SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
Downloaden Sie, um offline zu lesen
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
การบรรยายครั้งที่ 4
ประเภทของกฎหมาย
• กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา
• กฎหมายสารบัญญัติ กฎหมายวิธีสบัญญัติ
• กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน
• กฎหมายภายในประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ
ประเภทของกฎหมาย
• กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา
กฎหมายแพ่ง คือ กฎหมายที่กาหนดสิทธิและหน้าที่ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่อ
บุคคล เช่น ป.แพ่งและพาณิชย์
กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่กาหนดว่าการกระทาใดเป็นความผิดและกาหนดโทษ
ไว้ เช่น ป.อาญา
• กฎหมายสารบัญญัติ กฎหมายวิธีสบัญญัติ
กฎหมายสารบัญญัติ คือ กฎหมายที่กาหนดเนื้อหาของสิทธิและหน้าที่ ตลอดจนข้อ
ห้ามต่างๆ เช่น ป.อาญา ป.แพ่งและพาณิชย์
กฎหมายวิธีสบัญญัติ คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงวิธีการ ขั้นตอน และกระบวนการใน
การพิจารณาคดี เช่น ป.วิธีพิจารณาความอาญา ป.วิธีพิจารณาความแพ่ง
ประเภทของกฎหมาย
• กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน
กฎหมายเอกชน คือ กฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน ใน
ฐานะที่ทั้งสองฝ่ายเท่าเทียมกัน เช่น ป.แพ่งและพาณิชย์
กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ
ด้วยกันเอง หรือรัฐหรือหน่วยงานของรัฐฝ่ายหนึ่งกับเอกชนฝ่ายหนึ่ง ในฐานะที่รัฐ
มีอานาจเหนือกว่า เช่น รัฐธรรมนูญ ป.อาญา กฎหมายปกครอง กฎหมายจราจร
กฎหมายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
• กฎหมายภายในประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายภายในประเทศ คือ กฎหมายที่ใช้บังคับในประเทศนั้นๆ ออกโดยผู้มีอานาจ
ในประเทศ เช่น พระราชบัญญัติต่างๆ
กฎหมายระหว่างประเทศ คือ กฎหมายที่บัญญัติโดยองค์กรระหว่างประเทศ และใช้
บังคับระหว่างประเทศด้วยกัน เช่น สนธิสัญญาเบาริ่ง
ลาดับชั้นของกฎหมายไทย
ลาดับชั้นของกฎหมายมีไว้เพื่อบ่งบอกถึงระดับสูงต่าและความสาคัญของกฎหมายแต่ละประเภทรวมไปถึง
ภาพรวมของกฎหมายที่ใช้กัน กฎหมายที่มีลาดับชั้นต่ากว่าจะมีผลยกเลิกหรือขัดต่อกฎหมายที่มีลาดับชั้นสูงกว่าไม่ได้
ซึ่งเราจัดลาดับได้ดังนี้
• รัฐธรรมนูญ
• พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
• พระราชบัญญัติ
• พระราชกาหนด
• พระราชกฤษฎีกา
• กฎกระทรวง
• กฎหมายที่ตราโดยองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญ
คือ กฎหมายสูงสุดในการจัดระเบียบการปกครองประเทศ ซึ่งจะวางระเบียบแห่งอานาจ
สูงสุดของรัฐหรืออานาจอธิปไตย ได้แก่ อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ
ตลอดจนการกาหนดสิทธิเสรีภาพและหน้าที่ของชนชาวไทย
รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายแม่บทที่มีศักดิ์สูงที่สุด กฎหมายอื่นๆที่ออกมาจะต้องออกให้
สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ กฎหมายใดที่ขัดกับรัฐธรรมนูญจะก็จะไม่มีผลใช้บังคับได้
พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.)
คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา เป็นกฎหมาย
หลักที่สาคัญที่บังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน พระราชบัญญัติเป็นกฎหมายที่มีลาดับชั้นรองลงมาจากกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติที่สาคัญที่รัฐสภาตราออกมาใช้บังคับ เช่น พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง
สัตว์ป่า พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 เป็นต้น
-พระราชบัญญัติ เป็นกฎหมายเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง คือเป็นกฎหมายที่ออกมาใช้เพื่อ
วัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใด เช่น พระราชบัญญัติล้มละลาย ก็จะเป็นเรื่องเฉพาะเกี่ยวกับการล้มละลาย
หรือพระราชบัญญัติสัญชาติ ก็จะเกี่ยวข้องเฉพาะกับเรื่องสัญชาติของบุคคล ฯลฯ ซึ่งพระราชบัญญัตินี้จะมี
ส่วนเกี่ยวข้องกับฝ่ายบริหารหรือก็คือรัฐบาลค่อนข้างมาก เพราะฝ่ายบริหารจะเป็นผู้กาหนดนโยบายในการ
บริหารประเทศ และเสนอกฎหมายเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับนโยบายนั้นๆให้สภานิติบัญญัติทาการออก
นั่นเองและกฎหมายที่ออกมานั้นแม้จะมีการเปลี่ยนฝ่ายบริหารหรือฝ่ายรัฐบาลแล้ว ก็จะมีผลใช้บังคับอยู่
จนกว่ากฎหมายนั้นจะถูกยกเลิกหรือมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
ประมวลกฎหมาย คือกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่ได้บัญญัติหรือตราขึ้นโดยรวบรวมจัดเอา
บทบัญญัติเกี่ยวกับกฎหมายที่เป็นเรื่องเดียวกันเอามารวบรวมเป็นหมวดหมู่ วางหลักเกณฑ์ให้อยู่ในที่
เดียวกันและมีข้อความเกี่ยวเนื่องติดต่อกันอย่างเป็นระเบียบประมวลกฎหมายต่างๆ ถือเป็นกฎหมายที่เป็น
หลักทั่วๆไป ที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ของบุคคลแต่ละคน บุคคลในสังคมต้องประพฤติปฏิบัติตนอย่างไร
และห้ามประพฤติปฏิบัติตนอย่างไรบ้าง และรวมไปถึงการให้ความคุ้มครองต่อสิทธิต่างๆของบุคคลแต่ละ
คนด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ต่างๆที่รัฐธรรมนูญวางไว้ ประมวลกฎหมายมีฐานะเท่าเทียมกับ
พระราชบัญญัติ ได้แก่
• ประมวลกฎหมายอาญา
• ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
• ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
• ประมวลรัษฎากร
• ดากสวหด
พระราชกาหนด (พ.ร.ก.)
คือกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคาแนะนาของคณะรัฐมนตรี การตราพระราช
กาหนดให้กระทาได้เฉพาะเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นว่าเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็นเร่งด่วนอันมิอาจ
หลีกเลี่ยงได้ และต้องเป็นกรณีเพื่อจะรักษาความปลอดภัยของประเทศหรือความปลอดภัยสาธารณะ หรือ
ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้ องปัดภัยพิบัติสาธารณะ หรือเป็นพระราชกาหนดเกี่ยวด้วย
การภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับเพื่อรักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน
และเมื่อได้ประกาศใช้แล้วต้องเสนอพระราชกาหนดนั้นต่อสภาทันทีถ้ารัฐอนุมัติก็มีผลใช้บังคับเป็น
พระราชบัญญัติต่อไป ถ้ารัฐสภาไม่อนุมัติก็ตกไป แต่ถ้าไม่กระทบกระเทือนกิจการที่ได้เป็นไปในระหว่างที่ใช้
พระราชกาหนดนั้น การประกาศใช้พระราชกาหนดให้ประกาศในราช-กิจจานุเบกษา โดยมีนายกรัฐมนตรี
เป็นผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ
ในภายหลังพระราชกาหนดนั้นก็อาจกลายเป็นพระราชบัญญัติซึ่งจะมีผลบังคับเป็นการถาวรได้ ถ้า
สภานิติบัญญัติให้การอนุมัติ แต่ถ้าสภาไม่อนุมัติพระราชกาหนดนั้นก็ตกไป แต่จะไม่กระทบกระเทือนถึง
กิจการที่ได้กระทาไปในระหว่างใช้พระราชกาหนดนั้น
พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ)
คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคาแนะนาของคณะรัฐมนตรี พระราชกฤษฎีกาจะ
ออกได้ต่อเมื่อพระราชบัญญัติซึ่งถือเป็นกฎหมายแม่บทให้อานาจไว้ พระราชกฤษฎีกาจึงเป็นเสมือน
กฎหมายที่ไม่สามารถจะออกมาให้ขัดหรือแย้งกับกฎหมายแม่บท และถ้ากฎหมายแม่บทถูกยกเลิก พระ
ราชกฤษฎีกานั้นก็ถือว่าถูกยกเลิกไปด้วย การประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ซึ่งจะออกได้เฉพาะในกรณีต่อไปนี้คือ
• รัฐธรรมนูญกาหนดให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาในกิจการอันสาคัญที่เกี่ยวกับฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติ
บัญญัติ เช่น พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ฯลฯ
• โดยอาศัยอานาจตามกฎหมายแม่บทซึ่งก็คือ พระราชบัญญัติ หรือ พระราชกาหนด คือจะต้องมี
พระราชบัญญัติหรือพระราชกาหนดให้อานาจในการออกไว้ เช่น พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากร
พ.ศ. 2528 กาหนดว่าหากจะเปิดศาลภาษีอากรจังหวัดเมื่อใด ต้องประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา ฯลฯ
ด้วยการที่พระราชกฤษฎีกาเป็นกฎหมายที่มีศักดิ์ต่ากว่าพระราชบัญญัติและพระราชกาหนด ดังนั้นจะ
ออกมาขัดกับพระราชบัญญัติหรือพระราชกาหนดซึ่งเป็นกฎหมายแม่บทนั้นไม่ได้
• กรณีที่จาเป็นอื่นๆในเรื่องใดก็ได้ แต่ต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย
กฎกระทรวง
กฎกระทรวง เป็นกฎหมายที่รัฐมนตรีแต่ละกระทรวงเป็นผู้ออก โดยอาศัยอานาจจาก
กฎหมายแม่บทซึ่งก็คือพระราชบัญญัติหรือพระราชกาหนดฉบับใดฉบับหนึ่ง เพื่อดาเนินการให้
เป็นไปตามกฎหมายนั้นๆ พระราชบัญญัติหรือพระราชกาหนดจะกาหนดกฎเกณฑ์กว้างๆเอาไว้ ส่วน
กฎกระทรวงก็จะมากาหนดรายละเอียดอีกชั้นหนึ่ง เช่น ในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง พ.ศ. 2539 ได้กาหนดว่า ในกรณีที่ใช้มาตรการบังคับทางปกครองโดยการยึดหรืออายัด
ทรัพย์สินของบุคคลใดเพื่อขายทอดตลาด ผู้ที่มีอานาจสั่งให้ยึด อายัดหรือขายทอดตลาดทรัพย์สิน
นั้น ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง เราก็ต้องไปศึกษาในกฎกระทรวงอีกชั้นหนึ่งว่าผู้ที่มี
อานาจสั่งนั้นคือใครบ้าง ฯลฯ
กฎกระทรวงจึงเป็นกฎหมายบริวารที่กาหนดรายละเอียดของกฎหมายแม่บทอีกต่อหนึ่ง
กฎกระทรวงจะออกมาขัดแย้งกับกฎหมายแม่บทไม่ได้และถ้ากฎหมายแม่บทถูกยกเลิก กฎกระทรวง
นั้นถือว่าถูกยกเลิกไปด้วย คณะรัฐมนตรีเป็นอนุมัติกฎกระทรวง การประกาศใช้กฎกระทรวงให้
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
เป็นกฎหมายที่ออกมาใช้บังคับโดยเฉพาะในแต่ละองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้
เป็นไปตามหน้าที่ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น หรือในกรณีที่กฎหมายให้อานาจไว้ก็ทาการ
ออกได้เช่นกัน เช่น ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เป็นกฎหมายที่กรุงเทพมหานครตราขึ้นเพื่อใช้บังคับ
ในเขตกรุงเทพมหานครเท่านั้น หรือเทศบัญญัติ ก็เป็นกฎหมายที่เทศบาลบัญญัติขึ้นใช้บังคับเฉพาะ
ในเขตเทศบาลของตน
กฎหมายที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ออก ได้แก่ เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด
ข้อบังคับสุขาภิบาล ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยา

Más contenido relacionado

Was ist angesagt?

ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์Supisara Jaibaan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003billy ratchadamri
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย IsLawsom
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909CUPress
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายสรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายSmith Kamcharoen
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 

Was ist angesagt? (20)

ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
T1 b1
T1 b1T1 b1
T1 b1
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
วินัยครู
วินัยครูวินัยครู
วินัยครู
 
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายสรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
ข้อ 1
ข้อ 1ข้อ 1
ข้อ 1
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
613 22
613 22613 22
613 22
 

Andere mochten auch

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันAJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12AJ Por
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนAJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10AJ Por
 
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษาChonnikarn Sangsuwan
 
3 solutions for your food, motivation & self care challenges.
3 solutions for your food, motivation & self  care challenges. 3 solutions for your food, motivation & self  care challenges.
3 solutions for your food, motivation & self care challenges. Nicole Torrens
 
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษาChonnikarn Sangsuwan
 
How effective is the combination of your main product and ancillary task?
How effective is the combination of your main product and ancillary task?How effective is the combination of your main product and ancillary task?
How effective is the combination of your main product and ancillary task?'Jonas Mondua
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestreaquileoagustin
 
Biomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive Medicine
Biomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive MedicineBiomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive Medicine
Biomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive MedicineCelso Furukawa
 
Computational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryComputational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryCelso Furukawa
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 

Andere mochten auch (20)

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
 
Livestrong
LivestrongLivestrong
Livestrong
 
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
3 solutions for your food, motivation & self care challenges.
3 solutions for your food, motivation & self  care challenges. 3 solutions for your food, motivation & self  care challenges.
3 solutions for your food, motivation & self care challenges.
 
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
How effective is the combination of your main product and ancillary task?
How effective is the combination of your main product and ancillary task?How effective is the combination of your main product and ancillary task?
How effective is the combination of your main product and ancillary task?
 
11/11/13 Meeting
11/11/13 Meeting11/11/13 Meeting
11/11/13 Meeting
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestre
 
Biomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive Medicine
Biomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive MedicineBiomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive Medicine
Biomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive Medicine
 
Computational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryComputational Geometry Laboratory
Computational Geometry Laboratory
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 

Ähnlich wie ครั้งที่ 4

ประมวลกฏหมายแพร่่งและพาณิชย์
ประมวลกฏหมายแพร่่งและพาณิชย์ประมวลกฏหมายแพร่่งและพาณิชย์
ประมวลกฏหมายแพร่่งและพาณิชย์maykai
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายKroo Mngschool
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdfjn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdfPawachMetharattanara
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 

Ähnlich wie ครั้งที่ 4 (13)

Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
แผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บแผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บ
 
แผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บแผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บ
 
ประมวลกฏหมายแพร่่งและพาณิชย์
ประมวลกฏหมายแพร่่งและพาณิชย์ประมวลกฏหมายแพร่่งและพาณิชย์
ประมวลกฏหมายแพร่่งและพาณิชย์
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
9789740328735
97897403287359789740328735
9789740328735
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
 
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdfjn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
 
Human rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial processHuman rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial process
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 

ครั้งที่ 4