SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 7
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคย้าคิดย้าทา (obsessive-compulsivedisorder)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นาสาว ชนกนันท์ ยอดดอนไพร เลขที่1 ชั้นม.6 ห้อง8
ชื่อ นางสาว ณัฏฐา สุทธิพันธ์ เลขที่ 45 ชั้น ม.6 ห้อง8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคย้าคิดย้าทา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
obsessive-compulsive disorder(OCD)
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวชนกนันท์ยอดดอนไพร
นางสาวณัฏฐา สุทธิพันธ์
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
เดือนกันยายน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากอาการของโรคย้าคิดย้าสามารถเกิดขึ้นได้กับคน ทุกเพศทุกวัยขึ้นอยู่กับความคิด จิตใจและ
สภาพแวดล้อม ของคนคนนั้นผู้ป่วยมีความวิตกกังวลและมีการตอบสนองต่อความคิดด้วยการกระทาพฤติกรรม
ซ้าๆ เช่น กลัวความสกปรกจนต้องทาความสะอาดซ้าๆที่เดิมๆ โรคย้าคิดย้าทานั้นมีทั้งแบบขั้นวิตกกังวลอ่อนๆจน
ไปถึงขั้นรุนแรงขึ้นอยู่กับความคิดของผู้ป่วย จากการศึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องโรคย้าคิดย้าทาหรือOCD ได้
สืบหาค้นคว้าสาเหตุผลกระทบและ วิธีการแก้ไขในอินเตอร์เน็ต ทางให้ผู้จัดทามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
ชนิดนี้มากขึ้น ดังนั้นผู้จัดทาจึงมีความคิดที่จะนาความรู้เกี่ยวกับโรคย้าคิดย้าทาและวิธีการรักษา มานาเสนอใน
โครงงานเล่มนี้และหวังว่าข้อมูลและโครงงานเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ผู้ที่ศึกษา ต่อไป
3
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเสนอวิธีการแก้ปัญหาการเกิดโรคย้าคิดย้าทา
2. เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคย้าคิดย้าทา
ขอบเขตโครงงาน
1. ศึกษาโรคย้าคิดย้าทา
2. พฤติกรรมของผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าทา
3. วิธีรักษาโรคย้าคิดย้าทา
หลักการและทฤษฎี
โรคย้าคิดย้าทา(obsessive-compulsive disorder) เป็นโรคที่ผู้ป่วยมีความคิดซ้าๆ ที่ทาให้เกิดความกังวล และมีการ
ตอบสนองต่อความคิด ด้วยการทาพฤติกรรมซ้าๆ เพื่อลดความไม่สบายใจที่เกิดขึ้น ซึ่งตัวผู้ป่วยเองก็รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่ไม่มีเหตุผล แต่
ก็ไม่สามารถหยุดความคิดและการกระทาดังกล่าวได้ และต่อยอดมาถึงการตอบสนองทางความคิดด้วยการทาพฤติกรรมซ้า ๆ เพื่อ
ลดความวิตกกังวลนั้นให้หายไป โรคย้าคิดย้าทาจัดเป็นภาวะวิตกกังวลอย่างหนึ่ง ซึ่งคนที่เป็นจะถูกครอบงาแบบซ้าๆ ทั้งจาก
ความคิดและความรู้สึกที่ไม่ต้องการ เรียกรวมๆ ว่า “การย้าคิด”(Obsessions) ซึ่งจะนาไปสู่พิธีการหรือพฤติกรรมที่ทาซ้าๆ ซึ่งเรียกว่า
“การย้าทา” (Compulsions)
อาการโรคย้าคิดย้าทา ผู้ป่วยมักจะมีอาการย้าคิดร่วมกับอาการย้าทา หรืออาจมีเฉพาะอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
อาการย้าคิด เป็นความคิดซ้าซากที่ผุดขึ้นมาซึ่งเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดอาการย้าทาตามมา จึงส่งผลให้ผู้ป่วยเป็นทุกข์และมีความ
วิตกกังวลจากความคิดที่ไม่เป็นเหตุเป็นผลหรือคิดมากเกินพอดี เช่น
 กลัวความสกปรกหรือกลัวเชื้อโรคจากการหยิบจับสิ่งของและการสัมผัสผู้อื่น
 วิตกกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินอยู่ตลอดเวลา เช่น คิดว่าลืมปิดประตูบ้านหรือเตาแก๊ส
 ไม่สบายใจเมื่อเห็นสิ่งของไม่เป็นระเบียบ ถูกแบ่งออกไม่เท่ากัน หรือไม่หันไปในทิศทางเดียวกัน
 มีความคิดทาร้ายตนเองหรือผู้อื่น
 มีความคิดที่ไม่เหมาะสมเกี่ยวกับเรื่องเพศหรือศาสนา
อาการย้าทา เป็นพฤติกรรมที่ตอบสนองต่ออาการย้าคิด เพื่อป้องกันหรือบรรเทาความวิตกกังวลในใจ รวมทั้งเป็นกฎเกณฑ์
บางอย่างที่ผู้ป่วยคิดว่าตนเองต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันเหตุร้าย ผู้ป่วยจึงมักรู้สึกสบายใจเมื่อได้ลงมือทา ซึ่งคนปกติ
อย่างผู้ที่ชอบความสมบูรณ์แบบอาจมีพฤติกรรมตรวจดูความเรียบร้อยในเรื่องต่าง ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความผิดพลาดหรือเพื่อเสริม
ความมั่นใจ แต่ผู้ป่วย OCD มักไม่สามารถควบคุมความคิดและการกระทาของตนเองได้ทาให้เสียเวลากับอาการย้าทาวันละไม่
ต่ากว่า 1 ชั่วโมงจนมักส่งผลเสียต่อการใช้ชีวิตประจาวัน โดยตัวอย่างอาการย้าทา มีดังนี
 ไม่กล้าหยิบจับสิ่งของหรือสัมผัสผู้อื่น เพราะกลัวว่าจะสกปรกหรือติดเชื้อโรค
 ล้างมือหรืออาบน้าบ่อยเกินจาเป็น
 ตรวจดูประตูหรือเตาแก๊สซ้าแล้วซ้าเล่า เพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้ลืมปิด
 คอยตรวจนับสิ่งของ จัดสิ่งของให้เป็นระเบียบและหันไปทางเดียวกันอยู่เสมอ
 ท่องคาพูดหรือบทสวดมนต์ในใจซ้า ๆ มีความคิดบางอย่างวกวนในหัวจนทาให้นอนไม่หลับ
 ต้องทาอะไรให้ครบจานวนครั้งตามที่ตนเองกาหนดไว้
 ชอบเก็บหรือสะสมสิ่งของในบ้านมากเกินไป
 บางรายอาจชอบขยับส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายเป็นจังหวะเร็ว ๆ เช่น ขยิบตา ย่นจมูก กระตุกมุมปาก ขยับหน้า ยักไหล่
หรือศีรษะ กระแอมไอ เป็นต้น
4
ผู้ป่วยมักเป็น OCD ตั้งแต่วัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้นไปจนตลอดชีวิต อาการของโรคนี้มักเกิดขึ้นในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป โดย
อาจรุนแรงมากขึ้นเมื่อผู้ป่วยมีอายุมากขึ้นหรือมีความเครียด ซึ่งส่งผลเสียอย่างมากต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย
สาเหตุของโรคย้าคิดย้าทา
OCD ไม่มีสาเหตุที่แน่ชัด แต่เชื่อว่าอาจเกิดจากปัจจัยหลายส่วนร่วมกัน ดังนี้
1. ปัจจัยทางชีวภาพ
- ความผิดปกติของการทางานของสมอง
โดยทางการแพทย์พบว่าผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าทามีการทางานของสมองในส่วน orbitofrontal cortex, cingulate cortex, caudate และ
thalamus เพิ่มขึ้น
- ความผิดปกติของระบบประสาท
ทางการแพทย์สันนิษฐานว่า ผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าทาอาจมีกลไกการหลั่งสารสื่อนาประสาทในระบบซีโรโทนินผิดปกติ เนื่องจากพบว่า
การรักษาโรคย้าคิดย้าทาด้วยยาแก้โรคซึมเศร้าที่ออกฤทธิ์ต่อระบบซีโรโทนินได้ประสิทธิภาพพอสมควร
- ด้านพันธุกรรม
ตามสถิติพบว่า อัตราการเกิดโรคในแฝดไข่ใบเดียวกันสูงถึงร้อยละ 60-90 ในขณะที่ประชากรทั่วไปพบในร้อยละ 2-3 เท่านั้น
-การติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส (Streptococcal infection)
เป็นเชื้อที่สามารถที่จะทาให้เกิดอาการของโรคย้าคิดย้าทาได้(หรือที่รู้จักกันในชื่อโรค PANDAS หรือ Pediatric autoimmune
neuropsychiatric disorders associated with streptococcal infections*)
2. ปัจจัยด้านพฤติกรรมการเรียนรู้และความกลัว
โดยเฉพาะสถานการณ์ที่มีเงื่อนไข และความกลัว ซึ่งสามารถแยกประเภทความกลัวได้เป็น 2 ข้อใหญ่ ๆ คือ
1.กลัวโชคร้าย เช่น กลัวว่าจะปิดบ้านไม่เรียบร้อย กลัวระบบฟืนไฟจะก่อให้เกิดอันตราย จนต้องวนเวียนมาตรวจสอบซ้าแล้วซ้า
เล่า
2. กลัวความสกปรก เช่น กลัวล้างมือไม่สะอาด กลัวล้างตัวไม่หมดฟองสบู่ หรือเดินผ่านกองขี้หมาก็ต้องยกเท้าขึ้นมาดูซ้าแล้วซ้า
อีก เป็นต้น
อัตราการเกิดโรคย้าคิดย้าทา
ข้อมูลจากการศึกษาในนิตยสารจิตเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล “Molecular Psychiatry” เมื่อเร็วๆนี้ พบว่ามีผู้ใหญ่ 1.2% ที่
เผชิญกับโรคย้าคิดย้าทาในแต่ละปี การศึกษายังระบุอีกว่ามีคนจานวน 2.3% ที่ประสบกับโรคย้าคิดย้าทาในช่วงชีวิตของตน โดยอายุ
เฉลี่ยที่ผู้ป่วยจะเริ่มเป็นโรคย้าคิดย้าทาอยู่ที่ราวๆ 19-20 ปี โดยเด็กผู้ชายมักจะเริ่มมีแสดงอาการของโรคเร็วกว่าเด็กผู้หญิง และ
หลังจากเริ่มแสดงอาการแล้วมักจะมีอาการต่อไปเป็นระยะเวลาเฉลี่ยประมาณ 9 ปี
การวินิจฉัยโรคย้าคิดย้าทา
แพทย์มักวินิจฉัยโรค OCD จากการซักประวัติและประเมินผลทางจิตเวชเป็นหลัก ซึ่งผู้ป่วยต้องแจ้งให้แพทย์ทราบ
เกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้น ความรุนแรงของอาการ รูปแบบความคิดและพฤติกรรม และระยะเวลาที่หมดไปกับอาการย้าคิดย้าทา โดย
ผู้ป่วยอาจมีอาการคล้ายหรือมีอาการร่วมกับโรคจิตเวชอื่น ๆ ด้วย เช่น โรคบุคลิกภาพผิดปกติชนิดย้าคิดย้าทา โรควิตกกังวล โรค
ซึมเศร้า หรือโรคจิตเภท เป็นต้น
นอกจากนี้ แพทย์อาจตรวจร่างกายหาร่องรอยที่เป็นสาเหตุหรือภาวะแทรกซ้อนของ OCD และอาจตรวจหาปัจจัยร่วมอื่น
ที่ทาให้เกิดโรคนี้ เช่น ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด การทางานของไทรอยด์ การใช้แอลกอฮอล์และสารเสพติด เป็นต้น
การรักษาโรคย้าคิดย้าทา
ในการวินิจฉัยโรคย้าคิดย้าทา แพทย์จะทาการตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อแยกสาเหตุอื่นๆ ที่อาจเป็น
ต้นเหตุของอาการที่เกิดขึ้นได้ออกไป รวมไปถึงการตรวจทางจิตเวช ซึ่งเป็นการตรวจตามเกณฑ์ของสมาคมจิตเวชศาสตร์แห่ง
สหรัฐอเมริกา(APA)
5
การรักษาโรคย้าคิดย้าทาทาได้โดยใช้การทาจิตบาบัด ซึ่งประกอบไปด้วย พฤติกรรมบาบัด ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อสอนให้ผู้ป่วยโรคย้า
คิดย้าทามีทักษะในการจัดการและลดอาการย้าคิดย้าทาที่เกิดขึ้น รวมถึงความวิตกกังวลของตนเอง
การทาจิตบาบัดอาจทาควบคู่กับการให้ใช้ยาในกลุ่มยาคลายกังวล (Antidepressants) เช่น แอนาฟรานิล (Anafranil)ซึ่งมีตัวยาโคล
มิพรามีน (Clomipramine) ยาลูว็อกซ์ (Luvox) ซึ่งมีตัวยาฟลูว็อกซามีน (Fluvoxamine) โปรแซ็ค (Prozac) ซึ่งมีตัวยาฟลูอ็อกซิทีน
(Fluoxeine) และโซลอฟท์ (Zoloft) ซึ่งมีตัวยาเซอร์ทราลีน (Sertraline)
นอกจากนี้การทาโยคะและการนวดบาบัดก็อาจช่วยผ่อนคลายความวิตกกังวลที่เกิดจากโรคย้าคิดย้าทาได้เช่น
การรักษาด้วยยา
1. ยาแก้ซึมเศร้า ยาที่รักษาได้ผลดีใน OCD เป็นยาที่จัดอยู่ในกลุ่มที่ออกฤทธิ์ต่อ ระบบซีโรโตนิน เช่น clomipramine และยา
ในกลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitors (SSRI) ทุกตัว ได้แก่ fluoxetine, fluvoxamine, paroxetine, sertraline และ
escitalopram โดยทั่วไปมักใช้ในขนาดที่ใช้ในการรักษาโรคซึมเศร้า อาการข้างเคียงที่อาจพบได้แก่ ปวดศีรษะ คลื่นไส้
กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ
2. ยาคลายกังวล ในผู้ป่วยที่มีความวิตกกังวลอยู่สูงอาจใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepine ในระยะสั้นๆ ยาในกลุ่มนี้ไม่มีผลในการ
รักษาอาการย้าคิด หรืออาการย้าทา
3. ยาต้านโรคจิต ในผู้ป่วยบางรายที่ได้รับการรักษาด้วยยาแก้เศร้าแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น แพทย์อาจพิจารณาให้ยาต้านโรคจิต
เช่น risperidone ควบคู่ไปกับยาแก้ซึมเศร้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา
ซึ่งอาการของผู้ป่วยมักดีขึ้นหลังจากรับประทานยาติดต่อกันอย่างน้อย 8-12 สัปดาห์ โดยอาจมีอาการดีขึ้นในเวลาน้อยกว่าหรือ
มากกว่านั้น ทั้งนี้ ผู้ป่วยต้องคานึงถึงข้อควรระวังและผลข้างเคียงจากการใช้ยาด้วย โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุต่ากว่า 25 ปีซึ่งมีความเสี่ยง
ต่อการฆ่าตัวตายในช่วงแรกของการรับประทานยาและช่วงที่ต้องปรับเปลี่ยนยา ยิ่งไปกว่านั้น การรับประทานยาต้านเศร้าอาจช่วย
ลดการฆ่าตัวตายได้เมื่อรับประทานติดต่อกันเป็นเวลานาน แต่การหยุดใช้ยาหรือลืมรับประทานยาอาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการแย่ลง
ได้แม้จะมีอาการดีขึ้นแล้วก็ตาม ดังนั้น ผู้ป่วยต้องปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอหากต้องการหยุดใช้ยา ซึ่งจะต้องค่อย ๆ ลดปริมาณการใช้
ยาลง นอกจากนี้ หากผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยารักษาข้างต้น แพทย์อาจให้รับประทานยาริสเพอริโดน ซึ่งเป็นยาที่มักได้ผลดีในรายที่
มักมีอาการขยิบตา ย่นจมูก กระตุกมุมปาก ขยับหน้า ยักไหล่หรือศีรษะ หรือกระแอมไอซ้า ๆ ทว่าในการรักษาโรคย้าคิดย้าทา ต้อง
ใช้ยาในขนาดค่อนข้างสูงและใช้เวลารักษานาน โดยทั่วไปถ้าจะรักษาด้วยยาเพียงอย่างเดียว จะต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาอยู่นาน
ประมาณ 1-2 ปี แต่การรักษาด้วยยาก็มีข้อดีคือ สะดวกกว่าการฝึก ในบางรายที่มีอาการมาก ๆ และไม่กล้าฝึกแพทย์อาจให้การรักษา
ด้วยยาไปก่อน เมื่ออาการย้าคิดย้าทาน้อยลง และผู้ป่วยพร้อมที่จะฝึกค่อยให้ผู้ป่วยเริ่มฝึกก็ได้
การรักษาด้วยพฤติกรรมบาบัด
การรักษาที่ได้ผลดีคือ พฤติกรรมบาบัด โดยการให้ผู้ป่วยเผชิญ กับสิ่งที่ทาให้กังวลใจและป้องกันไม่ให้มีพฤติกรรมย้าทา ที่เคย
กระทา ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยที่มักล้างมือ ก็ให้จับของที่ผู้ป่วยรู้สึกว่าสกปรก ให้รออยู่ช่วงหนึ่งจึงอนุญาตให้ล้างมือ การฝึกจะทา
ตามลาดับขั้น เริ่มจากสิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึกกังวลน้อยไปหามาก และระยะเวลาที่ไม่ให้ล้างมืออาจเริ่มจาก 10-15 นาที ไปจนเป็นชั่วโมง
หากการรักษาได้ผลผู้ป่วยจะกังวลน้อยลงเรื่อยๆ จนสามารถจับสิ่งต่างๆ ได้โดยไม่ต้องรีบไปล้างมือดังก่อน
นอกจากนี้ การให้ความรู้แก่สมาชิกในครอบครัวผู้ป่วย มีความสาคัญอย่างยิ่ง แพทย์ควรแนะนาสมาชิกในครอบครัว ถึงอาการของ
โรค แนวทางการรักษาและการดูแลผู้ป่วย รวมทั้งแนะนาให้มีท่าทีเป็นกลางต่ออาการของผู้ป่วย โดย ไม่ร่วมมือและช่วยเหลือผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยมีอาการ ในขณะเดียวกัน ก็ไม่ต่อว่าผู้ป่วย เนื่องจากอาจทาให้ผู้ป่วยเครียด และยิ่งกระตุ้นให้อาการเป็นมากขึ้นได้
การรักษาวิธีอื่นๆ ได้แก่ การทาจิตบาบัดรายบุคคล เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวกับอาการได้กลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงปกติ
มากที่สุด ในรายที่อาการรุนแรง อาจมีการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การฝังแท่งกาเนิดไฟฟ้าเพื่อกระตุ้นสมองส่วนลึก ( deep brain
stimulation ) หรือ การผ่าตัด ( cingulotomy ) นอกจากการฝึกโดยการเข้าหาและเผชิญหน้ากับสิ่งที่ผู้ป่วยกลัวแล้ว ผู้ป่วยยังจะต้อง
งดเว้นการย้าทาในขณะฝึกด้วย (response prevention) เช่น เมื่อให้ผู้ป่วยฝึกโดยการปิดเตาแก๊ส โดยไม่ต้องปิดถังแก๊สในช่วงกลางวัน
ระหว่างฝึกผู้ป่วยจะต้องไม่มาคอยตรวจตราห้องครัว และต้องไม่คอยถามคนใกล้ชิดเช่น “แก๊สคงไม่รั่วใช่ไหม” เพื่อให้เขาตอบว่า
6
"ไม่รั่วหรอก" ในกรณีนี้ถ้าผู้ป่วย "เผลอถาม" ให้คนใกล้ชิดตอบว่า "หมอไม่ให้ตอบ" เพื่อให้ผู้ป่วยต้องฝึกที่จะทนกับความกังวลที่
เกิดขึ้น จนเกิดความชินชาขึ้นในที่สุด
ภาวะแทรกซ้อนของโรคย้าคิดย้าทา
OCD อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนซึ่งเป็นอาการหรือปัญหาในการใช้ชีวิตประจาวัน ดังต่อไปนี้
 เป็นผื่นแพ้สัมผัสจากการล้างมือบ่อยเกินไป
 ไม่สามารถใช้ชีวิตประจาวันตามปกติได้โดยมีปัญหาด้านการเรียน การทางาน การเข้าสังคม รวมทั้งด้านความสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น ซึ่งส่งผลเสียต่อคุณภาพชีวิตโดยรวม
 มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เปลี่ยนไป เพราะมีทัศนคติในเรื่องอาหารที่ต่างไปจากเดิม
 คิดว่าตนเองมีรูปลักษณ์บกพร่องหรือมีตาหนิ ทั้งที่ไม่ได้มีความผิดปกติใด ๆ
 ชอบเก็บสะสมสิ่งของรวมถึงขยะมูลฝอยที่อาจก่อโรคตามมาได้
 วิตกกังวลในหลาย ๆ เรื่องมากเกินควร โดยไม่สามารถควบคุมความรู้สึกนั้นได้
 ซึมเศร้า สิ้นหวัง หรือสูญเสียความสนใจในสิ่งที่ตนเองชอบ หากมีอาการรุนแรงอาจนาไปสู่การฆ่าตัวตายได้
การป้องกันโรคย้าคิดย้าทา
ยังไม่มีวิธีการป้องกัน OCD ที่ได้ผลอย่างแน่ชัด แต่การเข้ารับการรักษาอย่างเหมาะสมเมื่อพบว่าตนเองมีอาการย้าคิดย้าทา
ก็อาจช่วยลดความรุนแรงของโรค และอาจช่วยลดผลกระทบด้านต่าง ๆ ในการใช้ชีวิตประจาวันได้
อย่างไรก็ตาม เพื่อป้องกันอาการของโรคแย่ลง ผู้ป่วย OCD ควรดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
 รักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
 พยายามใช้ชีวิตประจาวันตามปกติ เช่น ทางานประจา ใช้เวลาสังสรรค์กับครอบครัวและเพื่อนฝูง เป็นต้น
 หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นที่อาจทาให้อาการของโรคแย่ลง รวมทั้งผ่อนคลายความเครียด เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง ดู
โทรทัศน์ เล่นโยคะ เป็นต้น
 เรียนรู้วิธีจัดการและรับมือกับอาการย้าคิดย้าทาที่เกิดขึ้น โดยอาจปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือเข้ากลุ่มบาบัดเพื่อช่วยให้รู้สึกดี
ขึ้น
 รับประทานยาตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด ห้ามหยุดใช้ยาเองเพราะอาจทาให้อาการแย่ลง และต้องปรึกษาแพทย์ก่อน
รับประทานยาหรืออาหารเสริมชนิดอื่น ๆ
 ไปพบแพทย์ทันทีหากไม่สามารถรับมือกับอาการย้าคิดย้าทาได้อีกต่อไป
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจริงและนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาวิเคราะห์ พิจารณาว่าข้อมูลใดที่ศึกษาแล้วเข้าใจง่าย
และนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง หลังจากนั้นนาข้อมูลที่ศึกษามานาเสนอในรูปแบบที่เข้าใจง่าย
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. อินเทอร์เน็ต
งบประมาณ
-
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน กลุ่มผู้จัดทา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล กลุ่มผู้จัดทา
3 จัดทาโครงร่างงาน กลุ่มผู้จัดทา
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
กลุ่มผู้จัดทา
5 ปรับปรุงทดสอบ กลุ่มผู้จัดทา
6 การทาเอกสารรายงาน กลุ่มผู้จัดทา
7 ประเมินผลงาน กลุ่มผู้จัดทา
8 นาเสนอโครงงาน กลุ่มผู้จัดทา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คาดว่าผู้ศึกษาดูผลงานจะได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคย้าคิดย้าทามากยิ่งขึ้น นาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ใน
ชีวิตประจาวันและอยู่ร่วมกับผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าทาได้อย่างสงบสุข
สถานที่ดาเนินการ
โรงเยนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนปกเกบ้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
แหล่งอ้างอิง
- เว็บไซด์https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/05012014-1443
- เว็บไซด์https://www.honestdocs.co/what-is-ocd
- เว็บไซด์https://www.pobpad.com/ocd-
%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%
B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B8%B3
- เว็บไซด์https://health.kapook.com/view3146.html

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณKnooknickk Pinpukvan
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
2562 final-project 609-23_chutima
2562 final-project 609-23_chutima2562 final-project 609-23_chutima
2562 final-project 609-23_chutimamewsanit
 
2562 final-project 32-40
2562 final-project 32-402562 final-project 32-40
2562 final-project 32-40Napisx
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)charintip0204
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 

Was ist angesagt? (20)

W.111
W.111W.111
W.111
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
2559 project 609-สริตา
2559 project 609-สริตา2559 project 609-สริตา
2559 project 609-สริตา
 
2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
2562 final-project 609-23_chutima
2562 final-project 609-23_chutima2562 final-project 609-23_chutima
2562 final-project 609-23_chutima
 
2562 final-project 32-40
2562 final-project 32-402562 final-project 32-40
2562 final-project 32-40
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
Achi
AchiAchi
Achi
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)
 
My profile
My profileMy profile
My profile
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
Com555
Com555Com555
Com555
 

Ähnlich wie Final project

Ähnlich wie Final project (20)

Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
20
2020
20
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
Addictsocial com
Addictsocial comAddictsocial com
Addictsocial com
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 

Final project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคย้าคิดย้าทา (obsessive-compulsivedisorder) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นาสาว ชนกนันท์ ยอดดอนไพร เลขที่1 ชั้นม.6 ห้อง8 ชื่อ นางสาว ณัฏฐา สุทธิพันธ์ เลขที่ 45 ชั้น ม.6 ห้อง8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคย้าคิดย้าทา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) obsessive-compulsive disorder(OCD) ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวชนกนันท์ยอดดอนไพร นางสาวณัฏฐา สุทธิพันธ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนกันยายน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากอาการของโรคย้าคิดย้าสามารถเกิดขึ้นได้กับคน ทุกเพศทุกวัยขึ้นอยู่กับความคิด จิตใจและ สภาพแวดล้อม ของคนคนนั้นผู้ป่วยมีความวิตกกังวลและมีการตอบสนองต่อความคิดด้วยการกระทาพฤติกรรม ซ้าๆ เช่น กลัวความสกปรกจนต้องทาความสะอาดซ้าๆที่เดิมๆ โรคย้าคิดย้าทานั้นมีทั้งแบบขั้นวิตกกังวลอ่อนๆจน ไปถึงขั้นรุนแรงขึ้นอยู่กับความคิดของผู้ป่วย จากการศึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องโรคย้าคิดย้าทาหรือOCD ได้ สืบหาค้นคว้าสาเหตุผลกระทบและ วิธีการแก้ไขในอินเตอร์เน็ต ทางให้ผู้จัดทามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ชนิดนี้มากขึ้น ดังนั้นผู้จัดทาจึงมีความคิดที่จะนาความรู้เกี่ยวกับโรคย้าคิดย้าทาและวิธีการรักษา มานาเสนอใน โครงงานเล่มนี้และหวังว่าข้อมูลและโครงงานเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ผู้ที่ศึกษา ต่อไป
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสนอวิธีการแก้ปัญหาการเกิดโรคย้าคิดย้าทา 2. เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคย้าคิดย้าทา ขอบเขตโครงงาน 1. ศึกษาโรคย้าคิดย้าทา 2. พฤติกรรมของผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าทา 3. วิธีรักษาโรคย้าคิดย้าทา หลักการและทฤษฎี โรคย้าคิดย้าทา(obsessive-compulsive disorder) เป็นโรคที่ผู้ป่วยมีความคิดซ้าๆ ที่ทาให้เกิดความกังวล และมีการ ตอบสนองต่อความคิด ด้วยการทาพฤติกรรมซ้าๆ เพื่อลดความไม่สบายใจที่เกิดขึ้น ซึ่งตัวผู้ป่วยเองก็รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่ไม่มีเหตุผล แต่ ก็ไม่สามารถหยุดความคิดและการกระทาดังกล่าวได้ และต่อยอดมาถึงการตอบสนองทางความคิดด้วยการทาพฤติกรรมซ้า ๆ เพื่อ ลดความวิตกกังวลนั้นให้หายไป โรคย้าคิดย้าทาจัดเป็นภาวะวิตกกังวลอย่างหนึ่ง ซึ่งคนที่เป็นจะถูกครอบงาแบบซ้าๆ ทั้งจาก ความคิดและความรู้สึกที่ไม่ต้องการ เรียกรวมๆ ว่า “การย้าคิด”(Obsessions) ซึ่งจะนาไปสู่พิธีการหรือพฤติกรรมที่ทาซ้าๆ ซึ่งเรียกว่า “การย้าทา” (Compulsions) อาการโรคย้าคิดย้าทา ผู้ป่วยมักจะมีอาการย้าคิดร่วมกับอาการย้าทา หรืออาจมีเฉพาะอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ อาการย้าคิด เป็นความคิดซ้าซากที่ผุดขึ้นมาซึ่งเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดอาการย้าทาตามมา จึงส่งผลให้ผู้ป่วยเป็นทุกข์และมีความ วิตกกังวลจากความคิดที่ไม่เป็นเหตุเป็นผลหรือคิดมากเกินพอดี เช่น  กลัวความสกปรกหรือกลัวเชื้อโรคจากการหยิบจับสิ่งของและการสัมผัสผู้อื่น  วิตกกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินอยู่ตลอดเวลา เช่น คิดว่าลืมปิดประตูบ้านหรือเตาแก๊ส  ไม่สบายใจเมื่อเห็นสิ่งของไม่เป็นระเบียบ ถูกแบ่งออกไม่เท่ากัน หรือไม่หันไปในทิศทางเดียวกัน  มีความคิดทาร้ายตนเองหรือผู้อื่น  มีความคิดที่ไม่เหมาะสมเกี่ยวกับเรื่องเพศหรือศาสนา อาการย้าทา เป็นพฤติกรรมที่ตอบสนองต่ออาการย้าคิด เพื่อป้องกันหรือบรรเทาความวิตกกังวลในใจ รวมทั้งเป็นกฎเกณฑ์ บางอย่างที่ผู้ป่วยคิดว่าตนเองต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันเหตุร้าย ผู้ป่วยจึงมักรู้สึกสบายใจเมื่อได้ลงมือทา ซึ่งคนปกติ อย่างผู้ที่ชอบความสมบูรณ์แบบอาจมีพฤติกรรมตรวจดูความเรียบร้อยในเรื่องต่าง ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความผิดพลาดหรือเพื่อเสริม ความมั่นใจ แต่ผู้ป่วย OCD มักไม่สามารถควบคุมความคิดและการกระทาของตนเองได้ทาให้เสียเวลากับอาการย้าทาวันละไม่ ต่ากว่า 1 ชั่วโมงจนมักส่งผลเสียต่อการใช้ชีวิตประจาวัน โดยตัวอย่างอาการย้าทา มีดังนี  ไม่กล้าหยิบจับสิ่งของหรือสัมผัสผู้อื่น เพราะกลัวว่าจะสกปรกหรือติดเชื้อโรค  ล้างมือหรืออาบน้าบ่อยเกินจาเป็น  ตรวจดูประตูหรือเตาแก๊สซ้าแล้วซ้าเล่า เพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้ลืมปิด  คอยตรวจนับสิ่งของ จัดสิ่งของให้เป็นระเบียบและหันไปทางเดียวกันอยู่เสมอ  ท่องคาพูดหรือบทสวดมนต์ในใจซ้า ๆ มีความคิดบางอย่างวกวนในหัวจนทาให้นอนไม่หลับ  ต้องทาอะไรให้ครบจานวนครั้งตามที่ตนเองกาหนดไว้  ชอบเก็บหรือสะสมสิ่งของในบ้านมากเกินไป  บางรายอาจชอบขยับส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายเป็นจังหวะเร็ว ๆ เช่น ขยิบตา ย่นจมูก กระตุกมุมปาก ขยับหน้า ยักไหล่ หรือศีรษะ กระแอมไอ เป็นต้น
  • 4. 4 ผู้ป่วยมักเป็น OCD ตั้งแต่วัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้นไปจนตลอดชีวิต อาการของโรคนี้มักเกิดขึ้นในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป โดย อาจรุนแรงมากขึ้นเมื่อผู้ป่วยมีอายุมากขึ้นหรือมีความเครียด ซึ่งส่งผลเสียอย่างมากต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย สาเหตุของโรคย้าคิดย้าทา OCD ไม่มีสาเหตุที่แน่ชัด แต่เชื่อว่าอาจเกิดจากปัจจัยหลายส่วนร่วมกัน ดังนี้ 1. ปัจจัยทางชีวภาพ - ความผิดปกติของการทางานของสมอง โดยทางการแพทย์พบว่าผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าทามีการทางานของสมองในส่วน orbitofrontal cortex, cingulate cortex, caudate และ thalamus เพิ่มขึ้น - ความผิดปกติของระบบประสาท ทางการแพทย์สันนิษฐานว่า ผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าทาอาจมีกลไกการหลั่งสารสื่อนาประสาทในระบบซีโรโทนินผิดปกติ เนื่องจากพบว่า การรักษาโรคย้าคิดย้าทาด้วยยาแก้โรคซึมเศร้าที่ออกฤทธิ์ต่อระบบซีโรโทนินได้ประสิทธิภาพพอสมควร - ด้านพันธุกรรม ตามสถิติพบว่า อัตราการเกิดโรคในแฝดไข่ใบเดียวกันสูงถึงร้อยละ 60-90 ในขณะที่ประชากรทั่วไปพบในร้อยละ 2-3 เท่านั้น -การติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส (Streptococcal infection) เป็นเชื้อที่สามารถที่จะทาให้เกิดอาการของโรคย้าคิดย้าทาได้(หรือที่รู้จักกันในชื่อโรค PANDAS หรือ Pediatric autoimmune neuropsychiatric disorders associated with streptococcal infections*) 2. ปัจจัยด้านพฤติกรรมการเรียนรู้และความกลัว โดยเฉพาะสถานการณ์ที่มีเงื่อนไข และความกลัว ซึ่งสามารถแยกประเภทความกลัวได้เป็น 2 ข้อใหญ่ ๆ คือ 1.กลัวโชคร้าย เช่น กลัวว่าจะปิดบ้านไม่เรียบร้อย กลัวระบบฟืนไฟจะก่อให้เกิดอันตราย จนต้องวนเวียนมาตรวจสอบซ้าแล้วซ้า เล่า 2. กลัวความสกปรก เช่น กลัวล้างมือไม่สะอาด กลัวล้างตัวไม่หมดฟองสบู่ หรือเดินผ่านกองขี้หมาก็ต้องยกเท้าขึ้นมาดูซ้าแล้วซ้า อีก เป็นต้น อัตราการเกิดโรคย้าคิดย้าทา ข้อมูลจากการศึกษาในนิตยสารจิตเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล “Molecular Psychiatry” เมื่อเร็วๆนี้ พบว่ามีผู้ใหญ่ 1.2% ที่ เผชิญกับโรคย้าคิดย้าทาในแต่ละปี การศึกษายังระบุอีกว่ามีคนจานวน 2.3% ที่ประสบกับโรคย้าคิดย้าทาในช่วงชีวิตของตน โดยอายุ เฉลี่ยที่ผู้ป่วยจะเริ่มเป็นโรคย้าคิดย้าทาอยู่ที่ราวๆ 19-20 ปี โดยเด็กผู้ชายมักจะเริ่มมีแสดงอาการของโรคเร็วกว่าเด็กผู้หญิง และ หลังจากเริ่มแสดงอาการแล้วมักจะมีอาการต่อไปเป็นระยะเวลาเฉลี่ยประมาณ 9 ปี การวินิจฉัยโรคย้าคิดย้าทา แพทย์มักวินิจฉัยโรค OCD จากการซักประวัติและประเมินผลทางจิตเวชเป็นหลัก ซึ่งผู้ป่วยต้องแจ้งให้แพทย์ทราบ เกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้น ความรุนแรงของอาการ รูปแบบความคิดและพฤติกรรม และระยะเวลาที่หมดไปกับอาการย้าคิดย้าทา โดย ผู้ป่วยอาจมีอาการคล้ายหรือมีอาการร่วมกับโรคจิตเวชอื่น ๆ ด้วย เช่น โรคบุคลิกภาพผิดปกติชนิดย้าคิดย้าทา โรควิตกกังวล โรค ซึมเศร้า หรือโรคจิตเภท เป็นต้น นอกจากนี้ แพทย์อาจตรวจร่างกายหาร่องรอยที่เป็นสาเหตุหรือภาวะแทรกซ้อนของ OCD และอาจตรวจหาปัจจัยร่วมอื่น ที่ทาให้เกิดโรคนี้ เช่น ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด การทางานของไทรอยด์ การใช้แอลกอฮอล์และสารเสพติด เป็นต้น การรักษาโรคย้าคิดย้าทา ในการวินิจฉัยโรคย้าคิดย้าทา แพทย์จะทาการตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อแยกสาเหตุอื่นๆ ที่อาจเป็น ต้นเหตุของอาการที่เกิดขึ้นได้ออกไป รวมไปถึงการตรวจทางจิตเวช ซึ่งเป็นการตรวจตามเกณฑ์ของสมาคมจิตเวชศาสตร์แห่ง สหรัฐอเมริกา(APA)
  • 5. 5 การรักษาโรคย้าคิดย้าทาทาได้โดยใช้การทาจิตบาบัด ซึ่งประกอบไปด้วย พฤติกรรมบาบัด ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อสอนให้ผู้ป่วยโรคย้า คิดย้าทามีทักษะในการจัดการและลดอาการย้าคิดย้าทาที่เกิดขึ้น รวมถึงความวิตกกังวลของตนเอง การทาจิตบาบัดอาจทาควบคู่กับการให้ใช้ยาในกลุ่มยาคลายกังวล (Antidepressants) เช่น แอนาฟรานิล (Anafranil)ซึ่งมีตัวยาโคล มิพรามีน (Clomipramine) ยาลูว็อกซ์ (Luvox) ซึ่งมีตัวยาฟลูว็อกซามีน (Fluvoxamine) โปรแซ็ค (Prozac) ซึ่งมีตัวยาฟลูอ็อกซิทีน (Fluoxeine) และโซลอฟท์ (Zoloft) ซึ่งมีตัวยาเซอร์ทราลีน (Sertraline) นอกจากนี้การทาโยคะและการนวดบาบัดก็อาจช่วยผ่อนคลายความวิตกกังวลที่เกิดจากโรคย้าคิดย้าทาได้เช่น การรักษาด้วยยา 1. ยาแก้ซึมเศร้า ยาที่รักษาได้ผลดีใน OCD เป็นยาที่จัดอยู่ในกลุ่มที่ออกฤทธิ์ต่อ ระบบซีโรโตนิน เช่น clomipramine และยา ในกลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitors (SSRI) ทุกตัว ได้แก่ fluoxetine, fluvoxamine, paroxetine, sertraline และ escitalopram โดยทั่วไปมักใช้ในขนาดที่ใช้ในการรักษาโรคซึมเศร้า อาการข้างเคียงที่อาจพบได้แก่ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ 2. ยาคลายกังวล ในผู้ป่วยที่มีความวิตกกังวลอยู่สูงอาจใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepine ในระยะสั้นๆ ยาในกลุ่มนี้ไม่มีผลในการ รักษาอาการย้าคิด หรืออาการย้าทา 3. ยาต้านโรคจิต ในผู้ป่วยบางรายที่ได้รับการรักษาด้วยยาแก้เศร้าแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น แพทย์อาจพิจารณาให้ยาต้านโรคจิต เช่น risperidone ควบคู่ไปกับยาแก้ซึมเศร้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา ซึ่งอาการของผู้ป่วยมักดีขึ้นหลังจากรับประทานยาติดต่อกันอย่างน้อย 8-12 สัปดาห์ โดยอาจมีอาการดีขึ้นในเวลาน้อยกว่าหรือ มากกว่านั้น ทั้งนี้ ผู้ป่วยต้องคานึงถึงข้อควรระวังและผลข้างเคียงจากการใช้ยาด้วย โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุต่ากว่า 25 ปีซึ่งมีความเสี่ยง ต่อการฆ่าตัวตายในช่วงแรกของการรับประทานยาและช่วงที่ต้องปรับเปลี่ยนยา ยิ่งไปกว่านั้น การรับประทานยาต้านเศร้าอาจช่วย ลดการฆ่าตัวตายได้เมื่อรับประทานติดต่อกันเป็นเวลานาน แต่การหยุดใช้ยาหรือลืมรับประทานยาอาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการแย่ลง ได้แม้จะมีอาการดีขึ้นแล้วก็ตาม ดังนั้น ผู้ป่วยต้องปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอหากต้องการหยุดใช้ยา ซึ่งจะต้องค่อย ๆ ลดปริมาณการใช้ ยาลง นอกจากนี้ หากผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยารักษาข้างต้น แพทย์อาจให้รับประทานยาริสเพอริโดน ซึ่งเป็นยาที่มักได้ผลดีในรายที่ มักมีอาการขยิบตา ย่นจมูก กระตุกมุมปาก ขยับหน้า ยักไหล่หรือศีรษะ หรือกระแอมไอซ้า ๆ ทว่าในการรักษาโรคย้าคิดย้าทา ต้อง ใช้ยาในขนาดค่อนข้างสูงและใช้เวลารักษานาน โดยทั่วไปถ้าจะรักษาด้วยยาเพียงอย่างเดียว จะต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาอยู่นาน ประมาณ 1-2 ปี แต่การรักษาด้วยยาก็มีข้อดีคือ สะดวกกว่าการฝึก ในบางรายที่มีอาการมาก ๆ และไม่กล้าฝึกแพทย์อาจให้การรักษา ด้วยยาไปก่อน เมื่ออาการย้าคิดย้าทาน้อยลง และผู้ป่วยพร้อมที่จะฝึกค่อยให้ผู้ป่วยเริ่มฝึกก็ได้ การรักษาด้วยพฤติกรรมบาบัด การรักษาที่ได้ผลดีคือ พฤติกรรมบาบัด โดยการให้ผู้ป่วยเผชิญ กับสิ่งที่ทาให้กังวลใจและป้องกันไม่ให้มีพฤติกรรมย้าทา ที่เคย กระทา ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยที่มักล้างมือ ก็ให้จับของที่ผู้ป่วยรู้สึกว่าสกปรก ให้รออยู่ช่วงหนึ่งจึงอนุญาตให้ล้างมือ การฝึกจะทา ตามลาดับขั้น เริ่มจากสิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึกกังวลน้อยไปหามาก และระยะเวลาที่ไม่ให้ล้างมืออาจเริ่มจาก 10-15 นาที ไปจนเป็นชั่วโมง หากการรักษาได้ผลผู้ป่วยจะกังวลน้อยลงเรื่อยๆ จนสามารถจับสิ่งต่างๆ ได้โดยไม่ต้องรีบไปล้างมือดังก่อน นอกจากนี้ การให้ความรู้แก่สมาชิกในครอบครัวผู้ป่วย มีความสาคัญอย่างยิ่ง แพทย์ควรแนะนาสมาชิกในครอบครัว ถึงอาการของ โรค แนวทางการรักษาและการดูแลผู้ป่วย รวมทั้งแนะนาให้มีท่าทีเป็นกลางต่ออาการของผู้ป่วย โดย ไม่ร่วมมือและช่วยเหลือผู้ป่วย เมื่อผู้ป่วยมีอาการ ในขณะเดียวกัน ก็ไม่ต่อว่าผู้ป่วย เนื่องจากอาจทาให้ผู้ป่วยเครียด และยิ่งกระตุ้นให้อาการเป็นมากขึ้นได้ การรักษาวิธีอื่นๆ ได้แก่ การทาจิตบาบัดรายบุคคล เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวกับอาการได้กลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงปกติ มากที่สุด ในรายที่อาการรุนแรง อาจมีการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การฝังแท่งกาเนิดไฟฟ้าเพื่อกระตุ้นสมองส่วนลึก ( deep brain stimulation ) หรือ การผ่าตัด ( cingulotomy ) นอกจากการฝึกโดยการเข้าหาและเผชิญหน้ากับสิ่งที่ผู้ป่วยกลัวแล้ว ผู้ป่วยยังจะต้อง งดเว้นการย้าทาในขณะฝึกด้วย (response prevention) เช่น เมื่อให้ผู้ป่วยฝึกโดยการปิดเตาแก๊ส โดยไม่ต้องปิดถังแก๊สในช่วงกลางวัน ระหว่างฝึกผู้ป่วยจะต้องไม่มาคอยตรวจตราห้องครัว และต้องไม่คอยถามคนใกล้ชิดเช่น “แก๊สคงไม่รั่วใช่ไหม” เพื่อให้เขาตอบว่า
  • 6. 6 "ไม่รั่วหรอก" ในกรณีนี้ถ้าผู้ป่วย "เผลอถาม" ให้คนใกล้ชิดตอบว่า "หมอไม่ให้ตอบ" เพื่อให้ผู้ป่วยต้องฝึกที่จะทนกับความกังวลที่ เกิดขึ้น จนเกิดความชินชาขึ้นในที่สุด ภาวะแทรกซ้อนของโรคย้าคิดย้าทา OCD อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนซึ่งเป็นอาการหรือปัญหาในการใช้ชีวิตประจาวัน ดังต่อไปนี้  เป็นผื่นแพ้สัมผัสจากการล้างมือบ่อยเกินไป  ไม่สามารถใช้ชีวิตประจาวันตามปกติได้โดยมีปัญหาด้านการเรียน การทางาน การเข้าสังคม รวมทั้งด้านความสัมพันธ์กับ ผู้อื่น ซึ่งส่งผลเสียต่อคุณภาพชีวิตโดยรวม  มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เปลี่ยนไป เพราะมีทัศนคติในเรื่องอาหารที่ต่างไปจากเดิม  คิดว่าตนเองมีรูปลักษณ์บกพร่องหรือมีตาหนิ ทั้งที่ไม่ได้มีความผิดปกติใด ๆ  ชอบเก็บสะสมสิ่งของรวมถึงขยะมูลฝอยที่อาจก่อโรคตามมาได้  วิตกกังวลในหลาย ๆ เรื่องมากเกินควร โดยไม่สามารถควบคุมความรู้สึกนั้นได้  ซึมเศร้า สิ้นหวัง หรือสูญเสียความสนใจในสิ่งที่ตนเองชอบ หากมีอาการรุนแรงอาจนาไปสู่การฆ่าตัวตายได้ การป้องกันโรคย้าคิดย้าทา ยังไม่มีวิธีการป้องกัน OCD ที่ได้ผลอย่างแน่ชัด แต่การเข้ารับการรักษาอย่างเหมาะสมเมื่อพบว่าตนเองมีอาการย้าคิดย้าทา ก็อาจช่วยลดความรุนแรงของโรค และอาจช่วยลดผลกระทบด้านต่าง ๆ ในการใช้ชีวิตประจาวันได้ อย่างไรก็ตาม เพื่อป้องกันอาการของโรคแย่ลง ผู้ป่วย OCD ควรดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้  รักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ  พยายามใช้ชีวิตประจาวันตามปกติ เช่น ทางานประจา ใช้เวลาสังสรรค์กับครอบครัวและเพื่อนฝูง เป็นต้น  หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นที่อาจทาให้อาการของโรคแย่ลง รวมทั้งผ่อนคลายความเครียด เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง ดู โทรทัศน์ เล่นโยคะ เป็นต้น  เรียนรู้วิธีจัดการและรับมือกับอาการย้าคิดย้าทาที่เกิดขึ้น โดยอาจปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือเข้ากลุ่มบาบัดเพื่อช่วยให้รู้สึกดี ขึ้น  รับประทานยาตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด ห้ามหยุดใช้ยาเองเพราะอาจทาให้อาการแย่ลง และต้องปรึกษาแพทย์ก่อน รับประทานยาหรืออาหารเสริมชนิดอื่น ๆ  ไปพบแพทย์ทันทีหากไม่สามารถรับมือกับอาการย้าคิดย้าทาได้อีกต่อไป วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจริงและนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาวิเคราะห์ พิจารณาว่าข้อมูลใดที่ศึกษาแล้วเข้าใจง่าย และนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง หลังจากนั้นนาข้อมูลที่ศึกษามานาเสนอในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. อินเทอร์เน็ต งบประมาณ -
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน กลุ่มผู้จัดทา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล กลุ่มผู้จัดทา 3 จัดทาโครงร่างงาน กลุ่มผู้จัดทา 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน กลุ่มผู้จัดทา 5 ปรับปรุงทดสอบ กลุ่มผู้จัดทา 6 การทาเอกสารรายงาน กลุ่มผู้จัดทา 7 ประเมินผลงาน กลุ่มผู้จัดทา 8 นาเสนอโครงงาน กลุ่มผู้จัดทา ผลที่คาดว่าจะได้รับ คาดว่าผู้ศึกษาดูผลงานจะได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคย้าคิดย้าทามากยิ่งขึ้น นาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ใน ชีวิตประจาวันและอยู่ร่วมกับผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าทาได้อย่างสงบสุข สถานที่ดาเนินการ โรงเยนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนปกเกบ้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา แหล่งอ้างอิง - เว็บไซด์https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/05012014-1443 - เว็บไซด์https://www.honestdocs.co/what-is-ocd - เว็บไซด์https://www.pobpad.com/ocd- %E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0% B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B8%B3 - เว็บไซด์https://health.kapook.com/view3146.html