SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
ท้องเสีย
(diarrhea)
21-Jul-141
ท้องเสีย
 องค์การอนามัยโลกได้ให้นิยามว่า ท้องเสีย (Diarrhea)
หมายถึง การถ่ายอุจจาระเหลว หรือ เป็ นน้า ตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป
ต่อวัน
 โดยอาจถ่ายเหลว ถ่ายเป็ นน้า หรือ เป็ นมูกเลือด ซึ่งเรียกได้อีก
ชื่อว่า โรคบิด หรือ เป็ นบิด
 เมื่อท้องเสียหายได้ภายใน 2 สัปดาห์ เรียกว่า ท้องเสีย
เฉียบพลัน เมื่อท้องเสียนาน 2-4 สัปดาห์ เรียกว่า ท้องเสีย
ต่อเนื่อง และเมื่อท้องเสียนานมากกว่า 4 สัปดาห์ขึ้นไป เรียกว่า
ท้องเสียเรื้อรัง
21-Jul-142
ท้องเสีย
ท้องเสียอาจเรียก ท้องร่วง หรือ อุจจาระร่วง
หรือ ท้องเดิน
โดยมักพบในประเทศกาลังพัฒนา และใน
ประเทศที่ยังไม่พัฒนา รวมทั้งในประเทศไทย
ด้วย โดยเฉพาะมักเกิดในเด็กเล็กอายุต่ากว่า
5 ปี
21-Jul-143
ท้องเสียมีกี่ชนิด
1. ท้องเสียชนิดเฉียบพลัน หมายถึง
ท้องเสียที่มีระยะฟักตัวสั้น และมี
อาการไม่นานหรือระยะเวลาเป็ นวัน
ไม่เกินสัปดาห์ มีสาเหตุมาจาก
21-Jul-144
* การได้รับเชื้อเข้าสู่ร่างกาย ที่มีทั้งไวรัส และแบคทีเรีย
บิด หมายถึง อาการถ่ายเป็ นมูกหรือมูกปนเลือดบ่อยครั้งร่วมกับ
อาการปวดเบ่งที่ทวารหนักคล้ายถ่ายไม่สุด
o บิดชนิดไม่มีตัว มีสาเหตุมาจากเชื่อแบคทีเรียอาการท้องเสีย
รุนแรงร่วมกับมีไข้
o บิดชนิดมีตัว มีสาเหตุมาจากเชื้อ โปรโตซัวไม่ค่อยมีอาการไข้
ไม่อ่อนเพลีย แต่อุจจาระจะมีกลิ่นเหม็น เหมือน หัวกุ้งเน่า
21-Jul-145
* อาหารเป็ นพิษ เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีเชื้อแบคทีเรียอยู่ใน
อาหาร จะมีอาการท้องเสียรุนแรงในระยะเวลาอันสั้น หลังจาก
รับประทานอาหารมีอาเจียนร่วมด้วย
* สาเหตุอื่น ๆ เช่น อาการจาพวกนม หรือสารให้ความหวาน ยา
บางชนิด สารเคมี หรือโลหะหนักหรือพืชบางชนิด อาจจะทาให้
เกิดอาการท้องเสียชนิดเฉียบพลันได้
21-Jul-146
ท้องเสียมีกี่ชนิด
2. ท้องเสียชนิดเรื้อรัง หมายถึง ท้องเสียที่มีอาการ
ติดต่อกันนานเป็ น ๆ หาย ๆ มาเป็ นสัปดาห์หรือ
เป็ นเดือน เป็ นปี มีสาเหตุมาจาก
 อารมณ์ เกิดจากการผิดปกติของการทางานของ
ลาไส้ใหญ่ เวลามีอารมณ์เครียด
 ความผิดปกติของเมตาบอลิซึ่ม
 การดูดซึมผิดปกติ
21-Jul-147
ท้องเสียมีสาเหตุจากอะไร
เกิดจากการกินอาหาร และดื่มน้าปนเปื้ อนเชื้อ
โรค หรือ จาก
ล้างมือไม่สะอาด
อุจจาระที่ปนเปื้ อนจากมือจึงก่อให้เกิดการติด
เชื้อได้จากมือสู่ปากโดยตรง หรือ ในการปรุง
อาหาร
21-Jul-148
ท้องเสียมีสาเหตุจากอะไร
 เชื้อพบบ่อย คือ เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และอาจพบเชื้อ
บิด และจากพยาธิ
 เชื้อแบคทีเรียที่เป็ นสาเหตุให้ท้องเสียมีได้หลายชนิด เช่น
อีโคไล (E. coli) ซึ่งเป็ นเชื้อพบบ่อยที่สุด
เชื้อไทฟอยด์ (Salmonella)
เชื้อบิดชนิดชิเกลลา (Shigella)
เชื้ออหิวา
21-Jul-149
ท้องเสียมีสาเหตุจากอะไร
 เชื้อไวรัสที่พบบ่อยที่สุด โดยเฉพาะในเด็กเล็ก คือ
โรตาไวรัส (Rotavirus) และจากไวรัสอื่นๆ
เช่น โรคไวรัสตับอักเสบเอ
 นอกจากนั้น เช่น ติดเชื้อบิด (บิดมีตัว) จากติดเชื้อ
สัตว์เซลล์เดียว (โปรตัวซัว) ที่มีชื่อว่า อะมีบา หรือ
ติดเชื้อพยาธิเข็มหมุด ซึ่งบางคนเรียกว่า พยาธิ
เส้นด้าย
21-Jul-1410
ท้องเสียมีสาเหตุจากอะไร
 จากโรคกลุ่มอาการดูดซึมอาหารได้น้อย
 จากผลข้างเคียงของยาบางชนิด กลุ่มยาแก้ปวด
เอ็นเสดส์ ยาปฏิชีวนะ ยารักษาโรคเกาต์ และยา
เคมีบาบัด
 จากผลข้างเคียงจากฉายรังสีรักษาโรคมะเร็งใน
บริเวณช่องท้อง และช่องท้องน้อย
21-Jul-1411
ท้องเสียมีอาการอย่างไร
 ถ่ายอุจจาระวันละ 3 ครั้งขึ้นไป
 ปวดมวนท้อง ปวดเบ่ง อ่อนเพลีย
 อาจมีไข้ ปวดเมื่อยตัว
 ถ่ายเป็ นมูกเลือด เมื่อเกิดจากติดเชื้อ
บิด
21-Jul-1412
ท้องเสียมีอาการอย่างไร
อาการสาคัญที่สุด และอาจเป็ นสาเหตุให้
เสียชีวิตได้รวดเร็ว คือ อาการจากร่างกาย
ขาดน้า และสูญเสียเกลือแร่ที่ออกร่วมมา
ในอุจจาระ
21-Jul-1413
อาการของการขาดน้า
กระหายน้ามาก
ปัสสาวะน้อย ปัสสาวะมีสีเหลืองเข็มจัด
ปากแห้ง ลิ้นแห้ง ผิวแห้ง เมื่อเป็ นมากตาจะ
ลึกโหล
เมื่อขาดน้ามากรุนแรง จะวิงเวียน มึนงง
กระสับกระส่าย และช็อกในที่สุด
21-Jul-1414
อาการที่ควรรีบพบแพทย์
 อาการร่างกายขาดน้า
 อาการท้องเสียไม่ดีขึ้นภายใน 1-2 วัน
 ปวดท้องมาก หรือ คลื่นไส้อาเจียน หรือ ตัวตา
เหลือง
 มีไข้สูง
 อุจจาระเป็ นมูก หรือมูกเลือด หรือ มีสีดาและ
เหนียวเหมือนยางมะตอย
21-Jul-1415
แนวทางการรักษาท้องเสีย
 เมื่อผู้ป่ วยดื่มไม่ได้ หรือ ท้องเสียรุนแรง อาจเป็ น
การให้น้าเกลือทางหลอดเลือดดา แต่ถ้ายังกิน/ดื่ม
ได้ การรักษา คือ การดื่มน้า หรือ ดื่มน้าเกลือแร่
(ORS)
 ให้ยาปฏิชีวนะ เมื่อเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
 รักษาประคับประคองตามอาการ เช่น ยาบรรเทา
ปวดท้อง หรือ ยาลดไข้
21-Jul-1416
การดูแลตนเองเมื่อท้องเสีย
 พักผ่อนให้เพียงพอ
 ดื่มน้ามากๆ หรือดื่มน้าผงเกลือแร่
เมื่อถ่ายเป็ นน้า หรือ รู้สึกปากแห้ง
21-Jul-1417
การดูแลตนเองเมื่อท้องเสีย
21-Jul-1418
กินอาหารอ่อน อาหารเหลว หรือ
อาหารรสจืด
การป้ องกันท้องเสีย
 รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ) รวมทั้งในการ
เดินทางท่องเที่ยว
 กินอาหารสุกและปรุงใหม่เสมอ ดื่มน้าสะอาด ระวังการกิน
น้าแข็ง และดื่มนมสดเฉพาะที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วเท่านั้น
 ล้างมือให้สะอาดเสมอ โดยเฉพาะก่อนกินอาหารและหลังเข้า
ห้องน้า
 ปรึกษาแพทย์ เพื่อฉีดวัคซีนป้ องกันโรคที่เป็ นสาเหตุที่มีวัคซีน
เช่น วัคซีนโรคตับอักเสบ
21-Jul-1419
การล้างมือ 7 ขั้นตอน
21-Jul-1420
สระบุรี–หาม นร.กว่า 447 อาเจียน-ท้องเสีย ขณะเข้า
ค่ายที่สระบุรี
21-Jul-1421
นร.เข้าค่ายสระบุรี ท้องเสีย
21-Jul-1422
 14 ธ.ค. 55 น.พ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวง
สาธารณสุข เปิ ดเผยความคืบหน้า กรณีนักเรียน 8
โรงเรียน ที่มาเข้าค่ายใน จ.สระบุรี
 เกิดอาการท้องเสีย ว่าสาหรับจานวนนักเรียนที่มีอาการ
ท้องเสียและเข้ารับการรักษา มีจานวน 447 คน
 สาเหตุในครั้งนี้ คาดว่าจะเป็ นอาหารและน้าดื่มในอาหาร
มื้อเย็น
ช่องทางการติดต่อ…..
21-Jul-1423
Facebook:
prachaya56@hotmail.c
om ในกลุ่มคลินิกอาชีวอนา
มัย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
Panda Jing
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
jinchuta7
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
sivapong klongpanich
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Aiman Sadeeyamu
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
piyarat wongnai
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
Rofus Yakoh
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (20)

การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 

Andere mochten auch

โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วง
Jintana Mokhuntod
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วง
Jintana Mokhuntod
 
Acute diarrhea in children
Acute diarrhea in childrenAcute diarrhea in children
Acute diarrhea in children
Priya Dharshini
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
nuting
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
Wan Ngamwongwan
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
taem
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
Wan Ngamwongwan
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
papatsa
 

Andere mochten auch (20)

Guideline diarrhea
Guideline diarrheaGuideline diarrhea
Guideline diarrhea
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วง
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วง
 
Cpg for diarrhea
Cpg for diarrheaCpg for diarrhea
Cpg for diarrhea
 
Diarrhea ppt
Diarrhea pptDiarrhea ppt
Diarrhea ppt
 
Diarrhea in children
Diarrhea  in childrenDiarrhea  in children
Diarrhea in children
 
Acute diarrhea in children
Acute diarrhea in childrenAcute diarrhea in children
Acute diarrhea in children
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Diarrhea
DiarrheaDiarrhea
Diarrhea
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
Ppt. heat stroke
Ppt. heat strokePpt. heat stroke
Ppt. heat stroke
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 

Mehr von Prachaya Sriswang

โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
Prachaya Sriswang
 

Mehr von Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 

Ppt. ท้องเสีย 1