีในเด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที หรือตามแพทย์สั่ง ◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชม. ◦ ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1ชม. ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา 15-Aug-14 50
  • 51. Dopamine  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ หากพบว่าผู้ป่วยมี HR หรือ BP มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ข้างต้น ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับลดขนาดยาลง ◦ หากพบว่าผู้ป่ วยมีปลายมือ ปลายเท้าเขียว ให้พิจารณาปรับลด ขนาดยาลง ◦ หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้ เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่ 15-Aug-14 51
  • 54. Heparin  รูปแบบยา: Heparin 5000 Unit/mL (5 mL) 15-Aug-14 54
  • 55. Heparin  ข้อบ่งใช้ (Indication) ◦ ต้านการแข็งตัวของเลือด  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ห้ามใช้ในผู้ป่ วยที่มีภาวะเลือดออกง่าย ◦ ไม่ควรให้ยาถ้าเกร็ดเลือด (platelet)ต่ากว่า 100,000/mm3 ยกเว้นกรณี keep arterial line หรือ central line ◦ ใช้ในหญิงมีครรภ์ได้เพราะยานี้ไม่ผ่านรก ◦ ระวังการหยิบสลับกับ insulin 15-Aug-14 55
  • 56. Heparin  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ ภาวะเลือดออกง่าย ◦ เกร็ดเลือดต่า  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา ◦ ควรให้ยาผ่าน infusion pump ◦ ห้ามให้ยา heparin พร้อมกับยาต่อไปนี้ ampicillin, ciprofloxacin, vancomycin, cephalosporins, aminoglycosides, steroids, antiemetics เพราะอาจตกตะกอน ควรคั่นด้วยการให้ NSS ก่อน และหลังให้ยาแต่ละชนิดเสมอ 15-Aug-14 56
  • 57. Heparin  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ ควรตรวจ infusion pump สม่าเสมอ อย่างน้อยทุก 2 ชม. ◦ ตรวจ aPTT ก่อนให้ยา หลังให้ยา 6 ชม. และทุก 24 ชม. ระหว่างที่ ให้ยา ◦ หากมีการปรับเปลี่ยนขนาดยา ควรตรวจ aPTT ซ้าหลังปรับยา 6 ชม. ◦ ตรวจ CBC ก่อนให้ยา หากให้ยาเกิน 7 วัน ควรตรวจซ้า ◦ ระหว่างที่ใช้ยานี้อยู่ควรระมัดระวังเรื่องเลือดออกง่ายและการเกิด บาดแผลของผู้ป่วย เช่น การใส่ NG tube, การดูดเสมหะ การเจาะ เลือดบ่อย ๆ 15-Aug-14 57
  • 58. Heparin  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ หากพบว่ามีเลือดออกผิดปกติ พิจารณาหยุดยา heparin และ ตรวจ CBC และ aPTT ทันที ◦ ในกรณีที่มีเลือดออกปริมาณไม่มาก และเป็นอวัยวะที่ไม่สาคัญ ให้หยุดยา heparin ไว้จนกว่าเลือดหยุด และระดับ aPTT ลดลง หากจาเป็นต้องให้ heparin ต่อ พิจารณาปรับลดขนาดยาลงจาก เดิมและติดตามค่า aPTT อย่างใกล้ชิด 15-Aug-14 58
  • 59. Heparin  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา (ต่อ) ◦ ในกรณีที่เลือดออกมาก หรือมีเลือดออกในอวัยวะที่สาคัญ ให้ หยุด heparin ทันที พิจารณาให้ยาแก้พิษ คือ protamine sulphate ◦ ในกรณีที่ได้รับ heparin แบบ continuous infusion จะให้ protamine sulphate ในขนาด 1 mg ต่อทุก 100 unit ของ heparin ที่ได้รับใน 2 ชม. 15-Aug-14 59
  • 60. Insulin  รูปแบบยา 1. Novorapid 2. Humalog 3. Actrapid HM 4. Humulin R 5. Gensulin R 6. Humulin N 7. Gensulin N 15-Aug-14 60
  • 61. Insulin  รูปแบบยา 8. Insulatard HM 9. Lantus 10. Novomix 30 11. Humalog Mix 25 12. Humulin 70/30 13. Mixtard 30 HM 14. Gensulin M 15-Aug-14 61
  • 64. Insulin  ข้อบ่งใช้ (Indication) ◦ ลดน้าตาลในเลือดสาหรับผู้ป่วยเบาหวานทั้งชนิดที่ 1 และ ชนิดที่ 2  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ก่อนเพิ่มหรือลดขนาดยา และก่อนให้ยา ควรตรวจสอบการ รับประทานอาหารหรืออาการที่มีผลต่อระดับน้าตาลในเลือด ก่อน เช่น อาเจียน 15-Aug-14 64
  • 65. Insulin  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ ระดับน้าตาลในเลือดต่า ซึ่งมีอาการแสดงที่สาคัญ ได้แก่ ใจสั่น เหงื่อออกมาก ตัวเย็น ซึมลง หมดสติ  การบริหารยา ◦ Double check ชนิดและขนาดยาเพราะ Insulin มีหลายชนิด ◦ ระวังการหยิบสลับกับ Heparin ◦ หากบริหารยาแบบ IV drip ควรใช้infusion pump ◦ สอนวิธีดูดยาและวิธีฉีดยาที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแล หาก ผู้ป่วยต้องนากลับไปใช้เองที่บ้าน 15-Aug-14 65
  • 66. Insulin  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ ติดตามระดับน้าตาลในเลือด ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์ยกเว้น ผู้ป่วยที่มีโรคประจาตัวอื่น ๆให้เทียบจาก baseline ของผู้ป่วย เอง ◦ ภายใน 60 นาทีหลังฉีดยา ให้สังเกตอาการ Hypoglycemia เช่น ใจสั่น เหงื่อออกมาก หน้ามืด เป็นลมหมดสติ ◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 2 ชม. 15-Aug-14 66
  • 67. Insulin  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ หากพบว่ามีอาการ Hypoglycemia เช่น ใจสั่น เหงื่อออกมาก หน้ามืด เป็นลม หมดสติ ให้เจาะ capillary blood glucose ทันที ◦ หากพบว่า capillary blood glucose มีค่าน้อยกว่า 60 mg/dL ถ้าได้รับ insulin อยู่ ให้หยุดยา insulin ทันที และให้ปฏิบัติดังนี้  ถ้ารู้สึกตัวดี ให้ดื่มน้าหวานอย่างน้อยครึ่งแก้ว ตรวจระดับ capillary blood glucose ซ้า หลังจากรับประทานน้าหวาน 30 นาที หากระดับ น้าตาลกลับมาสู่ภาวะปกติ ให้ตรวจ capillary blood glucose เป็น ระยะๆ 15-Aug-14 67
  • 68. Insulin  หากพบว่า capillary blood glucoseมีค่าน้อยกว่า 60 mg/dL ถ้ายัง ได้รับ insulin อยู่ ให้หยุดยา insulin ทันที และให้ปฏิบัติดังนี้ (ต่อ) ◦ ในกรณีที่ไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ พิจารณาให้ 50% glucose 40-50 ml IV push จากนั้นให้ติดตาม อาการของผู้ป่วยว่าดีขึ้นหรือไม่ ◦ พิจารณาให้ 10% dextrose ในอัตราเร็ว 80-100 ml/hr ตรวจระดับ capillary blood glucose ซ้า หลังได้รับการรักษาไปแล้วประมาณ 30 นาที ปรับอัตราเร็วของสารน้าตามระดับน้าตาลและสภาพของ ผู้ป่วยตรวจติดตาม capillary blood glucose เป็นระยะๆ 15-Aug-14 68
  • 69. Potassium (K+)  รูปแบบยา: 1. KCl inj. 10 mL ( K+ 2 mEq/mL) 2. K2HPO4 Inj. 20 mL ( K+ 1 mEq/mL) 15-Aug-14 69
  • 70. Potassium (K+)  ข้อบ่งใช้ (Indication) ◦ ภาวะ Hypokalemia ที่ไม่สามารถให้ K+ ทดแทนโดยการกินได้ หรือ ในกรณีที่ K+ ในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว ต่ากว่า 2.5 mEq/L และมีความเสี่ยงสูงจากการเต้นของหัวใจอย่างผิดปกติ  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ห้ามให้ IV push หรือ bolus ◦ ระมัดระวังในการใช้กับผู้ที่มีภาวะไตวายหรือมีปัสสาวะออกน้อย ◦ กรณีที่ให้ K2HPO4 เพื่อแก้ไขภาวะ Hypophosphatemia ต้อง ระมัดระวังปริมาณ K+ ที่จะเพิ่มขึ้นด้วย 15-Aug-14 70
  • 71. Potassium (K+)  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ อาการผู้ป่วยที่มี K+ สูง คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อน แรง อึดอัด แน่นหน้าอก ชาตามปลายมือปลายเท้า ◦ หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา ◦ ห้ามให้ IV push หรือ bolus ◦ ห้ามให้ IV ที่ผสม K+ ในการ loading ◦ ควรให้ยาผ่าน Infusion pump 15-Aug-14 71
  • 72. Potassium (K+)  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ ถ้าให้ในอัตราเร็ว 10-20 mEq/hr ต้องวัด HR , BP ทุก 1 ชม. พร้อมติดตาม EKG ◦ ถ้าให้ 40-60 mEq/L ในอัตราเร็ว 8-12 ชม. ให้วัด HR และ BP ทุก 4-6 ชม. ◦ หากพบว่าผู้ป่วย BP ไม่อยู่ระหว่าง 160/110 และ 90/60 mmHg หรือ HR ไม่อยู่ระหว่าง 60-100 ครั้ง/นาที ให้รีบรายงานแพทย์ 15-Aug-14 72
  • 73. Potassium (K+)  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ ติดตามค่า K+ เป็นระยะ ตามความรุนแรงของผู้ป่วย ◦ ซักถามและติดตามอาการของ K+ สูง ได้แก่ คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง อึดอัด แน่นหน้าอก ชาตาม ปลายมือปลายเท้าทุกวัน ในช่วงที่ผู้ป่วยได้รับ K+ อยู่ ◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อย ทุก4 ชม. 15-Aug-14 73
  • 74. Potassium (K+)  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ หากพบว่ามีอาการของ K+ สูง ให้หยุดการให้K+ ไว้ก่อน และ ให้ตรวจวัดระดับ K+ในเลือดทันที ◦ หากพบว่าผู้ป่วยมีค่า K+ สูง 15-Aug-14 74
  • 75. Potassium (K+)  พิจารณาให้การรักษาภาวะ hyperkalemia ตามอาการและความ รุนแรง โดยพิจารณารักษาดังนี้ ◦ การรักษาที่ออกฤทธิ์ทันที ภายใน 1-3 นาที คือการให้ 10% calcium gluconate 10 ml IV push ช้าๆ เพื่อไปต้านฤทธิ์ของ K+ ที่เยื่อหุ้มเซลล์และ monitor EKG ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง พิจารณาให้ 10% calcium gluconate ซ้าได้ ◦ การรักษาที่ออกฤทธิ์เร็วปานกลาง ภายในเวลา 10-30 นาที โดยให้ potassium ในเลือดถูกดึงเข้าเซลล์คือการให้ 50% glucose 40-50 ml+ regular insulin (RI) 5-10 unit IV push และให้ติดตามระดับ Capillary blood glucose 15-Aug-14 75
  • 76. Potassium (K+)  พิจารณาให้การรักษาภาวะ hyperkalemia ตามอาการและความรุนแรง โดยพิจารณารักษาดังนี้ (ต่อ) ◦ การรักษาที่ออกฤทธิ์ช้า โดยให้ Cation exchange resin ได้แก่ kayexalate หรือ kalimate 30-60 g จะออกฤทธิ์ภายในเวลา 30 นาที หรือหากให้รับประทาน จะออกฤทธิ์ภายใน 2 ชม.โดย kayexalate นั้นจะต้องละลายใน sorbitol ทุกครั้ง ◦ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีการทางานของไตบกพร่องหรือไม่สามารถแก้ไข ภาวะ hyperkalemia ได้ให้ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคไต พิจารณา ทา HD  ตรวจติดตามค่า K+ เป็นระยะทุก 4-6 ชม.  หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน ตาแหน่งในการให้ยาใหม่ 15-Aug-14 76
  • 77. Magnesium sulfate Injection  รูปแบบยา 1. 50% MgSO4 inj. 2 mL 2. 20% MgSO4 inj. 20 mL 3. 50% MgSO4 inj. 20 mL 4. 4% MgSO4 in D5W 1000 mL 15-Aug-14 77
  • 79. Magnesium sulfate Injection  ข้อบ่งใช้ (Indication) ◦ pre-eclampsia , eclampsia ◦ hypomagnesemia ◦ หัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ Torsades de Pointes  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ Magnesium sulfate มีหลายความแรง และหลายขนาดบรรจุ จึง ต้องระมัดระวังการจ่ายผิด 15-Aug-14 79
  • 80. Magnesium sulfate Injection  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ คลื่นไส้อาเจียน ◦ หน้าแดง เหงื่อออก กระหายน้า ◦ ท้องเสีย ความดันโลหิตต่า กดการทางานของระบบกล้ามเนื้อ ◦ กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต ◦ กดระบบประสาทส่วนกลาง มึนงง สับสน ง่วงหลับ ◦ กดการหายใจ กดการทางานของหัวใจ เกิด heart block ได้ 15-Aug-14 80
  • 81. Magnesium sulfate Injection  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา ◦ ในกรณีที่ต้องให้ IV drip ควรใช้infusion pump หรือ syringe pump  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ ต้องมีการตรวจวัดระดับ magnesium ในเลือดสมอง หลัง loading dose และระหว่างให้ยา ค่าปกติ 1.9-2.9 mg/dL แต่ กรณี preeclampsia therapeutic level อยู่ที่ 4-8 mg/dL 15-Aug-14 81
  • 82. Magnesium sulfate Injection  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) (ต่อ) ◦ กรณี Pre-eclampsia, eclampsia หรือการให้ยาขนาดสูงกว่า 1 gm/hr ให้วัด HR และ RR ทุก 15 นาที 2 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชม. กรณีอื่นๆให้วัดทุก 4 ชม. ถ้าพบความผิดปกติให้แจ้งแพทย์  RR ควรมากกว่า 14 ครั้ง/นาที  ในผู้ใหญ่ถ้าชีพจรต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที ให้แจ้งแพทย์ ◦ Urine output > 100 mL/ 4 hr (หรือไม่ต่ากว่าวันละ 600 mL) 15-Aug-14 82
  • 83. Magnesium sulfate Injection  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) (ต่อ) ◦ ตรวจ Deep tendon reflex โดยดู knee jerk reflex ทุก 4 ชม. ถ้า negative ให้ทา bicep jerk reflex ถ้า negative ให้แพทย์ พิจารณาหยุดยา ◦ หากพบว่ามีอาการแสดงที่บ่งว่าระดับ Magnesium สูงเกินไป ให้รีบแจ้งแพทย์ทันที ◦ ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชม. 15-Aug-14 83
  • 84. Magnesium sulfate Injection  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ เมื่อพบอาการแสดงที่บ่งว่าระดับ Magnesium สูงเกินไป ให้พิจารณา หยุดยาทันที และตรวจระดับ Magnesium ในเลือด ◦ กรณีที่พบว่าระดับ Magnesium ในเลือดสูงกว่าค่าปกติ การแก้ไขให้ หยุดยาทันที ซึ่งในคนที่การทางานของไตเป็นปกติ จะสามารถปรับตัว ให้ระดับ Magnesium กลับมาเป็นปกติ ยกเว้นในกรณีของผู้ป่วยที่มี การทางานของไตบกพร่อง ให้ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางโรคไตเพื่อ พิจารณาฟอกไต (dialysis) 15-Aug-14 84
  • 85. Morphine  รูปแบบยา ◦ Morphine syrup 2 mg/mL ◦ Morphine inj. 1 mg/mL, 10 mg/mL ◦ MST tablet 10, 30, 60 mg ◦ Kapanol cap 20, 50, 100 mg 15-Aug-14 85
  • 88. Morphine  ข้อบ่งใช้ (Indication) ◦ ระงับปวด  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ห้ามใช้ในผู้ป่ วยหอบหืดรุนแรงและเฉียบพลัน ความดันในสมองสูง ช็อค และไตวาย ◦ ระมัดระวังการใช้ในหญิงให้นมบุตร หากจาเป็นต้องใช้ในหญิงให้นม บุตร ควรเฝ้าระวังการกดการหายใจในทารกด้วย ◦ ระมัดระวังการใช้กับผู้ใหญ่ที่ปัสสาวะน้อยกว่าวันละ 600 ซีซี หรือผู้ที่ ไตบกพร่องหรือเสีย ◦ ระมัดระวังพิเศษในผู้ป่วยสูงอายุ เด็ก ผู้ป่วยโรคหัวใจ ไต ตับ 15-Aug-14 88
  • 89. Morphine  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ ถ้า overdose ผู้ป่วยจะง่วงซึมมากและหายใจช้า และม่านตาหดเล็กขนาด เท่ารูเข็ม ◦ คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก ง่วงซึม เบื่ออาหาร วิงเวียน ตาพร่า หัวใจเต้นช้า เหงื่อออก คัน  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยาก่อนให้ยาทุกครั้ง ◦ หากเป็นการให้แบบ IV push ควรฉีดช้าๆ ไม่ต่ากว่า 5-10 นาที ◦ หากเป็น IV drip ควรใช้infusion pump หรือ syringe pump ◦ ควรให้ยาก่อนที่จะปวดที่สุดจึงจะได้ผลดี 15-Aug-14 89
  • 90. Morphine  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)  ถ้าเป็น IV push ให้ monitor ◦ Heart rate ◦ respiratory rate ◦ pain score ◦ sedation score  ทุก 5 นาที รวม 4 ครั้ง  จากนั้น ทุก 30 นาที รวม 2 ครั้ง  การ monitor หลังจากนี้ขึ้นกับภาวะของผู้ป่วยและคาสั่งแพทย์ 15-Aug-14 90
  • 91. Morphine  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) (ต่อ)  ถ้าเป็น IV continuous drip ให้ monitor ◦ ทุก 1 ชั่วโมง รวม 4 ครั้ง ◦ จากนั้น monitor ทุก 4 ชั่วโมง  ถ้าเป็น SC or IM ◦ monitor ทุก 15 นาที รวม 4 ครั้ง ◦ จากนั้น ทุก 30 นาที รวม 2 ครั้ง  หาก RR < 10/min , HR< 60/min ให้แจ้งแพทย์ทันที 15-Aug-14 91
  • 92. Morphine  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ ถ้าพบว่ามีอาการของการได้รับยามากเกินไป คือ มีอาการง่วงซึมมาก และหายใจช้า และม่านตาหดเล็กขนาดเท่ารูเข็ม ถ้าหายใจ > 10 ครั้ง/ นาที (เด็กอายุต่ากว่า 1 ปี 30 ครั้ง/ นาทีหรือ เด็กอายุเกิน 1 ปี 20 ครั้ง/ นาที) อาจกดการหายใจได้ ให้แจ้งแพทย์ทันที ถ้าให้ยาเป็น continuous drip อยู่ ให้หยุดยาทันที ◦ ถ้าจะให้ยา Morphine กินเป็นระยะเวลานาน ควรให้ยาระบายร่วมด้วย เพื่อป้องกันอาการท้องผูก 15-Aug-14 92
  • 93. Morphine  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ ยาแก้พิษ คือ Naloxone ขนาดยาในผู้ใหญ่ 0.2-0.4 mg IV , IM, SC ในเด็ก 0.01 mg/Kg ให้ซ้าได้ทุก 2-3 นาที หยุดแก้เมื่อ หายใจได้เร็วขึ้นกว่า 10 ครั้งต่อนาที ◦ ควรติดตามต่ออย่างใกล้ชิดเพราะฤทธิ์ของ Naloxone มักหมด ไปก่อน (ประมาณครึ่ง-1 ชั่วโมง) ฤทธิ์ของ Morphine ทาให้ เกิดการง่วงซึมและกลับมากดการหายใจได้อีก 15-Aug-14 93
  • 94. Warfarin (Orfarin®)  รูปแบบยา 1. Orfarin 3 mg tablet 2. Orfarin 5 mg tablet 15-Aug-14 94
  • 95. Warfarin (Orfarin®)  ข้อบ่งใช้ (Indication) ◦ ต้านการแข็งตัวของเลือด  ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ◦ ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์ ◦ ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาเลือดออกง่าย ◦ ระวังการใช้ในผู้สูงอายุ เพราะเส้นเลือดเปราะ ผิวหนังบาง ◦ ยานี้มีปฏิกิริยากับยาหลายขนาน 15-Aug-14 95
  • 96. Warfarin (Orfarin®)  อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ ◦ เลือดออกง่าย เลือดออกที่ต่างๆเช่น ในปาก ใต้ผิวหนัง เลือด- กาเดา ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นสีดา  การบริหารยา ◦ Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา ◦ ให้รับประทานวันละครั้งก่อนนอน หรือตอนเย็น ◦ กรณี OPD ตรวจสอบผู้ป่วยว่าเข้าใจในขนาดยาและวิธี รับประทาน 15-Aug-14 96
  • 97. Warfarin (Orfarin®)  การบริหารยา (ต่อ) ◦ สอนผู้ป่วยเรื่องห้ามสูบบุหรี่ ห้ามดื่มสุรา ไม่ควรกินอาหาร สมุนไพร เช่น โสม ขิง ใบแปะก๊วย น้ามันปลา เพราะจะเสริม ฤทธิ์ Warfarin ◦ สอนผู้ป่วยให้แจ้งแพทย์/ ทันตแพทย์ทุกครั้งว่าใช้ยา Warfarin ◦ สอนให้ผู้ป่วยระวังการเกิดบาดแผล และสอนวิธีห้ามเลือด ◦ สอนผู้ป่วยเรื่องการสังเกตอาการ bleeding, clotting และหากมี ความผิดปกติควรมาพบแพทย์ 15-Aug-14 97
  • 98. Warfarin (Orfarin®)  การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) ◦ ตรวจวัด INR เมื่อมีการเปลี่ยนขนาดยา หรือเมื่อจาเป็นต้องใช้ ยาอื่นที่มีปฏิกิริยากับ Warfarin และตรวจทุกครั้งที่นัด ◦ สังเกตอาการ bleeding ได้แก่ จ้าเลือด เลือดออกที่ต่างๆเช่น ใน ปาก ใต้ผิวหนัง เลือดกาเดา ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็น สีดา ◦ สังเกตอาการ clotting ได้แก่ ขาบวม ชา ปวดเมื่อย ไม่มีแรง ตา พร่า 15-Aug-14 98
  • 99. Warfarin (Orfarin®)  การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือความคลาดเคลื่อนทาง ยา ◦ หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการของ bleeding หรือ clotting ให้ส่ง ตรวจระดับ INR ในเลือดทันที ◦ หากพบว่าค่า INR สูงกว่าค่าปกติที่ควรจะเป็นของผู้ป่วยให้ ปฏิบัติดังนี้  ในกรณีที่มีเลือดออกมากผิดปกติ พิจารณาให้ Vitamin K1 10 mg IV push ช้า ๆ ร่วมกับพิจารณาให้ Fresh Frozen Plasma (FFP) หรือ Prothrombin complex concentration ขึ้นกับความ เร่งด่วนและความรุนแรงของผู้ป่ วย 15-Aug-14 99
  • 101. Pethidine  รูปแบบ: Pethidine Injection (50 mg/ml)  ข้อบ่งใช้: ◦ บรรเทาอาการปวดชนิดปานกลาง-รุนแรง ◦ ใช้ร่วมกับยาระงับความรู้สึกเพื่อการผ่าตัดหรือการทาหัตถการ ที่ก่อให้เกิดความปวด (Preanesthetic medication) 15-Aug-14 101
  • 102. Pethidine  การบริหารยา: ใช้บรรเทาอาการปวด ◦ ผู้ใหญ่: ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเข้าชั้นใต้ผิวหนัง 25-100 มก. ทุก 3-4 ชม. ◦ ถ้าจาเป็นต้องฉีดเข้าหลอดเลือดดา ขนาด 10-30 มก. ให้เจือจาง ยาในความเข้มข้น 10 มก. /มล. และแบ่งให้หลายครั้ง โดย ฉีดเข้าหลอดเลือดดาอย่างช้า ๆ นาน 4-5 นาที ◦ เด็ก : ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเข้าชั้นใต้ผิวหนัง 0.5-2 มก./นน. 1 กก. ให้ยาทุก 3-4 ชม. โดยไม่เกิน 100 มก./ครั้ง 15-Aug-14 102
  • 103. Pethidine  การติดตามผู้ป่ วย (Monitoring) ◦ ตรวจสอบ vital sign หลังจากให้ยา และให้ผู้ป่วยนอนขณะให้ ยาและให้นอนพัก 30 นาทีหลังให้ยา ◦ RR < 14 ครั้ง/นาที ◦ BP < 90/60 mmHg (orthostatic hypotension) ◦ อาการปวดลดลง ◦ หมดสติ หลับปลุกไม่ตื่น 15-Aug-14 103
  • 104. Pethidine  การแก้ไขเมื่อได้รับยาเกินขนาด ◦ ถ้า overdose จะมีอาการง่วงซึมมาก หายใจช้า และม่านตา หดเล็กเท่ารูเข็ม ถ้าหายใจ < 10 ครั้ง/นาที (เด็กอายุต่ากว่า 1 ปี 30 ครั้ง/นาที เด็กอายุเกิน1 ปี 20 ครั้ง/นาที) อาจกดการหายใจ ◦ ยาแก้พิษคือ naloxone ผู้ใหญ่ 0.2-0.4 mg ให้ทาง IV, IM หรือ SC ส่วนเด็ก 0.01 mg/kg ให้ซ้าได้ทุก 2-3 นาที หยุดให้ยาแก้ เมื่ออัตราการหายใจ > 10 ครั้ง/นาที 15-Aug-14 104
  • 105. Amiodarone  รูปแบบ : Amiodarone injection 150 mg/3 ml 15-Aug-14 105
  • 106. Amiodarone  ข้อบ่งใช้ : ◦ Atrial และ Ventricular tachyarrythymia ◦ Rapid atrial arrythymia (AF with RVR) ในผู้ป่วย impair LV function ที่ใช้Digoxin แล้วไม่ได้ผล  การบริหารยา : ◦ Cardiac arrest IV push ฉีดยาให้เร็วร่วมกับให้สารน้าไล่ตามไปอีก 20 ml. หลังจากนั้นก็ยกแขนข้างนั้นขึ้นสูงนาน 10-20 วินาที เพื่อให้ยา เข้าสู่หัวใจได้เร็วขึ้น ◦ : wide complex tachycardia (stable) IV infusion 15-Aug-14 106
  • 107. Amiodarone  ข้อห้ามใช้ : ◦ hypersensitivity ต่อ amiodarone หรือ iodine ◦ severe sinus-node dysfunction,bradycardia ◦ cause syncope ◦ cardiogenic shock 15-Aug-14 107
  • 109. Diazepam  ชื่อการค้า Valium®  ข้อบ่งใช้ ◦ การจัดการสภาวะวิตกกังวลทั่วไป,panic disorder, การนาสลบ ก่อนการผ่าตัด, การสลบชั่วคราว, การทาให้ความจาเสื่อม ชั่วคราว, การรักษา status epilepticus, อาการถอนยาจาก alcohol, คลายกล้ามเนื้อ  รูปแบบยาที่มีในโรงพยาบาล ◦ Injection: 10 mg/ 2 ml 15-Aug-14 109
  • 110. Diazepam  ขนาดใช้ยา: กรณีคลายกังวล คลายกล้ามเนื้อและสงบระงับ Oral IM/IV เด็ก • 0.12-0.8 mg/kg/day ทุก 6-8 ชม. • 0.04-0.3 mg/kg/day ทุก 2-4 ชม. โดยภายใน 8 ชม.ไม่เกิน 0.6 mg/kg ผู้ใหญ่ • 2-10 mg วันละ 2-4 ครั้ง • 2-10 mg ซ้าได้ทุก 3-4 ชม. ผู้สูงอายุ • กรณีคลายกังวลเริ่ม 1-2 mg วันละ 1-2 ครั้งแล้วค่อยๆ เพิ่มขนาดขึ้น แต่ไม่เกิน 10 mg/day • กรณีใช้ในการคลายกล้ามเนื้อ 2-5 mg วันละ 2-4 ครั้ง 15-Aug-14 110
  • 111. Diazepam  การปรับขนาดยาในผู้ป่ วยโรคตับ ◦ ผู้ป่วยโรคตับแข็งลดขนาดยาลง 50% และควรหลีกเลี่ยงในโรค ตับรุนแรงและเฉียบพลัน  ข้อควรระวัง ◦ ในผู้ป่วยที่ได้รับยาที่กดระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ป่วยที่มี ระดับ albumin ต่า การทางานของไตบกพร่อง ผู้ป่วยสูงอายุ และเด็กอ่อน 15-Aug-14 111
  • 113. Diazepam  ข้อห้ามใช้ 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตต่าขั้นรุนแรง ( systolic < 90 mmHg ) 2. ผู้ป่วยที่มี AV block ระดับที่ 2 หรือ 3 หรือมี sick sinus syndrome มี (sinus bradycardia ต่อเนื่องต่ากว่า 50 ครั้ง/นาที), มี sinus arrest หรือ SA block 3. ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวขั้นรุนแรง 4. ผู้ป่วยที่มี cardiomyopathy ขั้นรุนแรง 5. หญิงมีครรภ์ หรือให้นมบุตร 6. ผู้ป่วยที่แพ้ยานี้ 15-Aug-14 113
  • 114. Terbutaline  รูปแบบ : Terbutaline injection 0.5 mg/ml 15-Aug-14 114
  • 115. Terbutaline  ข้อบ่งใช้ : ยับยั้งการบีบตัวของมดลูก ป้องกันการคลอดก่อน กาหนด (preterm labour)  การบริหารยา : IV infusion ให้นานอย่างน้อย 12 ชม. และติดตาม การหยุดบีบตัวของมดลูก การปรับขนาดยาต้องทาอย่าง ระมัดระวัง ปรับตามการตอบสนองต่อการบีบตัวของมดลูก ความดันโลหิตของแม่ อัตราการเต้นของหัวใจของแม่และเด็ก  ข้อห้ามใช้ : ◦ Cardiac arrhythmia associate with tachycardia ◦ Tachycardia from digitalis intoxication 15-Aug-14 115