SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
พยายาม ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน
การบรรยายครั้งที่ 9
พยายาม (ม.80)
การกระทาความผิดฐานพยายาม คือ การที่บุคคลผู้ลงมือกระทา
ความผิดแล้วแต่กระทาไม่ตลอด หรือ กระทาโดยตลอดแต่การกระทานั้นไม่
บรรลุผล บุคคลนั้นมีความผิดฐานพยายามกระทาความผิด
หลักเกณฑ์ของการกระทาความผิดฐานพยายาม
1. ต้องมีการกระทาโดยเจตนา
2. ผู้กระทาได้ลงมือกระทาความผิดแล้ว
3. แต่การกระทาผิดนั้นได้กระทาไม่ตลอด เนื่องจากมีเหตุการณ์อย่างใดอย่าง
หนึ่งมาขัดขวาง หรือกระทาไปตลอดแล้ว แต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล
- การกระทาไม่ตลอด หมายความว่า ลงมือกระทาตามเจตนาแล้ว
แต่ไม่สามารถกระทาครบถ้วนตามที่คิดกระทา เนื่องจากมีเหตุการณ์อย่างใด
อย่างหนึ่งมาขัดขวาง
- กระทาตลอดแล้วแต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล หมายความว่า
ผู้กระทาผิดได้ลงมือทุกอย่างตามเจตนาแล้ว และผู้กระทาได้ทาทุกอย่างอัน
จาเป็น เพื่อให้การกระทาความผิดสาเร็จ แต่การกระทาไม่บรรลุผลตามที่ตั้งใจ
ตัวอย่าง นาย ก. กาลังจะยิงนาย ข. ยกปืนขึ้นและเหนี่ยวไก
พร้อมที่จะยิงนาย ข. แล้ว แต่นาย ค. ได้เห็นเหตุการณ์เสียก่อนจึงเอามือ
ปัดปืนนาย ก. หลุดมือไป เช่นนี้ถือว่านาย ก. พยายามฆ่านาย ข. แต่
กระทาไม่ตลอดเพราะมีนาย ค. มาขัดขวางเสียก่อน
ตัวอย่าง นาย ก. มาดักฆ่านาย ข. ด้วยการยิง นาย ก. ได้กระทา
ทุกอย่างตามเจตนาแล้ว คือ เหนี่ยวไก เล็ง และยิงนาย ข. แต่ปรากฏว่ายิง
ไม่โดนนาย ข. หรือยิงโดนนาย ข. แล้วแต่นาย ข. ไม่ตาย เพราะโดนจุดไม่
สาคัญ เช่นนี้ถือว่านาย ก. มีความผิดฐานพยายามฆ่านาย ข.
พยายามเป็นไปไม่ได้อย่างแน่แท้ (ม.81)
หลักเกณฑ์
1. ต้องมีการกระทาโดยเจตนา
2. ผู้กระทาได้ลงมือกระทาความผิดแล้ว
3. แต่การกระทาผิดนั้นได้กระทาไม่ตลอด เนื่องจากมีเหตุการณ์อย่างใดอย่าง
หนึ่งมาขัดขวาง หรือกระทาไปตลอดแล้ว แต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล
4 การกระทานั้นไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
4.1 เพราะเหตุปัจจัยที่ใช้ในการกระทา เช่น ปืนกาลังอ่อนยิงไม่เข้า
อย่างแน่นอน มีดไม่มีคม
4.2 เพราะเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทาต่อ เช่น ยิงศพโดยเข้าใจว่า
เป็นคน
อย่างไรก็ตามถ้ากรณีการพยายามกระทาความผิดเกิดจากการ
ยับยั้งหรือกลับใจแก้ไขของผู้กระทาผิดเอง ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษฐาน
พยายามกระทาความผิดอันนั้น แต่การกระทาอะไรก็ตามของผู้พยายาม
กระทาความผิดแล้วยับยั้งหรือกลับใจแก้ไขที่ทาลงไปแล้วผิดกฎหมายก็
ต้องรับผิดไปตามนั้น
ส่วนการพยายามกระทาความผิดที่มีโทษเท่าความผิดสาเร็จ ได้แก่
การพยายามกระทาความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ตาม และการ
พยายามกระทาความผิดต่อความมั่นคงของรัฐและสัมพันธไมตรี
การยับยั้งเสียเองไม่กระทาการให้ตลอด,การกลับแก้ไขไม่ให้การกระทา
บรรลุผล (ม.82)
ตัวอย่าง นาย ก. ต้องการฆ่านาย ข. จึงแกล้งเอาน้าผสมยาพิษ
เพื่อให้นาย ข.ดื่ม ขณะที่นาย ข. กาลังจะดื่ม นาย ก. รู้สึกสงสารจึงปัด
แก้วน้าตกแตก เช่นนี้นายก.ไม่ต้องรับผิดฐานพยายามฆ่า เพราะยับยั้งการ
กระทาเอง
ตัวอย่าง นายยอดกาลังเข้าไปขโมยแหวนเพชรในบ้านนางสวย
ขณะที่เข้าไปและกาลังจะหยิบแหวน นายยอดเกิดความสงสารจึงปีน
ออกมาจากบ้านนางสวยและโดนจับได้พอดี นายยอดไม่มีความผิดฐานลัก
ทรัพย์เพราะกลับใจ แต่ยังคงมีความผิดที่ได้ทาผิดไปแล้ว คือ ความผิดฐาน
บุกรุกบ้านนางสวย
ตัวการ (ม.83)
• ตัวการ คือ ผู้ที่ร่วมกันทาความผิดตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป และจะต้องรับ
โทษร่วมกันสาหรับความผิดนั้น
หลักเกณฑ์ของการเป็นตัวการ
1. เป็นการกระทาความผิดโดยเจตนา ในความผิดฐานประมาทผู้กระทาไม่อาจเป็นตัวการ
ร่วมได้ ต่างคนต่างรับผิดในความประมาทของตน
2. ต้องมีการกระทาผิดตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยการกระทาผิดนั้นผู้ร่วมกระทาผิดต้องมี
เจตนากระทาผิดร่วมกัน
3. ต้องมีการกระทาร่วมกัน ในขณะกระทาผิด การร่วมกระทาความผิด ไม่จาเป็นต้องร่วม
กระทาความผิดด้วยกันทุกขั้นทุกตอน การกระทาร่วมกันมีได้หลายกรณี ดังนี้
3.1 การร่วมกระทาส่วนหนึ่งของการกระทาทั้งหมดที่รวมกันเป็นความผิด
3.2 การแบ่งหน้าที่กันทา หมายความว่า ผู้ร่วมกระทาคนหนึ่งลงมือกระทาการอัน
เป็นความผิดในตัวเอง ในขณะที่ผู้ร่วมกระทาอีกคนหนึ่งได้กระทาหน้าที่อย่างอื่น ๆ ซึ่งไม่เป็น
ความผิดในตัวเอง เช่น คอยดูต้นทาง หรือแจ้งสัญญาณอันตราย
3.3 มีเจตนาร่วมกันในขณะกระทาความผิด หมายความว่า ผู้ที่กระทาการ
ร่วมกันนั้น จะต้องรู้ถึงการกระทาของกันและกันและต่างต้องประสงค์ถือเอาการกระทาของแต่
ละคนเป็นการกระทาของตนด้วย กล่าวคือ มุ่งหมายให้ความผิดนั้นสาเร็จดุจทาด้วยตนเอง
ถึงแม้จะมิได้ทาจริงด้วยมือของตนเองก็ตาม
ผู้ใช้ (ม.84)
ผู้ใช้ คือ ผู้ที่ก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด ไม่ว่าจะด้วยการใช้ การ
บังคับ ขู่เข็ญ จ้างวาน ยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอื่นใด ถือว่าผู้นั้นเป็นผู้ใช้ให้
กระทาความผิด ต้องลงโทษเสมือนเป็นตัวการ
หลักเกณฑ์ของการเป็นผู้ใช้
1. ผู้ใช้จะต้องเป็นผู้ก่อให้ผู้อื่นทาอย่างใดอย่างหนึ่ง วิธีก่อให้ผู้อื่นไป
กระทาความผิด คือ การใช้ การบังคับ การขู่เข็ญ การจ้าง การวาน การยุยง
ส่งเสริม หรือวิธีการอื่น ๆ เช่น ท้าพนัน การหลอก เป็นต้น
2. ผู้ใช้ต้องมีเจตนาก่อให้ผู้อื่นเกิดการกระทาผิดทางอาญา กล่าวคือ ผู้ถูก
ใช้ต้องไม่มีเจตนาที่จะกระทาความผิดอยู่ก่อนแล้ว
3. ผู้ถูกใช้จะต้องกระทาผิดโดยเจตนา
4 ผล ผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือนตัวการ คือ เหมือนผู้กระทาผิด แม้หากมีการใช้
แล้วผู้ถูกใช้จะยังไม่ยอมกระทา หรือเปลี่ยนใจไม่กระทา หรือผู้ถูกใช้ยังมิได้ลงมือ
กระทา หรือไม่ว่าด้วยเหตุอื่นใด ผู้ใช้ยังต้องรับโทษ 1 ใน 3 ของโทษที่กาหนด
ไว้สาหรับความผิดนั้น
• ตัวอย่าง นาย ก. จ้างนาย ข.ให้ไปฆ่านาย ค. เช่นนี้ถือว่านาย
ก.เป็นผู้ใช้ และสาหรับนาย ข. เป็นผู้กระทาผิดตามกฎหมาย
อาญาฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา ดังนั้นนาย ก. ที่เป็นผู้ใช้ จึงมี
ความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาเสมือนตัวการร่วมกระทา
ความผิดกับนาย ข.ด้วย สาหรับความผิดฐานผู้ใช้
ผู้สนับสนุน (ม.86)
ผู้สนับสนุน คือ ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการ
ที่ตัวการจะกระทาผิด ผู้นั้นต้องรับโทษ 2 ใน 3 ของความผิดที่สนับสนุน
หลักเกณฑ์ของการเป็นผู้สนับสนุน
1. เป็นผู้ให้ความช่วยเหลือหรือ ให้ความสะดวกในการกระทาความผิด เช่น
ช่วยหาช่องโอกาส ให้กาลังพาหนะ ให้ความรู้กับผู้กระทาความผิด ฯลฯ
2. ให้ความช่วยเหลือก่อนหรือขณะกระทาผิด ถ้าให้ความช่วยเหลือหลังกระทา
ความผิดไม่เป็นผู้สนับสนุน
แต่อย่างไรก็ตามการให้ความช่วยเหลือหลังการกระทาความผิดไปแล้ว
ผู้ช่วยเหลือ อาจจะมีความผิดต่างหากของตัวมันเอง เช่น ความผิดฐานรับของ
โจร ช่วยผู้อื่นไม่ให้ถูกลงโทษ ให้ที่พานักแก่ผู้กระทาความผิด เป็นต้น
3. ผู้สนับสนุนต้องมีเจตนา ถ้าไม่มีเจตนาไม่มีความผิด
4. ตัวการไม่ต้องรู้ถึงการสนับสนุนของผู้สนับสนุน
5 ผล ผู้สนับสนุนต้องรับโทษ 2 ใน 3 ของความผิดที่สนับสนุน
• ตัวอย่าง นางสงค์รู้ว่านายจกมาขอยืมรถเพื่อนาไปเป็นพาหนะในการขับไป
ฆ่านายนัด นายสงค์ก็ให้ยืม เช่นนี้ถือว่าให้กาลังพาหนะ นายสงค์จึงมี
ความผิดเป็นผู้สนับสนุนการฆ่านายนัด ต้องรับโทษ 2 ใน 3 ของความผิด
ฐานฆ่าคนตาย
• ตัวอย่าง นางแจ๋วเป็นสาวใช้บ้านเศรษฐี ได้บอกเวลาที่นายจ้างไม่อยู่บ้าน
พร้อมวาดแผนที่ห้องต่าง ๆ ให้แก่นายจักร เพื่อที่จะได้เข้ามาลักทรัพย์ นาง
แจ๋วถือว่าเป็นผู้สนับสนุน เพราะช่วยหาโอกาสและให้ความรู้แกนายจักร
• ตัวอย่าง ดาลักทรัพย์จากบ้านของนายขาวสาเร็จ พบแดงขี่รถจักรยานยนต์
มา ดาจึงขอให้แดงขับรถนาทรัพย์ที่ลักมาได้ไปบ้านดา แม้แดงจะรู้ว่าตนช่วย
ขนทรัพย์ที่ลักมา แดงก็ไม่ใช่ผู้สนับสนุนการลักทรัพย์ เพราะเป็นการ
ช่วยเหลือหลังจากนายดากระทาความผิดสาเร็จแล้ว
• ตัวอย่าง นาง ก. สาวใช้ลืมปิดประตูบ้าน ทาให้นายเสือและพวกเข้าไป
ปล้นบ้านได้อย่างสะดวก เช่นนี้นาง ก. ไม่มีความผิดฐานเป็น
ผู้สนับสนุน เพราะไม่มีเจตนา
• ตัวอย่าง นางแจ๋วโกรธแค้นนายจ้างที่ชอบดุด่า จึงแกล้งเปิดหน้าต่างทิ้ง
ไว้เพื่อที่จะให้ผู้ร้ายเข้ามาเอาทรัพย์สินโดยสะดวก นายแดงเห็นหน้าต่าง
เปิดแต่ไม่รู้ว่าใครเปิดให้จึงเข้าไปขโมยของได้สะดวก ถือว่านางแจ๋วเป็น
ผู้สนับสนุนการลักทรัพย์ครั้งนี้ถึงแม้ว่าตัวการ คือ นายแดงจะไม่รู้ถึง
ความช่วยเหลือในครั้งนี้ก็ตาม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนKanin Wongyai
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์Jiraporn
 
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรโครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรPornthip Nabnain
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์
 
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรโครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 

Andere mochten auch

กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันAJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
Computational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryComputational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryCelso Furukawa
 
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreListas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreaquileoagustin
 

Andere mochten auch (20)

กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
low basic
low basiclow basic
low basic
 
1.1 podjela mašina
1.1 podjela mašina1.1 podjela mašina
1.1 podjela mašina
 
Computational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryComputational Geometry Laboratory
Computational Geometry Laboratory
 
11/11/13 Meeting
11/11/13 Meeting11/11/13 Meeting
11/11/13 Meeting
 
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreListas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
 

พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน

  • 1. พยายาม ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน การบรรยายครั้งที่ 9
  • 2. พยายาม (ม.80) การกระทาความผิดฐานพยายาม คือ การที่บุคคลผู้ลงมือกระทา ความผิดแล้วแต่กระทาไม่ตลอด หรือ กระทาโดยตลอดแต่การกระทานั้นไม่ บรรลุผล บุคคลนั้นมีความผิดฐานพยายามกระทาความผิด
  • 3. หลักเกณฑ์ของการกระทาความผิดฐานพยายาม 1. ต้องมีการกระทาโดยเจตนา 2. ผู้กระทาได้ลงมือกระทาความผิดแล้ว 3. แต่การกระทาผิดนั้นได้กระทาไม่ตลอด เนื่องจากมีเหตุการณ์อย่างใดอย่าง หนึ่งมาขัดขวาง หรือกระทาไปตลอดแล้ว แต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล - การกระทาไม่ตลอด หมายความว่า ลงมือกระทาตามเจตนาแล้ว แต่ไม่สามารถกระทาครบถ้วนตามที่คิดกระทา เนื่องจากมีเหตุการณ์อย่างใด อย่างหนึ่งมาขัดขวาง - กระทาตลอดแล้วแต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล หมายความว่า ผู้กระทาผิดได้ลงมือทุกอย่างตามเจตนาแล้ว และผู้กระทาได้ทาทุกอย่างอัน จาเป็น เพื่อให้การกระทาความผิดสาเร็จ แต่การกระทาไม่บรรลุผลตามที่ตั้งใจ
  • 4. ตัวอย่าง นาย ก. กาลังจะยิงนาย ข. ยกปืนขึ้นและเหนี่ยวไก พร้อมที่จะยิงนาย ข. แล้ว แต่นาย ค. ได้เห็นเหตุการณ์เสียก่อนจึงเอามือ ปัดปืนนาย ก. หลุดมือไป เช่นนี้ถือว่านาย ก. พยายามฆ่านาย ข. แต่ กระทาไม่ตลอดเพราะมีนาย ค. มาขัดขวางเสียก่อน ตัวอย่าง นาย ก. มาดักฆ่านาย ข. ด้วยการยิง นาย ก. ได้กระทา ทุกอย่างตามเจตนาแล้ว คือ เหนี่ยวไก เล็ง และยิงนาย ข. แต่ปรากฏว่ายิง ไม่โดนนาย ข. หรือยิงโดนนาย ข. แล้วแต่นาย ข. ไม่ตาย เพราะโดนจุดไม่ สาคัญ เช่นนี้ถือว่านาย ก. มีความผิดฐานพยายามฆ่านาย ข.
  • 5. พยายามเป็นไปไม่ได้อย่างแน่แท้ (ม.81) หลักเกณฑ์ 1. ต้องมีการกระทาโดยเจตนา 2. ผู้กระทาได้ลงมือกระทาความผิดแล้ว 3. แต่การกระทาผิดนั้นได้กระทาไม่ตลอด เนื่องจากมีเหตุการณ์อย่างใดอย่าง หนึ่งมาขัดขวาง หรือกระทาไปตลอดแล้ว แต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล 4 การกระทานั้นไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ 4.1 เพราะเหตุปัจจัยที่ใช้ในการกระทา เช่น ปืนกาลังอ่อนยิงไม่เข้า อย่างแน่นอน มีดไม่มีคม 4.2 เพราะเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทาต่อ เช่น ยิงศพโดยเข้าใจว่า เป็นคน
  • 6. อย่างไรก็ตามถ้ากรณีการพยายามกระทาความผิดเกิดจากการ ยับยั้งหรือกลับใจแก้ไขของผู้กระทาผิดเอง ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษฐาน พยายามกระทาความผิดอันนั้น แต่การกระทาอะไรก็ตามของผู้พยายาม กระทาความผิดแล้วยับยั้งหรือกลับใจแก้ไขที่ทาลงไปแล้วผิดกฎหมายก็ ต้องรับผิดไปตามนั้น ส่วนการพยายามกระทาความผิดที่มีโทษเท่าความผิดสาเร็จ ได้แก่ การพยายามกระทาความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ตาม และการ พยายามกระทาความผิดต่อความมั่นคงของรัฐและสัมพันธไมตรี การยับยั้งเสียเองไม่กระทาการให้ตลอด,การกลับแก้ไขไม่ให้การกระทา บรรลุผล (ม.82)
  • 7. ตัวอย่าง นาย ก. ต้องการฆ่านาย ข. จึงแกล้งเอาน้าผสมยาพิษ เพื่อให้นาย ข.ดื่ม ขณะที่นาย ข. กาลังจะดื่ม นาย ก. รู้สึกสงสารจึงปัด แก้วน้าตกแตก เช่นนี้นายก.ไม่ต้องรับผิดฐานพยายามฆ่า เพราะยับยั้งการ กระทาเอง ตัวอย่าง นายยอดกาลังเข้าไปขโมยแหวนเพชรในบ้านนางสวย ขณะที่เข้าไปและกาลังจะหยิบแหวน นายยอดเกิดความสงสารจึงปีน ออกมาจากบ้านนางสวยและโดนจับได้พอดี นายยอดไม่มีความผิดฐานลัก ทรัพย์เพราะกลับใจ แต่ยังคงมีความผิดที่ได้ทาผิดไปแล้ว คือ ความผิดฐาน บุกรุกบ้านนางสวย
  • 8. ตัวการ (ม.83) • ตัวการ คือ ผู้ที่ร่วมกันทาความผิดตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป และจะต้องรับ โทษร่วมกันสาหรับความผิดนั้น
  • 9. หลักเกณฑ์ของการเป็นตัวการ 1. เป็นการกระทาความผิดโดยเจตนา ในความผิดฐานประมาทผู้กระทาไม่อาจเป็นตัวการ ร่วมได้ ต่างคนต่างรับผิดในความประมาทของตน 2. ต้องมีการกระทาผิดตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยการกระทาผิดนั้นผู้ร่วมกระทาผิดต้องมี เจตนากระทาผิดร่วมกัน 3. ต้องมีการกระทาร่วมกัน ในขณะกระทาผิด การร่วมกระทาความผิด ไม่จาเป็นต้องร่วม กระทาความผิดด้วยกันทุกขั้นทุกตอน การกระทาร่วมกันมีได้หลายกรณี ดังนี้ 3.1 การร่วมกระทาส่วนหนึ่งของการกระทาทั้งหมดที่รวมกันเป็นความผิด 3.2 การแบ่งหน้าที่กันทา หมายความว่า ผู้ร่วมกระทาคนหนึ่งลงมือกระทาการอัน เป็นความผิดในตัวเอง ในขณะที่ผู้ร่วมกระทาอีกคนหนึ่งได้กระทาหน้าที่อย่างอื่น ๆ ซึ่งไม่เป็น ความผิดในตัวเอง เช่น คอยดูต้นทาง หรือแจ้งสัญญาณอันตราย 3.3 มีเจตนาร่วมกันในขณะกระทาความผิด หมายความว่า ผู้ที่กระทาการ ร่วมกันนั้น จะต้องรู้ถึงการกระทาของกันและกันและต่างต้องประสงค์ถือเอาการกระทาของแต่ ละคนเป็นการกระทาของตนด้วย กล่าวคือ มุ่งหมายให้ความผิดนั้นสาเร็จดุจทาด้วยตนเอง ถึงแม้จะมิได้ทาจริงด้วยมือของตนเองก็ตาม
  • 10. ผู้ใช้ (ม.84) ผู้ใช้ คือ ผู้ที่ก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด ไม่ว่าจะด้วยการใช้ การ บังคับ ขู่เข็ญ จ้างวาน ยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอื่นใด ถือว่าผู้นั้นเป็นผู้ใช้ให้ กระทาความผิด ต้องลงโทษเสมือนเป็นตัวการ
  • 11. หลักเกณฑ์ของการเป็นผู้ใช้ 1. ผู้ใช้จะต้องเป็นผู้ก่อให้ผู้อื่นทาอย่างใดอย่างหนึ่ง วิธีก่อให้ผู้อื่นไป กระทาความผิด คือ การใช้ การบังคับ การขู่เข็ญ การจ้าง การวาน การยุยง ส่งเสริม หรือวิธีการอื่น ๆ เช่น ท้าพนัน การหลอก เป็นต้น 2. ผู้ใช้ต้องมีเจตนาก่อให้ผู้อื่นเกิดการกระทาผิดทางอาญา กล่าวคือ ผู้ถูก ใช้ต้องไม่มีเจตนาที่จะกระทาความผิดอยู่ก่อนแล้ว 3. ผู้ถูกใช้จะต้องกระทาผิดโดยเจตนา 4 ผล ผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือนตัวการ คือ เหมือนผู้กระทาผิด แม้หากมีการใช้ แล้วผู้ถูกใช้จะยังไม่ยอมกระทา หรือเปลี่ยนใจไม่กระทา หรือผู้ถูกใช้ยังมิได้ลงมือ กระทา หรือไม่ว่าด้วยเหตุอื่นใด ผู้ใช้ยังต้องรับโทษ 1 ใน 3 ของโทษที่กาหนด ไว้สาหรับความผิดนั้น
  • 12. • ตัวอย่าง นาย ก. จ้างนาย ข.ให้ไปฆ่านาย ค. เช่นนี้ถือว่านาย ก.เป็นผู้ใช้ และสาหรับนาย ข. เป็นผู้กระทาผิดตามกฎหมาย อาญาฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา ดังนั้นนาย ก. ที่เป็นผู้ใช้ จึงมี ความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาเสมือนตัวการร่วมกระทา ความผิดกับนาย ข.ด้วย สาหรับความผิดฐานผู้ใช้
  • 13. ผู้สนับสนุน (ม.86) ผู้สนับสนุน คือ ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการ ที่ตัวการจะกระทาผิด ผู้นั้นต้องรับโทษ 2 ใน 3 ของความผิดที่สนับสนุน
  • 14. หลักเกณฑ์ของการเป็นผู้สนับสนุน 1. เป็นผู้ให้ความช่วยเหลือหรือ ให้ความสะดวกในการกระทาความผิด เช่น ช่วยหาช่องโอกาส ให้กาลังพาหนะ ให้ความรู้กับผู้กระทาความผิด ฯลฯ 2. ให้ความช่วยเหลือก่อนหรือขณะกระทาผิด ถ้าให้ความช่วยเหลือหลังกระทา ความผิดไม่เป็นผู้สนับสนุน แต่อย่างไรก็ตามการให้ความช่วยเหลือหลังการกระทาความผิดไปแล้ว ผู้ช่วยเหลือ อาจจะมีความผิดต่างหากของตัวมันเอง เช่น ความผิดฐานรับของ โจร ช่วยผู้อื่นไม่ให้ถูกลงโทษ ให้ที่พานักแก่ผู้กระทาความผิด เป็นต้น 3. ผู้สนับสนุนต้องมีเจตนา ถ้าไม่มีเจตนาไม่มีความผิด 4. ตัวการไม่ต้องรู้ถึงการสนับสนุนของผู้สนับสนุน 5 ผล ผู้สนับสนุนต้องรับโทษ 2 ใน 3 ของความผิดที่สนับสนุน
  • 15. • ตัวอย่าง นางสงค์รู้ว่านายจกมาขอยืมรถเพื่อนาไปเป็นพาหนะในการขับไป ฆ่านายนัด นายสงค์ก็ให้ยืม เช่นนี้ถือว่าให้กาลังพาหนะ นายสงค์จึงมี ความผิดเป็นผู้สนับสนุนการฆ่านายนัด ต้องรับโทษ 2 ใน 3 ของความผิด ฐานฆ่าคนตาย • ตัวอย่าง นางแจ๋วเป็นสาวใช้บ้านเศรษฐี ได้บอกเวลาที่นายจ้างไม่อยู่บ้าน พร้อมวาดแผนที่ห้องต่าง ๆ ให้แก่นายจักร เพื่อที่จะได้เข้ามาลักทรัพย์ นาง แจ๋วถือว่าเป็นผู้สนับสนุน เพราะช่วยหาโอกาสและให้ความรู้แกนายจักร • ตัวอย่าง ดาลักทรัพย์จากบ้านของนายขาวสาเร็จ พบแดงขี่รถจักรยานยนต์ มา ดาจึงขอให้แดงขับรถนาทรัพย์ที่ลักมาได้ไปบ้านดา แม้แดงจะรู้ว่าตนช่วย ขนทรัพย์ที่ลักมา แดงก็ไม่ใช่ผู้สนับสนุนการลักทรัพย์ เพราะเป็นการ ช่วยเหลือหลังจากนายดากระทาความผิดสาเร็จแล้ว
  • 16. • ตัวอย่าง นาง ก. สาวใช้ลืมปิดประตูบ้าน ทาให้นายเสือและพวกเข้าไป ปล้นบ้านได้อย่างสะดวก เช่นนี้นาง ก. ไม่มีความผิดฐานเป็น ผู้สนับสนุน เพราะไม่มีเจตนา • ตัวอย่าง นางแจ๋วโกรธแค้นนายจ้างที่ชอบดุด่า จึงแกล้งเปิดหน้าต่างทิ้ง ไว้เพื่อที่จะให้ผู้ร้ายเข้ามาเอาทรัพย์สินโดยสะดวก นายแดงเห็นหน้าต่าง เปิดแต่ไม่รู้ว่าใครเปิดให้จึงเข้าไปขโมยของได้สะดวก ถือว่านางแจ๋วเป็น ผู้สนับสนุนการลักทรัพย์ครั้งนี้ถึงแม้ว่าตัวการ คือ นายแดงจะไม่รู้ถึง ความช่วยเหลือในครั้งนี้ก็ตาม