SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 33
19-Jul-14 1
ข้อมูล/ตัวชี้วัด เป้ าหมาย 2554 2555 2556 2557
(ม.ค.-มิ.ย.)
ความครบถ้วนของ
การรายงาน
รง.506
> 60 % 10.60% 19.79% 27.86% 21.20%
ความทันเวลาของ
การรายงาน
รง.506
> 80 % 54.66% 78.12% 79.55% 83.85%
19-Jul-14 2
โรคติดต่อใน
ผู้ป่ วย
โรคติดต่อใน
บุคลากร
โรคติดต่อใน
ชุมชน
โรคไม่ติดต่อ
ในผู้ป่ วย
โรคไม่ติดต่อ
ในบุคลากร
โรคไม่ติดต่อ
ในชุมชน
• TB • TB • None • Stroke • HT • DLP
• DF •Chickenpox • COPD • Dyspepsia • HT
• Influenza • Mump • DM • DM
•Chickenpox • DLP • Gout
•Pneumonia • Myofacial
Pain
• Hepatitis
19-Jul-14 3
ผู้ป่ วย บุคลากร ชุมชน
• TB • Obesity • DLP
• DM • DLP
• Dengue Fever • TB
• Hand Foot Mouth • Chickenpox
• Mump
19-Jul-14 4
 นโยบายเฝ้ าระวังโรคและภัยสุขภาพ โรงพยาบาลธนบุรี มีดังนี้
◦การเฝ้าระวังโรคในผู้ป่วย/ บุคลากร โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ/
โรคระบาด โรคเรื้อรัง
◦เริ่มตั้งแต่การคัดกรอง คัดแยก ส่งต่อ ป้องกัน และติดตาม
ประเมินผล เพื่อระงับการแพร่กระจาย รวมถึงภาวะแทรกซ้อน
เช่น
Influenza ที่มีการระบาดในช่วงฤดูกาล
DM, TB, DLP และโรคเกี่ยวกับอวัยวะสืบพันธุ์ผู้หญิง
19-Jul-14 5
การเฝ้าระวังโรคในบุคลากร มีการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังที่เป็น
ปัญหาสาคัญ โดยให้บุคลากรตรวจสุขภาพประจาปี
o ให้บุคลากรตรวจสุขภาพประจาปี และตรวจตามความเสี่ยงตามกรอบ
เวลา
o จัดอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันโรค และจัดกิจกรรมสร้างเสริม
สุขภาพแก่บุคลากร เช่น มี Fitness, โครงการลด BMI เป็นต้น
19-Jul-14 6
 การเฝ้าระวังโรคในชุมชน
o มีการเฝ้าระวังผลการตรวจสุขภาพประจาปีกับฝ่าย
บุคลากรของแต่ละบริษัท
o เพื่อเฝ้าระวังและติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
รวมถึงติดตามผลการรักษา
19-Jul-14 7
 จากนโยบายได้แยกกลุ่มโรคสาคัญไปตาม Counter และ
ศูนย์ยุทธศาสตร์
 มีการประสานกับ Ward ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มโรคสาคัญ
นั้น ๆ
 มีแผนนโยบาย กลยุทธ์ในการจัดการกลุ่มโรคนั้น ๆ ตาม
บริบทของกลุ่มประชากรผู้ป่วย
19-Jul-14 8
การเฝ้าระวังโรค และภัยสุขภาพในโรงพยาบาลธนบุรี
o มีบุคลากรที่มีความรู้และทักษะเฉพาะทางในการเฝ้าระวัง ติดตาม
รวมทั้งให้คาปรึกษา ประกอบด้วย
แพทย์โรคติดเชื้อ และแพทย์เฉพาะทางในทุกสาขา
แพทย์อาชีวอนามัย
รังสีแพทย์
พยาบาล IC, ICWN และ IC network
สหสาขาวิชาชีพ เช่น เทคนิคการแพทย์เภสัชกร นักโภชนากร
19-Jul-14 9
ปี 2555 ปี 2556
 ไข้หวัดใหญ่
 ไข้เลือดออก
 อุจจาระร่วง
 เบาหวาน
 ความดันโลหิตสูง
 การยศาสตร์
 หูเสื่อม
 โรคปอดจากการทางาน
 วัณโรค
 คางทูม
 สุกใส
 Metabolic syndrome
19-Jul-14 10
 คณะกรรมการโรคติดเชื้อได้จัดมีการอบรม เช่น
◦ STANDARD PRECAUTION
◦ เชื้อดื้อยา
◦ การป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
 โรคตามศูนย์ยุทธศาสตร์และเป้ าหมายของโรงพยาบาลได้จัด
อบรม
- เรื่องการตั้งครรภ์คุณภาพ - กระดูกพรุน
- Stroke - โรคหลอดเลือดหัวใจ
- โรคตับและลาไส้
19-Jul-14 11
 วิธีการ/ การมีส่วนร่วมของบุคลากรเพื่อให้สามารถพบการเพิ่ม
ที่ผิดปกติหรือการระบาดของโรค:
o มีการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยาโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากร
ดังนี้:
◦ ผู้เฝ้าระวังและรายงานในผู้ป่วยนอกรับผิดชอบโดยพยาบาลผู้ป่วยนอก
ผู้ป่วยในรับผิดชอบโดยพยาบาลหอผู้ป่วย
◦ มีตัวแทนเป็นเครือข่าย ICWN ในทุกหอผู้ป่วย รวมถึง IC Network
◦ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการทางการแพทย์รายงานผลเพาะเชื้อทุกวัน
19-Jul-14 12
วิธีการ/ การมีส่วนร่วมของบุคลากรเพื่อให้สามารถพบการเพิ่มที่
ผิดปกติหรือการระบาดของโรค:
◦ กรณีโรคติดต่อร้ายแรงจะมีการรายงานสายบังคับบัญชาเพื่อให้มีการ
สอบสวนโรคและดาเนินการที่เหมาะสม
◦ กรณีโรคติดต่อทั่วไป มีการบันทึกส่งผ่านระบบ Internet โดย
เจ้าหน้าที่เวชสถิติ
◦ ผู้รับผิดชอบเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรค ได้แก่
ICN
ผู้ประสานข้อมูลสถานการณ์โรคติดต่อกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
19-Jul-14 13
 วิธีการ/ การมีส่วนร่วมของบุคลากรเพื่อให้สามารถพบการเพิ่ม
ที่ผิดปกติหรือการระบาดของโรค:
◦ ภัยสุขภาพในบุคลากร มีระบบให้พนักงานมีส่วนร่วมในการรายงาน
การบาดเจ็บ/ เจ็บป่วยจากการทางาน และมีการสอบสวนรวบรวม
ข้อมูลโดยเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย, ICN
◦ พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง เพื่อลดปัจจัยที่ก่อให้เกิด
ภัยสุขภาพที่กาหนดให้มีการเฝ้าระวังในบุคลากร
◦ มีระบบการติดตามประเมินซ้า และกาหนดกลยุทธ์ในการดูแลภัย
สุขภาพในบุคลากร
19-Jul-14 14
 เข้าร่วมประชุมเตรียมความพร้อมในการรองรับการระบาด
ของโรคติดต่อตามที่ส่วนราชการหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องจัด เพื่อนามา
วางระบบให้รัดกุมยิ่งขึ้น เช่น
◦ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
◦ HAND FOOT MOUTH
◦ TB
◦ โรคและภัยสุขภาพจากมหาอุทกภัย
◦ MERCo.V.
19-Jul-14 15
มีการเฝ้าระวัง และเตรียมความพร้อมอย่างสม่าเสมอ เป็นการสื่อสาร
ผ่านการประชุมของระบบต่าง ๆ ภายในรพ. และมีการจัดกิจกรรม เช่น
◦ การจัดสัปดาห์ปลอดภัย
◦ Health Care Fair
◦ การทา 5 ส.และ Big Cleaning
◦ การจัดงานล้างมือโลก
◦ การจัดงานเบาหวานโลก
◦ สัปดาห์โรคเอดส์
◦ สัปดาห์โรคตับ
19-Jul-14 16
 มีระบบขอคาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญในกรณีมีปัญหาในการ
ปฏิบัติงาน
o ภายนอก คือ กองควบคุมโรค
o ภายใน เช่น แพทย์เฉพาะทางทุกสาขา, ICN, เจ้าหน้าที่จป.
 พนักงานที่ดูแลผู้ป่วยได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ 100 % เป็นต้น
19-Jul-14 17
 ความทันเวลาของการรายงาน รง.506 ปี 2556 ได้ร้อยละ 79.55
จึงมีการปรับให้หน่วยงานรายงานตรงไปยังแผนกเวชสถิติ ในปี
2557 พบว่า มีการรายงานทันเวลาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 83.85
 ความครบถ้วนของการรายงานรง.506 ปี 2556 ได้ร้อยละ 27.86
และปี 2557 (ม.ค.- มิ.ย.) ร้อยละ 21.20 จากการทบทวนในผู้ป่วย
บางรายมีการเปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยโรค
19-Jul-14 18
ในกรณีข้อมูลสถานที่เกิดโรคไม่ถูกต้อง พบปัจจัยจากผู้ป่วยเอง การ
สื่อสารของผู้บันทึก ซึ่งต้องมีการเพิ่มความเข้าใจในการให้ข้อมูลที่
ต้องการนาไปใช้ประโยชน์ กับผู้รายงานเป็นกรณีไป
บทเรียนความครบถ้วน จากการทบทวนรายงานโรคในCase TB เดิมมี
การรายงานน้อยมาก จึงปรับให้มีการรายงานโดยใช้ผลSputum AFB
ทาให้ความครบถ้วนของการรายงานโรค TB ที่วินิจฉัยจากผล Sputum
AFB ของโรงพยาบาล เท่ากับ ร้อยละ 100
19-Jul-14 19
จากการระบาดของไข้หวัดสายพันธุ์ที่ระบาดในช่วงฤดูกาล
รวมถึงไข้หวัดที่ติดจากการอพยพย้ายถิ่น (จากการละหมาด)
โรงพยาบาลมีระบบรองรับการตรวจคัดกรอง คัดแยก รวมถึง
การจัดบุคลากรทางการแพทย์ให้ปฏิบัติหน้าที่ โดยมีความรู้
ทักษะ และมีการรายงานตามระเบียบปฏิบัติของโรงพยาบาล
19-Jul-14 20
 การสารวจและเฝ้าระวังจากการเจ็บป่วย การบาดเจ็บจากการทางาน
◦ มีบุคลากรที่ป่วยเป็น TB ปี 2554 5 ราย ปี 2555 2 ราย ปี 2556 2 ราย
ปี 2557 (ม.ค.-มิ.ย.) 2 ราย
◦ จากการสอบสวนโรคพบว่า ส่วนใหญ่ติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน
โดยเฉพาะในหน่วยงานวิกฤต จึงมีการปรับระบบโดยการมี X-ray
Chest ในหน่วยงานวิกฤตตามกรอบเวลาที่เฝ้าระวัง ปรับการรายงาน
ผลการตรวจสุขภาพประจาปีให้เร็วขึ้น และทบทวนการป้องกันการ
แพร่ กระจายเชื้อวัณโรคในรพ.
19-Jul-14 21
 แผนกเคมีบาบัด มีการตรวจเลือดการทางานของตับในผู้ปฏิบัติงานที่ต้อง
สัมผัสยาเคมีบาบัด เช่น เภสัชกร พยาบาล ผลอยู่ในเกณฑ์ปกติ
 แผนก Nursery สาหรับบุคลากรใหม่มีการตรวจและให้ภูมิต้านทานโรค
หัด ผลได้100%
 แผนก X-ray มีการติดตามค่ารังสีประจาตัวเทียบกับชั่วโมงทางาน ผลอยู่
ในเกณฑ์ปกติ
 แผนกเปลและแผนกที่ต้องมีการยกของหนัก ให้สามารถเบิกอุปกรณ์พยุง
หลัง ผลไม่พบการบาดเจ็บและเจ็บป่วยจากใส่ชุดพยุงหลังจากการ
ปฏิบัติงาน
19-Jul-14 22
 แผนก Central Supply มีการปรับใช้อุปกรณ์ป้องกันหูเสื่อม ผล
ทาให้บุคลากรมีความพึงพอใจเพิ่มขึ้น
 อุบัติเหตุจากการทางานโดนเข็มทิ่มตา ยังไม่พบแนวโน้มลดลง
เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นพนักงานใหม่/ พนักงานเก่าไม่ปฏิบัติตาม
ระเบียบปฏิบัติงาน (One hand technique)
19-Jul-14 23
19-Jul-14 24
12
17
24
18
0
5
10
15
20
25
30
ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557
จำนวนพนักงำนเกิดอุบัติเหตุและโรคติดเชื้อ
จำนวนพนักงำนเกิดอุบัติเหตุและโรคติดเชื้อ
ในชุมชน (Mass Check-up) สามารถติดตาม เฝ้าระวัง รวมถึง
กากับดูแลโรคและภัยสุขภาพ ร่วมกับบริษัท ทาให้เห็นถึงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และลดภาวะแทรกซ้อน เช่น
◦ ทุพพลภาพ
◦ การเสียชีวิต
ในบุคลากรมีการสารวจเชิงรุก รวมถึงมีการรายงานด้วยตนเอง
หรือหน่วยงาน เพื่อรวมเป็นภาคีการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
19-Jul-14 25
 มีการส่งข้อมูลการเฝ้าระวังตาม รง. 506 ไปยังกรมควบคุมโรค
ตามกรอบเวลา
ได้รับข้อมูลสรุปสถานการณ์โรคติดต่อทาง E-mail ทุกเดือน
ทาให้นาข้อมูลดังกล่าวมาวางแผนการเฝ้าระวังและเผยแพร่
ข้อมูลได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น
◦สถานการณ์ MERCo.V.
◦HAND FOOT MOUTH
19-Jul-14 26
 การประเมินความทันต่อสถานการณ์ในการสอบสวนโรคสาคัญ:
◦มีการกาหนดให้ผู้รับผิดชอบสามารถสอบสวนโรคได้
◦ให้คาแนะนาทันทีที่ได้รับรายงานจากหลายช่องทาง รวมทั้ง
ทาง SOCIAL NETWORK
◦ส่งผลให้การสอบสวนและการป้องกันการแพร่ระบาดรวดเร็ว
ขึ้น
19-Jul-14 27
 การประเมินความสามารถในการหยุดยั้งการเกิดผู้ป่ วยรายใหม่:
◦ ปี 2556 บุคลากรในห้องเด็กอ่อนเป็นโรคสุกใส 2 ราย มีการสอบสวน
และนาไปสู่การเฝ้าระวัง และฉีดวัคซีนในบุคลากรที่ยังไม่มีภูมิคุ้นกัน
ส่งผลให้ไม่พบบุคลากรและผู้ป่วยในหน่วยงานห้องเด็กอ่อนเป็น
สุกใสอีก
◦ จากการส่งผลรายงานผลตรวจสุขภาพประจาปีเร็วขึ้น ทาให้สามารถ
ทราบและจัดการกับผลที่ผิดปกติได้เร็วยิ่งขึ้น
19-Jul-14 28
 มีการรายงานโรคโดยใช้แบบรายงานของกระทรวง ส่งข้อมูล
เป็นปัจจุบัน
 มีการจัดทารายงานการเจ็บป่วยและบาดเจ็บทั้งผู้ป่วย บุคลากร
โดยลงรหัส ICD 10 และมีการกระจายข้อมูลให้ทราบทั้งองค์กร
ตามกรอบเวลา
 การให้ความรู้ในเชิงรุกในพื้นที่ โดยการจัดอบรมทั้งในกลุ่ม
บุคลากร กลุ่มผู้ป่วยที่มีความสนใจ รวมถึงชุมชน(Mass Check-
up) ในประเด็นที่มีปัญหาสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
19-Jul-14 29
 มี Call Center ให้คาปรึกษาทั้งภายในและภายนอกองค์กร
 มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคเรื้อรังที่พบใน
บุคลากร เพื่อการปฏิบัติตน และป้องกันโรค
 มีการติดบอร์ดประชาสัมพันธ์/ เอกสารตามจุดต่าง ๆใน
โรงพยาบาล
19-Jul-14 30
 มีการจัดทาบัญชีรายโรคในกลุ่มผู้ป่วยตามความชุกและแยกโดย
ให้รหัสตาม ICD 10
 จัดอบรมสาหรับบุคลากร/ ชุมชน (ตามกลุ่มโรค) ในเรื่องโรค
จากการทางาน โรคติดเชื้อ/ โรคติดต่อ โรคที่เกิดการระบาดตาม
ฤดูกาล โรคเรื้อรังอย่างทั่วถึง
มีโครงการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่/ วัคซีนตับอักเสบ/ วัคซีนใน
บุคลากรที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน คิดเป็น100 %
19-Jul-14 31
มาตรฐาน Score ประเด็นในแผนการพัฒนา 1-2 ปีข้างหน้า
66. นโยบาย แผน การติดตาม
ประเมินผล บุคลากร ทรัพยากร
การสร้างความรู้
3  โครงการสร้างเสริมสุขภาพแก่บุคลากร
 รณรงค์และสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรเข้ารับการ
ตรวจสุขภาพประจาปีอย่างจริงจังและสม่าเสมอ
67. การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลการ
เฝ้าระวัง
3  การจัดทาทะเบียนโรคและภัยสุขภาพ
 พัฒนารูปแบบการจัดเก็บ/ วิเคราะห์ข้อมูลโรคและ
ภัยสุขภาพ ให้เป็นปัจจุบันและทันต่อเหตุการณ์
68. การตอบสนองต่อการระบาด
และการเผยแพร่ข้อมูล
3  พัฒนารูปแบบการเผยแพร่ข้อมูลให้ทันสมัยและ
น่าสนใจ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม
 ติดตามและประเมินผลการตรวจคัดกรองโรคและ
ภัยสุขภาพ หรือการให้ความรู้โรคและภัยสุขภาพ
 ติดตามแนวโน้มโรคโรคและภัยสุขภาพในระยะ
ยาว
19-Jul-14 32
19-Jul-14 33

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Narenthorn EMS Center
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Aiman Sadeeyamu
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
Wan Ngamwongwan
 

Was ist angesagt? (20)

Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 

Ähnlich wie ppt 2-8

Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
Ultraman Taro
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
taem
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
sivapong klongpanich
 
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdfangsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
ssuser656f851
 

Ähnlich wie ppt 2-8 (20)

Ppt 2 8
Ppt 2 8Ppt 2 8
Ppt 2 8
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
การบริหารงบสปสช
การบริหารงบสปสชการบริหารงบสปสช
การบริหารงบสปสช
 
20140102 rpsi plan_jan2014
20140102 rpsi plan_jan201420140102 rpsi plan_jan2014
20140102 rpsi plan_jan2014
 
Ckd สหสาขา 1 4-59
Ckd สหสาขา 1 4-59Ckd สหสาขา 1 4-59
Ckd สหสาขา 1 4-59
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
Geriatric family-pharmacist-09 jun2015
Geriatric family-pharmacist-09 jun2015Geriatric family-pharmacist-09 jun2015
Geriatric family-pharmacist-09 jun2015
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
 
Vaccine
VaccineVaccine
Vaccine
 
Rama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public PolicyRama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public Policy
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Survey on health and welfare 2013
Survey on health and welfare 2013Survey on health and welfare 2013
Survey on health and welfare 2013
 
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdfangsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
 
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
 

Mehr von Prachaya Sriswang

โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
Prachaya Sriswang
 

Mehr von Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 

ppt 2-8

Hinweis der Redaktion

  1. การเฝ้าระวังโรค และภัยสุขภาพในโรงพยาบาล มีบุคลากรที่มีความรู้และทักษะเฉพาะทางในการเฝ้าระวัง ติดตาม รวมทั้งให้คำปรึกษา ประกอบด้วย แพทย์โรคติดเชื้อและการระบาดแพทย์เฉพาะทางในทุกสาขา แพทย์อาชีวอนามัย รวมถึงรังสีแพทย์ และพยาบาล IC, ICWN และ IC network และสหสาขาวิชาชีพ เช่น นักโภชนากร ร่วมกันเฝ้าระวังโรค และส่งเสริมสุขภาพแก่บุคลากร
  2. โรงพยาบาลธนบุรี มีการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยาโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรดังนี้: ผู้เฝ้าระวังและรายงานในผู้ป่วยนอกรับผิดชอบโดยพยาบาลผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในรับผิดชอบโดยพยาบาลหอผู้ป่วย โดยมีตัวแทนเป็นเครือข่าย ICWN ในทุกหอผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการทางการแพทย์รายงานผลเพาะเชื้อทุกวัน กรณีโรคติดต่อร้ายแรงจะมีการรายงานสายบังคับบัญชาเพื่อให้มีการสอบสวนโรคและการดำเนินการที่เหมาะสม พร้อมทั้งรายงานกองควบคุมโรคทันที กรณีโรคติดต่อทั่วไป จะมีการบันทึกส่งผ่านระบบ Internet โดยเจ้าหน้าที่เวชสถิติ ผู้รับผิดชอบเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรค ได้แก่ ICN ผู้ประสานข้อมูลสถานการณ์โรคติดต่อกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ฝ่ายการพยาบาลในสถานการณ์เฉพาะและแผนกเวชสถิติในสถานการณ์ปกติ
  3. ภัยสุขภาพในบุคลากร มีระบบให้พนักงานมีส่วนร่วมในการรายงานการบาดเจ็บ/ เจ็บป่วย จากการทำงาน และมีการสอบสวนรวบรวมข้อมูลโดยเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย นำเสนอเพื่อทบทวนตามสายบังคับบัญชา พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองเพื่อลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดภัยสุขภาพที่กำหนดให้มีการเฝ้าระวังในบุคลากรทุกคนขององค์กร เช่น ค่า BMI และไขมันในเลือดสูงเกินมาตรฐาน โรงพยาบาลมีระบบการติดตามประเมินและกำหนดกลยุทธ์ในการดูแลภัยสุขภาพในบุคลากรของโรงพยาบาล
  4. ความทันเวลาของการรายงาน รง.506 ปี 2556 ร้อยละ79.55 จึงได้มีการปรับให้หน่วยงานตรงไปยังแผนกเวชสถิติ ปี 2557 (ม.ค.-เม.ย.) พบว่ามีการรายงานทันเวลาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 83.85 ความครบถ้วนของการรายงานรง.506 ปี 2556 ร้อยละ 27.86 และปี 2557 (ม.ค.-เม.ย.) ร้อยละ 21.20 จากการทบทวนพบว่า บุคลากรไม่ทราบกลุ่มโรคที่ต้องรายงาน จึงเกิดนวัตกรรมกล่องโรคติดต่อที่ต้องรายงาน ผลลัพธ์ยังไม่ดีขึ้น เนื่องจากต้องรอผลการวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการ ร่วมกับติดวันหยุดทางราชการ (เวชสถิติ) และบุคลากรขาดความตระหนักในการรายงาน
  5. ผลจำนวนการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ พบว่าในส่วนของโรคติดเชื้อเกิดจากการทำงาน ขาดการป้องกันอย่างเข้มแข็ง ส่วนอุบัติเหตุเกิดจากการทำงานขาดประสบการณ์และทักษะ รวมถึงความตระหนัก
  6. มีการจัดทำบัญชีรายโรคในกลุ่มผู้ป่วยตามความชุกและแยกโดยให้รหัสตาม ICD 10 โครงการจัดอบรมสำหรับบุคลากรในเรื่องโรคจากการทำงาน โรคติดเชื้อ/ โรคติดต่อ หรือโรคที่เกิดการระบาดตามฤดูกาลให้กับพนักงานอย่างทั่วถึง มีโครงการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่กับบุคลากร คิดเป็นร้อยละ 100 มากกว่า 3 ปีที่ผ่านมา ผลทำให้พนักงานที่ต้องป่วยจากไข้หวัดใหญ่ ขาดงานน้อยกว่า 3 วันลดน้อยลง และลดการนอนโรงพยาบาลจากไข้หวัดใหญ่ด้วย