SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
1
ประวัติของ Cloud Computing
คำำว่ำ Cloud นั้นเรำยืมมำจำกกำรสื่อสำรแบบโทรศัพท์ในยุคปี 90
ดำต้ำเซอร์กิจได้เกิดขึ้น (บนเครือข่ำยข้อมูลอินเทอร์เน็ต) เป็นกำรยำกที่จะ
เดินสำยเชื่อมต่อระหว่ำงปลำยทำงแต่ละจุด ดังนั้นผู้ให้บริกำรเริ่มมีบริกำร
เครือข่ำยส่วนตัวเสมือน หรือที่เรียกว่ำ VPN โดยผู้ให้บริกำร VPN สำมำรถ
รับประกันแบนด์วิธเทียบเท่ำกับที่กำรใช้วงจรแบบฟิกส์ในรำคำที่ตำ่ำกว่ำ
เพรำะสำมำรถสวิตช์ทรำฟฟิกส์และใช้ประโยชน์จำกเครือข่ำยโดยรวมได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ จำกกำรที่อำศัยสวิตช์นี้เองจึงเป็นกำรยำกที่จะบอกล่วง
หน้ำได้ว่ำข้อมูลเดินทำงผ่ำนเส้นทำงใด คำำว่ำ "Telecom cloud" จึงถูกใช้
เพื่ออธิบำยเครือข่ำยประเภทนี้ และ Cloud Computing ก็มีคอนเซพต์ค่อน
ข้ำงคล้ำยกัน Cloud Computing อำศัยพื้นฐำนเครื่องเสมือน (virtual
machine) ซึ่งเกิดขึ้นหรือลดจำำนวนเพื่อให้ตรงกับควำมต้องกำรของผู้ใช้
เพรำะว่ำ Virtual instances สำมำรถที่จะเกิดตำมควำมต้องกำร จึง
เป็นกำรยำกกำรที่จะตรวจสอบได้ว่ำมี virtual machine เท่ำไรที่ทำำงำนให้
ขณะนั้น รวมถึง virtual machine ดังกล่ำวทำำงำนอยู่ที่ไหน เหมือน
Cloud network
แนวคิดของ Cloud Computing ย้อนกลับไปยังเมื่อ 1960 เมื่อ
John McCarthy ได้เสนอควำมคิดเห็นว่ำวันหนึ่งกำรคำำนวณจะถูกจัดกำร
ให้สำมำรถใช้มันได้อย่ำงสำธำรณะ โดยลักษณะกำรแชร์บริกำรกัน แต่ส่วน
คำำว่ำ Cloud เข้ำมำใช้ในเชิงพำณิชย์
ในช่วงต้นปี 1990 นั้น คือ Asynchronous Transfer Mode หรือ
ที่เรียกเครือข่ำยแบบ ATM ต่อมำ General Magic เริ่มออกผลิตภัณฑ์
Cloud Computing ได้เพียงช่วงหนึ่งในปี 1995 โดยร่วมกับพันธมิตร
หลำยรำย เช่น ATT&T ก่อนที่ผู้บริโภคหันไปยังอินเตอร์เน็ต ในศตวรรษที่
21 คำำ " Cloud Computing " เริ่มปรำกฏอย่ำงแพร่หลำยแต่ส่วนมำกจะ
มุ่งไปในลักษณะ SaaS
ในปี 1999 Salesforce.com ได้ก่อตั้งขึ้นโดย Marc Benioff และ
Parker Harris พวกเขำใช้เทคโนโลยีหลำยอย่ำงที่พัฒนำโดยบริษัทเช่น
Google และ Yahoo! เพื่อประยุกต์ในเชิงธุรกิจ นอกจำกนี้ยังให้แนวคิด
ของ "On demand" และ SaaS กับธุรกิจของเค้ำและลูกค้ำที่ประสบควำม
สำำเร็จ กุญแจสำำหรับ SaaS อยู่ที่ลูกค้ำสำมำรถปรับแต่งได้โดยให้กำร
2
สนับสนุนทำงเทคนิคเท่ำที่จำำเป็น ซึ่งผู้ใช้พอใจกับควำมยืดหยุ่นและควำมเร็ว
ที่ได้
ในช่วงต้นปี 2000 Microsoft ขยำยแนวคิดของ SaaS ผ่ำนกำร
พัฒนำ Web service ต่อมำไอบีเอ็มเพิ่มแนวคิดเหล่ำนี้ในปี 2001 กับ
Autonomic Computing Manifesto ซึ่งอธิบำยถึงเทคนิคอัตโนมัติขั้นสูง
เช่น self-monitoring , self-healing, self-configuring, and self-
optimizing เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรจัดกำรระบบไอทีที่ซับซ้อนโดยมี
สตอเรจ เซิร์ฟเวอร์ แอปพลิเคชัน และเน็ตเวิร์ค ระบบควำมปลอดภัย และ
องค์ประกอบอื่นๆที่แตกต่ำงกันนั้นสำมำรถ virtualize ข้ำม enterprise
กันได้
Amazon เริ่มมีบทบำทสำำคัญในกำรพัฒนำ cloud computing โดย
พัฒนำ data center ของพวกเขำ และพบว่ำ Cloud architecture ใหม่
ปรับปรุงประสิทธิภำพ พวกเขำผ่ำนได้เปิดให้เข้ำถึงระบบของเข้ำได้ผ่ำนทำง
Amazon Web Services ในปี 2005
ในปี 2007 ของ Google และ IBM และมหำวิทยำลัยจำำนวนหนึ่งได้
เริ่มวิจัย cloud computing กันอย่ำงกว้ำงขวำงโครงกำรวิจัย ในเดือน
สิงหำคม 2008 Gartner Research พบว่ำ องค์กรต่ำงๆเริ่มวำงแผนจำก
เดิมที่บริษัทนั้นเป็นเจ้ำของฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เพื่อให้บริกำร ได้มีแผนที่
จะย้ำยไปยัง cloud computing ซึ่งกำำลังเติบโต
ควำมหมำยของ Cloud Computing
Cloud Computing คือวิธีกำรประมวลผลที่อิงกับควำมต้องกำรของผู้
ใช้ โดยผู้ใช้ระบุควำมต้องกำรไปยังซอฟต์แวร์ของระบบ Cloud
Computing จำกนั้นซอฟต์แวร์จะร้องขอให้ระบบจัดสรรทรัพยำกรและ
บริกำรให้ตรงกับควำมต้องกำรผู้ใช้ ทั้งนี้ระบบสำมำรถเพิ่มและลดจำำนวน
ของทรัพยำกร รวมถึงเสนอบริกำรให้พอเหมำะกับควำมต้องกำรของผู้ใช้ได้
ตลอดเวลำ โดยที่ผู้ใช้ไม่จำำเป็นต้องทรำบเลยว่ำกำรทำำงำนหรือเหตุกำรณ์
เบื้องหลังเป็นเช่นไร
Cloud Computing คือ บริกำรทำงอินเตอร์เน็ตที่เป็นแบบกำร
รวบรวมทรัพยำกรต่ำงๆที่จำำเป็นมำเชื่อมโยงไว้ด้วยกัน โดยมีกำรทำำงำนสอด
3
ประสำนกันแบบรวมศูนย์ โดยผู้จัดสรรทรัพยำกรนั้นเรียกว่ำ third-party
Provider หรือผู้ให้บริกำรบุคคลที่ 3 มีหน้ำที่รวบรวมพื้นฐำนต่ำงๆที่จำำเป็น
เข้ำไว้ด้วยกันกำรใช้ทรัพยำกำรคอมพิวเตอร์บนเครือข่ำยอินเตอร์เน็ต และ
ระบบสำรสนเทศแบบเสมือนจริง Cloud Computing จะทำำงำนโดยเมื่อผู้
ขอใช้บริกำรต้องกำรใช้สิ่งใดก็ส่งร้องขอไปยังซอฟแวร์ระบบ แล้วซอฟแวร์
ระบบก็จะร้องขอไประบบเพื่อจัดสรรทรัพยำกรและบริกำรให้ตรงกับควำม
ต้องกำรของผู้ขอใช้บริกำรต่อไป โดยผู้ขอใช้บริกำรมีหน้ำที่เสียค่ำใช้
บริกำรเพื่อควำมสำมำรถในกำรทำำงำนตำมต้องกำรโดยไม่ต้องทรำบหรือ
เข้ำใจหลักกำรทำำงำนเบื้องหลัง
4
ลักษณะของ Cloud Computing
ควำมต้องกำร (Requirement) ปัญหำที่ผู้ใช้ต้องกำรให้ระบบ
คอมพิวเตอร์แก้ไขปัญหำหรือตอบปัญหำตำม ที่ผู้ใช้กำำหนดได้ ยกตัวอย่ำง
เช่น ควำมต้องกำรพื้นที่จัดเก็บข้อมูลขนำด 1,000,000 GB, ควำมต้องกำร
ประมวลผลโปรแกรมแบบขนำนเพื่อค้นหำยำรักษำโรคไข้หวัดนกให้ได้สูตร
ยำภำยใน 90 วัน, ควำมต้องกำรโปรแกรมและพลังกำรประมวลผลสำำหรับ
สร้ำงภำพยนต์แอนนิเมชันควำมยำว 2 ชั่วโมงให้แล้วเสร็จภำยใน 4 เดือน,
และควำมต้องกำรค้นหำข้อมูลท่องเที่ยวและโปรแกรมทัวร์ในประเทศอิตำลี
ในรำคำที่ถูกที่สุดในโลกแต่ปลอดภัยในกำรเดินทำงด้วย เป็นต้น
ทรัพยำกร (Resource) หมำยถึง ปัจจัยหรือสรรพสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ
กำรประมวลผลหรือเกี่ยวข้องกับกำรแก้ไขปัญหำตำมโจทย์ที่ควำมต้องกำร
ของผู้ใช้ได้ระบุไว้ อำทิเช่น CPU, Memory (เช่น RAM), Storage (เช่น
harddisk), Database, Information, Data, Network, Application
Software, Remote Sensor เป็นต้น
บริกำร (Service) ถือว่ำเป็นทรัพยำกร และในทำงกลับกันก็สำมำรถ
บอกได้ว่ำทรัพยำกรก็คือบริกำร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในด้ำน Cloud
Computing แล้ว เรำจะใช้คำำว่ำบริกำรแทนคำำว่ำทรัพยำกร คำำว่ำบริกำร
หมำยถึงกำรกระทำำ (operation) เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สนองต่อควำม
ต้องกำร (requirement) แต่กำรกระทำำของบริกำรจะเกิดขึ้นได้จำำเป็นต้อง
พึ่งพำทรัพยำกร โดยกำรใช้ทรัพยำกรที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหำให้เกิด
ผลลัพธ์สนองต่อควำมต้องกำร
5
ประเภทของ Cloud Computing
1. Public Clouds : เป็นระบบบริการทั่วไปเพื่อบริการลูกค้าจำานวน
มาก ราคาไม่แพง ผู้ใช้ทั่วไปสามารถเข้าถึงได้
2. Private Clouds : เป็นระบบที่มีความเฉพาะ เพื่อทำางานให้ลูกค้า
โดยเชื่อมต่อการทำางานโดยตรงผ่าน Cloud Provider มีระบบการจัดการ
ฐานข้อมูลและมีความปลอดภัยที่ดี
3. Community Clouds : โครงสร้างพื้นฐานของ cloud ที่ใช้จาก
หลายๆหน่วยงาน หลายองค์กรเพื่อการสร้าง Cloud แต่ใช้วิธีแบ่งปันและ
บริหารร่วมกัน
4. Hybrid Clouds : เป็นระบบเชื่อมระหว่างสองระบบคือ Public
Clouds และ Private Clouds สามารถส่งข้อมูลและคำาสั่งข้าม
Application ของทั้งสองระบบ
รูปแบบการทำางานของ Cloud Computing
1. Software as a Services
Software as a Services (ตัวย่อที่เขาใช้กัน : SaaS) อันนี้ก็คือ
โปรแกรมบน WEB Browser ที่เราใช้ๆ กันอย่างพวก Hotmail, Gmail นี่
แหละ คือเราสามารถใช้งานโปรแกรมของผู้ให้บริการผ่าน internet โดยที่
เราไม่ต้องไปสนใจเลย ว่าเขาจะพัฒนาด้วยภาษาอะไร เครื่องให้บริการเขา
ยี่ห้ออะไร รุ่นไหน อยู่ที่ไหน และเราไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมใด ๆ บนเครื่อง
เราเลย ผู้ใช้เพียงแต่เปิด WEB Browser ขึ้นแล้ว Connect เข้า
อินเตอร์เน็ตให้ได้ จากนั้นก็เรียกใช้โปรแกรมของเขา ซึ่งในรูปแบบนี้ต่อไป
คงมีทั้งแบบที่เสียเงินตามปริมาณข้อมูล หรือเวลา ที่แต่ละคนให้บริการเขาจะ
คิดตังค์ หรือแบบฟรี services แต่เขาไปขาย Ad หรือโฆษณาต่างๆ ก็ว่ากัน
ไป
2. Platform as a Services
Platform as a Services (ตัวย่อที่เขาใช้กัน : PaaS) อันนี้จะ
มาในแนว R&D นิดหน่อยคือ คนให้บริการเขาจะจัดเตรียมพวกอุปกรณ์
ต่างๆ รวมถึงภาษาคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมือโปรแกรมสำาหรับพัฒนาเตรียม
6
ไว้ให้หมดแล้ว แต่ผู้ใช้ หรือนักพัฒนาจะสามารถที่จะทำาการพัฒนา ปรับปรุง
ระบบงานหรือโปรแกรมต่างๆ ของตัวเองหรือพัฒนาโปรแกรมตามโครงสร้าง
ที่ผู้ให้บริการจัดเตรียมไว้ให้ได้ เพื่อใช้ในการทดสอบระบบงานหรือ
โปรแกรมของตัวเองผ่านระบบ Cloud แบบนี้
3. Infrastructure as a Service
Infrastructure as a Service (ตัวย่อที่เขาใช้กัน : IaaS)
สำาหรับแบบนี้คือ ผู้ใช้ต้องจัดหา ระบบโปรแกรม และ OS (Operating
System) ต่างๆ เอง แต่ผู้ใช้ไม่มีสิทธิเข้าไปทำาการควบคุม หรือเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างพื้นฐานไอที พวก Hardware หรือ โครงสร้าง (Infrastructure)
ที่ผู้ให้บริการได้ออกแบบไว้ และในบางกรณีผู้ใช้จะสามารถเข้าไปทำาการ
ปรับแต่งระบบ Firewall ได้ ถ้าผู้ให้บริการเขาอนุญาต
ตัวอย่างการใช้ Cloud Computing
วันนี้ผมได้รับเชิญจากงาน Thailand Online Expo เพื่อไปบรรยาย
เรื่อง Cloud Computing ในหัวข้อเรื่อง “Cloud เทคโนโลยีที่ช่วยลด
ต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพองค์กรให้แข่งขันได้จริงหรือ?” ซึ่งก็เป็นอีกครั้งหนึ่ง
ที่ผมมาบรรยายให้กับกลุ่มผู้ใช้ไอทีในเรื่อง Cloud Computing ซึ่งผมมี
โอกาสบรรยายให้หลายๆครั้งกับกลุ่มของ SME ที่อาจโดย สสว. SIPA และ
Software Park สำาหรับ Slide บรรยายของผมสามารถดูได้จาก
Slideshare ที่ => การประยุกต์ใช้ Cloud Computing สำาหรับองค์กร
หลายๆคนชอบมาถามผมว่า Cloud Computing มันใช้ได้จริงหรอ
มันคุ้มหรอ มันไม่เสี่ยงหรอ สารพัดคำาถามที่เจอด้วยความไม่แน่ใจ ผมก็มักจะ
ตอบกลับไปว่าคุณก็ใช้อยู่ทุกวัน ถ้าคุณใช้ Facebook, Gmail, Dropbox
หรือ Google Calendar พวกนั้นก็คือแอปพลิเคชั่นบน Cloud ที่ทำาให้
คุณสามารถเข้าถึงข้อมูล ทุกที่ ทุกเวลา และทุกอุปกรณ์ เพียงแต่ Public
Cloud ที่คุณใช้อยู่เป็น Free Cloud ที่คุณใช้แบบเริ่มต้น และสิ่งที่ผู้ใช้คิด
คล้ายๆกันแล้วทำาให้เลือกใช้ก็คือ Application เหล่านี้ทำาให้ข้อมูลตามคุณ
ไปไม่ได้ยึดติดอยู่กับอุปกรณ์ และระบบมีความเสถียร เพียงแต่ว่า Free
Cloud เหล่านี้อาจมีข้อจำากัดในการใช้งานเช่น Dropbox อาจให้พื้นที่
คุณเพียง 2-5 Gb แต่ถ้าคุณต้องการพื้นที่มากกว่านั้นคุณก็ต้องจ่ายตามการ
ใช้งาน
7
ผมก็เป็นผู้ใช้ Cloud Computing ทั้งสามแบบครับ คือทั้ง IaaS,
PaaS และ SaaS มีทั้งส่วนที่เป็น Free Cloud และ Commercial
Cloud และมีการนำามาใช้ใน IMC Institute นับตั้งแต่่่วันแรกที่เราเริ่ม
ทำางาน โดยเรามีการนำา Cloud Computing มาใช้งานหลายๆส่วนดังนี้
การทำาเว็บไซต์
เมื่อต้องทำาเว็บไซต์ขององค์กร (www.imcinstitute.com) เราก็มี
คำาถามว่าเราจะทำาเองหรือ Outsource แต่เนื่องจากเราต้องการที่จะอัพเดท
เว็บไซต์บ่อยๆเราจึงเลือกที่จะทำาเองโดยใช้ Joomla แต่ปัญหาก็คือว่าเราจะ
หาเครื่อง Server จากไหน จะติดตั้งเองหรือไม่ สุดท้ายเรามาคิดกันว่าน่าที่
จะใช้บริการ Web Hosting ที่เป็น Cloud ที่ให้บริการแบบ PaaS เราก็เลย
เลือกใช้ Hostmonster ที่มีเว็บไซต์โอสต์อยู่เป็นล้านไซต์ และก็ใช้
Cloud Infrastructure ที่มีความเสถียร และสามารถจะเลือก install โมดูล
ต่างๆได้รวดเร็ว แต่บางครั้งเราอาจจะยังแยกยากระหว่าง Web Hosting
กับ Cloud Infrastructure ทำาให้หลายๆคนเข้าใจไปว่า Web Hosting
ทุกแห่งคือ Cloud Service
8
ระบบอีเมล์
ในแง่ของอีเมล์ค่อนข้างจะตัดสินใจง่าย เพราะยังไงเสียระบบอีเมล์ใน
ปัจจุบันก็ต้องใช้ Cloud SaaS ซึ่งทางเราเลือกใช้บริการ Google Apps
for Business ที่มีทั้งระบบเมล์ Calendar การทำาเอกสารร่วมกันผ่าน
Google Docs ทำาให้สะดวกต่อการทำางานแบบร่วมกัน และสามารถเข้าถึง
ระบบได้ตลอดเวลา จากทุกที่ และทุกอุปกรณ์ โดยมีค่าใช้จ่ายตามจำานวนผู้
ใช้งาน และองค์กรก็ไม่ต้องเสียเวลามาบริหารระบบไอทีเอง
9
ระบบบริหารงานลูกค้า
เราจำาเป็นที่จะต้องพัฒนา Application ระบบ CRM ของลูกค้า โดย
เฉพาะระบบบริหารงานการฝึกอบรม ในตอนแรกก็ลังเลว่าจะใช้
Salesforce ที่เป็น SaaS Cloud ซึ่งมีค่าใช้จ่ายประมาณ $25/ผู้ใช้/
เดือน หรือไม่ แต่เมื่อมาดูระบบ CRM ของ Salesforce แล้วคิดว่าเหมาะกับ
งานขายทั่วไปมากกว่า เราจึงเลือกใช้ Force.com ซึ่งเป็น PaaS Cloud ที่
เป็น Salesforce Engine มาพัฒนาโปรแกรมเอง โดยมีค่าใช้จ่ายต่อเดือน
ใก้ลเคียง แต่เราสามารถที่จะปรับปรุง Application ขององค์กรได้ ซึ่งเรา
ใช้เวลาเพียงหนึ่งสัปดาห์ในการพัฒนาระบบ CRM ใหม่ขึ้นมาเนื่องจาก
Force.com มีโมดูลต่างๆที่ดีอยู่แล้ว ทำาให้เราได้ Application ที่สามารถ
บริหารการฝึกอบรมได้อย่างรวดเร็ว โดยเรามีฐานข้อมูลของลูกค้าหลายหมื่น
ราย
10
การแชร์ไฟล์ภายใน
องค์กรจำาเป็นต้องมีแชร์ storage ที่สามารถจะ sync ได้ทุกอุปกรณ์
ในที่นี้องค์กรเลือกที่จะใช้ Dropbox ที่เป็น SaaS Cloud ในการแชร์
เอกสารต่างๆ และพยายามลดการส่ง ไฟล์ขนาดใหญ่ทางอีเมล์ Dropbox ที่
เป็น Free Edition จะมีข้อจำากัดอยู่ที่การให้พื้นที่เพียง 2 Gb หน่วยงานที่
ต้องการพื้นที่มากๆอาจต้องพิจารณาเลือกใช้ Dropbox Pro หรือ
Dropbox for Business ซึ่งมีค่าใช้จ่ายพอสมควร
11
การแชร์เอกสารภายนอก
IMC Institute มีเอกสารที่เป็น slide และเอกสารทั่วไปที่จะแชร์ให้
กับบุคคลภายนอก ในกรณีนี้ทางเราเลือกที่จะใช้ Slideshare โดยใน
ปัจจุบันเราจะ Upload เอกสารต่างๆขึ้น Slideshare ที่จัดว่าเป็น SaaS
แบบหนึ่ง โดยทางเราเลือกใช้เวอร์ชั่น Pro เพื่อที่จะทราบข้อมูลของผู้ที่
download slide เราไปด้วย นอกจากนี้ก็การแชร์เอกสารผ่าน Google
Docs โดยเฉพาะเอกสารการฝึกอบรมต่างๆ
12
การพัฒนา Applications
ทาง IMC Institute มีการพัฒนา Application เพื่อวิเคราะห์ Big
Data ที่อยู่บน Social Media เช่น Facebook Analytic ในกรณีนี้ทาง
เราไม่ได้จัดหา Server เองเพราะต้องใช้ Server ขนาดใหญ่เราจึงเลือก
ใช้ IaaS และ PaaS Cloud
ในส่วนของ IaaS การพัฒนา Big Data เราเลือกใช้ Cloud ของ
Amazon ทั้ง Amazon EC2, S3 และ Elastic Map Reduce ส่วนใน
กรณี PasS ที่ใช้พัฒนา Java Application เราเลือกใช้บริการของ
Heroku
ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ก็เพียงให้ทุกท่านเห็นภาพว่าเราสามารถใช้ Cloud
Computing ได้จริง โดยไม่ต้องลงทุนในการจัดหาระบบมากนัก และเสียค่า
ใช้จ่ายตามการใช้งานจริงเป็นรายเดือน
13
การประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับการศึกษา
โดย Cloud Computing จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนในด้าน
การศึกษา จัดระบบการศึกษาอีกด้วย ช่วยลดภาระของเจ้าหน้าที่การศึกษา
หรือครูผู้สอนและสามารถขยายการจัดการระบบการศึกษาได้ นอกจากนี้ยัง
เป็นทางออกสำาหรับปัญหาของห้องเรียนไม่เพียงพอ ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียน
ผ่านห้องเสมือน หรือเรียนทางไกลผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งเป็นการ
ยืดหยุ่นในการเรียนรู้ รวมทั้งครูเมื่อสอนแล้วก็สามารถเก็บบทเรียนไว้ที่
Cloud Computing ได้ซึ่งอาจจะเก็บไว้เป็นข้อมูลส่วนตัวหรือเปิดเผยต่อ
สาธารณะ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ในการสอนระหว่างกันได้ Cloud
Computing มาช่วยปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้ดีขึ้นได้
โดยการดูแลรักษาและจัดการข้อมูลให้มีความทันสมัยและง่ายต่อการเข้าถึง
เพื่อให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียนน้อยที่สุด รวมถึงการบริการสามารถจัดการ
ดูแลปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบโรงเรียนได้ทั้งหมด และอำานวยความสะดวกต่อ
ครูและนักเรียน ซึ่ง Cloud Computing เป็นเครื่องมือที่จะช่วยอำานวย
ความสะดวกให้แก่นักเรียนในการทำางานที่ได้รับมอบหมายโดยนักเรียน
สามารถทำางานร่วมกันได้ผ่านการใช้ Google doc สามารถพิมพ์งาน และ
อัพโหลดไฟล์เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ และหากทำางานผ่าน Cloud
Computing ก็ไม่ต้องกังวลว่าจะลืมนำางานมาส่งหรือถ้ามีอะไรไม่ถูกต้อง
หรือต้องการแก้ไข หากมีอินเทอร์เน็ตก็สามารถแก้ไขได้ทันที
ข้อดี
1.ลด ต้นทุนค่าดูแลบำารุงรักษาเนื่องจากค่าบริการได้รวมค่าใช้จ่ายตามที่ใช้
งาน จริง เช่น ค่าจ้างพนักงาน ค่าซ่อมแซม ค่าลิขสิทธิ์ ค่าไฟฟ้า ค่านำ้า
ค่านำ้ามันเชื้อเพลิง ค่าอัพเกรด และค่าเช่าคู่สาย เป็นต้น
2.ลดความเสี่ยงจากการเริ่มต้นหรือทดลองโครงการ
3.มีความยืดหยุ่นในการเพิ่มหรือลดระบบตามความต้องการ
4.ได้เครื่องแม่ข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีระบบสำารองข้อมูลที่ดี มีเครือข่าย
ความเร็วสูง
5.มีผู้เชี่ยวชาญดูแลระบบและพร้อมให้บริการช่วยเหลือ 24 ชั่วโมง
ข้อเสีย
14
1.เนื่อง จากเป็นการใช้ทรัพยากรที่มาจากหลายที่หลายแห่งทำาให้อาจมี
ปัญหาในเรื่องของ ความต่อเนื่องและความเร็วในการเข้าทรัพยากรมากกว่า
การใช้บริการ Host ที่ Local หรืออยู่ภายในองค์การของเราเอง
2.ยังไม่มีการรับประกันในการทำางานอย่างต่อเนื่องของระบบและความ
ปลอดภัยของข้อมูล
3.ความไม่มีมาตรฐานของแพลทฟอร์ม ทำาให้ลูกค้ามีข้อจำากัดสำาหรับตัว
เลือกในการพัฒนาหรือติดตั้งระบบ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboardการใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ KeyboardDuangnapa Inyayot
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องShe's Mammai
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดrungtip boontiengtam
 
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษาตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษาKawinTheSinestron
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Nuth Otanasap
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSarid Nonthing
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีKhunakon Thanatee
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6krunuy5
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารsariya25
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์NATTAWANKONGBURAN
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 

Was ist angesagt? (20)

รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboardการใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษาตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 

Andere mochten auch

บทความเรื่อง การใช้ Cloud Computing ในประเทศไทย
บทความเรื่อง การใช้ Cloud Computing ในประเทศไทยบทความเรื่อง การใช้ Cloud Computing ในประเทศไทย
บทความเรื่อง การใช้ Cloud Computing ในประเทศไทยIMC Institute
 
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computingเทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud ComputingPrachyanun Nilsook
 
การประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับงานสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับงานสารสนเทศการประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับงานสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับงานสารสนเทศTeerapuch Kassakul
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆCloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆSoftware Park Thailand
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 

Andere mochten auch (7)

บทความเรื่อง การใช้ Cloud Computing ในประเทศไทย
บทความเรื่อง การใช้ Cloud Computing ในประเทศไทยบทความเรื่อง การใช้ Cloud Computing ในประเทศไทย
บทความเรื่อง การใช้ Cloud Computing ในประเทศไทย
 
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computingเทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
 
การประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับงานสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับงานสารสนเทศการประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับงานสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับงานสารสนเทศ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
Cloud computing-trouble
Cloud computing-troubleCloud computing-trouble
Cloud computing-trouble
 
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆCloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Ähnlich wie ประว ต ของ Cloud computing

30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computingAyutthaya GIS
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AECCloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AECIMC Institute
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพรCloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพรKunming Oraya
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9ninjung
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์galswen
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์junniemellow
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์katuckkt
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Min Jidapa
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Tata Sisira
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9Jaohjaaee
 

Ähnlich wie ประว ต ของ Cloud computing (20)

Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AECCloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพรCloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 

ประว ต ของ Cloud computing

  • 1. 1 ประวัติของ Cloud Computing คำำว่ำ Cloud นั้นเรำยืมมำจำกกำรสื่อสำรแบบโทรศัพท์ในยุคปี 90 ดำต้ำเซอร์กิจได้เกิดขึ้น (บนเครือข่ำยข้อมูลอินเทอร์เน็ต) เป็นกำรยำกที่จะ เดินสำยเชื่อมต่อระหว่ำงปลำยทำงแต่ละจุด ดังนั้นผู้ให้บริกำรเริ่มมีบริกำร เครือข่ำยส่วนตัวเสมือน หรือที่เรียกว่ำ VPN โดยผู้ให้บริกำร VPN สำมำรถ รับประกันแบนด์วิธเทียบเท่ำกับที่กำรใช้วงจรแบบฟิกส์ในรำคำที่ตำ่ำกว่ำ เพรำะสำมำรถสวิตช์ทรำฟฟิกส์และใช้ประโยชน์จำกเครือข่ำยโดยรวมได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ จำกกำรที่อำศัยสวิตช์นี้เองจึงเป็นกำรยำกที่จะบอกล่วง หน้ำได้ว่ำข้อมูลเดินทำงผ่ำนเส้นทำงใด คำำว่ำ "Telecom cloud" จึงถูกใช้ เพื่ออธิบำยเครือข่ำยประเภทนี้ และ Cloud Computing ก็มีคอนเซพต์ค่อน ข้ำงคล้ำยกัน Cloud Computing อำศัยพื้นฐำนเครื่องเสมือน (virtual machine) ซึ่งเกิดขึ้นหรือลดจำำนวนเพื่อให้ตรงกับควำมต้องกำรของผู้ใช้ เพรำะว่ำ Virtual instances สำมำรถที่จะเกิดตำมควำมต้องกำร จึง เป็นกำรยำกกำรที่จะตรวจสอบได้ว่ำมี virtual machine เท่ำไรที่ทำำงำนให้ ขณะนั้น รวมถึง virtual machine ดังกล่ำวทำำงำนอยู่ที่ไหน เหมือน Cloud network แนวคิดของ Cloud Computing ย้อนกลับไปยังเมื่อ 1960 เมื่อ John McCarthy ได้เสนอควำมคิดเห็นว่ำวันหนึ่งกำรคำำนวณจะถูกจัดกำร ให้สำมำรถใช้มันได้อย่ำงสำธำรณะ โดยลักษณะกำรแชร์บริกำรกัน แต่ส่วน คำำว่ำ Cloud เข้ำมำใช้ในเชิงพำณิชย์ ในช่วงต้นปี 1990 นั้น คือ Asynchronous Transfer Mode หรือ ที่เรียกเครือข่ำยแบบ ATM ต่อมำ General Magic เริ่มออกผลิตภัณฑ์ Cloud Computing ได้เพียงช่วงหนึ่งในปี 1995 โดยร่วมกับพันธมิตร หลำยรำย เช่น ATT&T ก่อนที่ผู้บริโภคหันไปยังอินเตอร์เน็ต ในศตวรรษที่ 21 คำำ " Cloud Computing " เริ่มปรำกฏอย่ำงแพร่หลำยแต่ส่วนมำกจะ มุ่งไปในลักษณะ SaaS ในปี 1999 Salesforce.com ได้ก่อตั้งขึ้นโดย Marc Benioff และ Parker Harris พวกเขำใช้เทคโนโลยีหลำยอย่ำงที่พัฒนำโดยบริษัทเช่น Google และ Yahoo! เพื่อประยุกต์ในเชิงธุรกิจ นอกจำกนี้ยังให้แนวคิด ของ "On demand" และ SaaS กับธุรกิจของเค้ำและลูกค้ำที่ประสบควำม สำำเร็จ กุญแจสำำหรับ SaaS อยู่ที่ลูกค้ำสำมำรถปรับแต่งได้โดยให้กำร
  • 2. 2 สนับสนุนทำงเทคนิคเท่ำที่จำำเป็น ซึ่งผู้ใช้พอใจกับควำมยืดหยุ่นและควำมเร็ว ที่ได้ ในช่วงต้นปี 2000 Microsoft ขยำยแนวคิดของ SaaS ผ่ำนกำร พัฒนำ Web service ต่อมำไอบีเอ็มเพิ่มแนวคิดเหล่ำนี้ในปี 2001 กับ Autonomic Computing Manifesto ซึ่งอธิบำยถึงเทคนิคอัตโนมัติขั้นสูง เช่น self-monitoring , self-healing, self-configuring, and self- optimizing เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรจัดกำรระบบไอทีที่ซับซ้อนโดยมี สตอเรจ เซิร์ฟเวอร์ แอปพลิเคชัน และเน็ตเวิร์ค ระบบควำมปลอดภัย และ องค์ประกอบอื่นๆที่แตกต่ำงกันนั้นสำมำรถ virtualize ข้ำม enterprise กันได้ Amazon เริ่มมีบทบำทสำำคัญในกำรพัฒนำ cloud computing โดย พัฒนำ data center ของพวกเขำ และพบว่ำ Cloud architecture ใหม่ ปรับปรุงประสิทธิภำพ พวกเขำผ่ำนได้เปิดให้เข้ำถึงระบบของเข้ำได้ผ่ำนทำง Amazon Web Services ในปี 2005 ในปี 2007 ของ Google และ IBM และมหำวิทยำลัยจำำนวนหนึ่งได้ เริ่มวิจัย cloud computing กันอย่ำงกว้ำงขวำงโครงกำรวิจัย ในเดือน สิงหำคม 2008 Gartner Research พบว่ำ องค์กรต่ำงๆเริ่มวำงแผนจำก เดิมที่บริษัทนั้นเป็นเจ้ำของฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เพื่อให้บริกำร ได้มีแผนที่ จะย้ำยไปยัง cloud computing ซึ่งกำำลังเติบโต ควำมหมำยของ Cloud Computing Cloud Computing คือวิธีกำรประมวลผลที่อิงกับควำมต้องกำรของผู้ ใช้ โดยผู้ใช้ระบุควำมต้องกำรไปยังซอฟต์แวร์ของระบบ Cloud Computing จำกนั้นซอฟต์แวร์จะร้องขอให้ระบบจัดสรรทรัพยำกรและ บริกำรให้ตรงกับควำมต้องกำรผู้ใช้ ทั้งนี้ระบบสำมำรถเพิ่มและลดจำำนวน ของทรัพยำกร รวมถึงเสนอบริกำรให้พอเหมำะกับควำมต้องกำรของผู้ใช้ได้ ตลอดเวลำ โดยที่ผู้ใช้ไม่จำำเป็นต้องทรำบเลยว่ำกำรทำำงำนหรือเหตุกำรณ์ เบื้องหลังเป็นเช่นไร Cloud Computing คือ บริกำรทำงอินเตอร์เน็ตที่เป็นแบบกำร รวบรวมทรัพยำกรต่ำงๆที่จำำเป็นมำเชื่อมโยงไว้ด้วยกัน โดยมีกำรทำำงำนสอด
  • 3. 3 ประสำนกันแบบรวมศูนย์ โดยผู้จัดสรรทรัพยำกรนั้นเรียกว่ำ third-party Provider หรือผู้ให้บริกำรบุคคลที่ 3 มีหน้ำที่รวบรวมพื้นฐำนต่ำงๆที่จำำเป็น เข้ำไว้ด้วยกันกำรใช้ทรัพยำกำรคอมพิวเตอร์บนเครือข่ำยอินเตอร์เน็ต และ ระบบสำรสนเทศแบบเสมือนจริง Cloud Computing จะทำำงำนโดยเมื่อผู้ ขอใช้บริกำรต้องกำรใช้สิ่งใดก็ส่งร้องขอไปยังซอฟแวร์ระบบ แล้วซอฟแวร์ ระบบก็จะร้องขอไประบบเพื่อจัดสรรทรัพยำกรและบริกำรให้ตรงกับควำม ต้องกำรของผู้ขอใช้บริกำรต่อไป โดยผู้ขอใช้บริกำรมีหน้ำที่เสียค่ำใช้ บริกำรเพื่อควำมสำมำรถในกำรทำำงำนตำมต้องกำรโดยไม่ต้องทรำบหรือ เข้ำใจหลักกำรทำำงำนเบื้องหลัง
  • 4. 4 ลักษณะของ Cloud Computing ควำมต้องกำร (Requirement) ปัญหำที่ผู้ใช้ต้องกำรให้ระบบ คอมพิวเตอร์แก้ไขปัญหำหรือตอบปัญหำตำม ที่ผู้ใช้กำำหนดได้ ยกตัวอย่ำง เช่น ควำมต้องกำรพื้นที่จัดเก็บข้อมูลขนำด 1,000,000 GB, ควำมต้องกำร ประมวลผลโปรแกรมแบบขนำนเพื่อค้นหำยำรักษำโรคไข้หวัดนกให้ได้สูตร ยำภำยใน 90 วัน, ควำมต้องกำรโปรแกรมและพลังกำรประมวลผลสำำหรับ สร้ำงภำพยนต์แอนนิเมชันควำมยำว 2 ชั่วโมงให้แล้วเสร็จภำยใน 4 เดือน, และควำมต้องกำรค้นหำข้อมูลท่องเที่ยวและโปรแกรมทัวร์ในประเทศอิตำลี ในรำคำที่ถูกที่สุดในโลกแต่ปลอดภัยในกำรเดินทำงด้วย เป็นต้น ทรัพยำกร (Resource) หมำยถึง ปัจจัยหรือสรรพสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ กำรประมวลผลหรือเกี่ยวข้องกับกำรแก้ไขปัญหำตำมโจทย์ที่ควำมต้องกำร ของผู้ใช้ได้ระบุไว้ อำทิเช่น CPU, Memory (เช่น RAM), Storage (เช่น harddisk), Database, Information, Data, Network, Application Software, Remote Sensor เป็นต้น บริกำร (Service) ถือว่ำเป็นทรัพยำกร และในทำงกลับกันก็สำมำรถ บอกได้ว่ำทรัพยำกรก็คือบริกำร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในด้ำน Cloud Computing แล้ว เรำจะใช้คำำว่ำบริกำรแทนคำำว่ำทรัพยำกร คำำว่ำบริกำร หมำยถึงกำรกระทำำ (operation) เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สนองต่อควำม ต้องกำร (requirement) แต่กำรกระทำำของบริกำรจะเกิดขึ้นได้จำำเป็นต้อง พึ่งพำทรัพยำกร โดยกำรใช้ทรัพยำกรที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหำให้เกิด ผลลัพธ์สนองต่อควำมต้องกำร
  • 5. 5 ประเภทของ Cloud Computing 1. Public Clouds : เป็นระบบบริการทั่วไปเพื่อบริการลูกค้าจำานวน มาก ราคาไม่แพง ผู้ใช้ทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ 2. Private Clouds : เป็นระบบที่มีความเฉพาะ เพื่อทำางานให้ลูกค้า โดยเชื่อมต่อการทำางานโดยตรงผ่าน Cloud Provider มีระบบการจัดการ ฐานข้อมูลและมีความปลอดภัยที่ดี 3. Community Clouds : โครงสร้างพื้นฐานของ cloud ที่ใช้จาก หลายๆหน่วยงาน หลายองค์กรเพื่อการสร้าง Cloud แต่ใช้วิธีแบ่งปันและ บริหารร่วมกัน 4. Hybrid Clouds : เป็นระบบเชื่อมระหว่างสองระบบคือ Public Clouds และ Private Clouds สามารถส่งข้อมูลและคำาสั่งข้าม Application ของทั้งสองระบบ รูปแบบการทำางานของ Cloud Computing 1. Software as a Services Software as a Services (ตัวย่อที่เขาใช้กัน : SaaS) อันนี้ก็คือ โปรแกรมบน WEB Browser ที่เราใช้ๆ กันอย่างพวก Hotmail, Gmail นี่ แหละ คือเราสามารถใช้งานโปรแกรมของผู้ให้บริการผ่าน internet โดยที่ เราไม่ต้องไปสนใจเลย ว่าเขาจะพัฒนาด้วยภาษาอะไร เครื่องให้บริการเขา ยี่ห้ออะไร รุ่นไหน อยู่ที่ไหน และเราไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมใด ๆ บนเครื่อง เราเลย ผู้ใช้เพียงแต่เปิด WEB Browser ขึ้นแล้ว Connect เข้า อินเตอร์เน็ตให้ได้ จากนั้นก็เรียกใช้โปรแกรมของเขา ซึ่งในรูปแบบนี้ต่อไป คงมีทั้งแบบที่เสียเงินตามปริมาณข้อมูล หรือเวลา ที่แต่ละคนให้บริการเขาจะ คิดตังค์ หรือแบบฟรี services แต่เขาไปขาย Ad หรือโฆษณาต่างๆ ก็ว่ากัน ไป 2. Platform as a Services Platform as a Services (ตัวย่อที่เขาใช้กัน : PaaS) อันนี้จะ มาในแนว R&D นิดหน่อยคือ คนให้บริการเขาจะจัดเตรียมพวกอุปกรณ์ ต่างๆ รวมถึงภาษาคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมือโปรแกรมสำาหรับพัฒนาเตรียม
  • 6. 6 ไว้ให้หมดแล้ว แต่ผู้ใช้ หรือนักพัฒนาจะสามารถที่จะทำาการพัฒนา ปรับปรุง ระบบงานหรือโปรแกรมต่างๆ ของตัวเองหรือพัฒนาโปรแกรมตามโครงสร้าง ที่ผู้ให้บริการจัดเตรียมไว้ให้ได้ เพื่อใช้ในการทดสอบระบบงานหรือ โปรแกรมของตัวเองผ่านระบบ Cloud แบบนี้ 3. Infrastructure as a Service Infrastructure as a Service (ตัวย่อที่เขาใช้กัน : IaaS) สำาหรับแบบนี้คือ ผู้ใช้ต้องจัดหา ระบบโปรแกรม และ OS (Operating System) ต่างๆ เอง แต่ผู้ใช้ไม่มีสิทธิเข้าไปทำาการควบคุม หรือเปลี่ยนแปลง โครงสร้างพื้นฐานไอที พวก Hardware หรือ โครงสร้าง (Infrastructure) ที่ผู้ให้บริการได้ออกแบบไว้ และในบางกรณีผู้ใช้จะสามารถเข้าไปทำาการ ปรับแต่งระบบ Firewall ได้ ถ้าผู้ให้บริการเขาอนุญาต ตัวอย่างการใช้ Cloud Computing วันนี้ผมได้รับเชิญจากงาน Thailand Online Expo เพื่อไปบรรยาย เรื่อง Cloud Computing ในหัวข้อเรื่อง “Cloud เทคโนโลยีที่ช่วยลด ต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพองค์กรให้แข่งขันได้จริงหรือ?” ซึ่งก็เป็นอีกครั้งหนึ่ง ที่ผมมาบรรยายให้กับกลุ่มผู้ใช้ไอทีในเรื่อง Cloud Computing ซึ่งผมมี โอกาสบรรยายให้หลายๆครั้งกับกลุ่มของ SME ที่อาจโดย สสว. SIPA และ Software Park สำาหรับ Slide บรรยายของผมสามารถดูได้จาก Slideshare ที่ => การประยุกต์ใช้ Cloud Computing สำาหรับองค์กร หลายๆคนชอบมาถามผมว่า Cloud Computing มันใช้ได้จริงหรอ มันคุ้มหรอ มันไม่เสี่ยงหรอ สารพัดคำาถามที่เจอด้วยความไม่แน่ใจ ผมก็มักจะ ตอบกลับไปว่าคุณก็ใช้อยู่ทุกวัน ถ้าคุณใช้ Facebook, Gmail, Dropbox หรือ Google Calendar พวกนั้นก็คือแอปพลิเคชั่นบน Cloud ที่ทำาให้ คุณสามารถเข้าถึงข้อมูล ทุกที่ ทุกเวลา และทุกอุปกรณ์ เพียงแต่ Public Cloud ที่คุณใช้อยู่เป็น Free Cloud ที่คุณใช้แบบเริ่มต้น และสิ่งที่ผู้ใช้คิด คล้ายๆกันแล้วทำาให้เลือกใช้ก็คือ Application เหล่านี้ทำาให้ข้อมูลตามคุณ ไปไม่ได้ยึดติดอยู่กับอุปกรณ์ และระบบมีความเสถียร เพียงแต่ว่า Free Cloud เหล่านี้อาจมีข้อจำากัดในการใช้งานเช่น Dropbox อาจให้พื้นที่ คุณเพียง 2-5 Gb แต่ถ้าคุณต้องการพื้นที่มากกว่านั้นคุณก็ต้องจ่ายตามการ ใช้งาน
  • 7. 7 ผมก็เป็นผู้ใช้ Cloud Computing ทั้งสามแบบครับ คือทั้ง IaaS, PaaS และ SaaS มีทั้งส่วนที่เป็น Free Cloud และ Commercial Cloud และมีการนำามาใช้ใน IMC Institute นับตั้งแต่่่วันแรกที่เราเริ่ม ทำางาน โดยเรามีการนำา Cloud Computing มาใช้งานหลายๆส่วนดังนี้ การทำาเว็บไซต์ เมื่อต้องทำาเว็บไซต์ขององค์กร (www.imcinstitute.com) เราก็มี คำาถามว่าเราจะทำาเองหรือ Outsource แต่เนื่องจากเราต้องการที่จะอัพเดท เว็บไซต์บ่อยๆเราจึงเลือกที่จะทำาเองโดยใช้ Joomla แต่ปัญหาก็คือว่าเราจะ หาเครื่อง Server จากไหน จะติดตั้งเองหรือไม่ สุดท้ายเรามาคิดกันว่าน่าที่ จะใช้บริการ Web Hosting ที่เป็น Cloud ที่ให้บริการแบบ PaaS เราก็เลย เลือกใช้ Hostmonster ที่มีเว็บไซต์โอสต์อยู่เป็นล้านไซต์ และก็ใช้ Cloud Infrastructure ที่มีความเสถียร และสามารถจะเลือก install โมดูล ต่างๆได้รวดเร็ว แต่บางครั้งเราอาจจะยังแยกยากระหว่าง Web Hosting กับ Cloud Infrastructure ทำาให้หลายๆคนเข้าใจไปว่า Web Hosting ทุกแห่งคือ Cloud Service
  • 8. 8 ระบบอีเมล์ ในแง่ของอีเมล์ค่อนข้างจะตัดสินใจง่าย เพราะยังไงเสียระบบอีเมล์ใน ปัจจุบันก็ต้องใช้ Cloud SaaS ซึ่งทางเราเลือกใช้บริการ Google Apps for Business ที่มีทั้งระบบเมล์ Calendar การทำาเอกสารร่วมกันผ่าน Google Docs ทำาให้สะดวกต่อการทำางานแบบร่วมกัน และสามารถเข้าถึง ระบบได้ตลอดเวลา จากทุกที่ และทุกอุปกรณ์ โดยมีค่าใช้จ่ายตามจำานวนผู้ ใช้งาน และองค์กรก็ไม่ต้องเสียเวลามาบริหารระบบไอทีเอง
  • 9. 9 ระบบบริหารงานลูกค้า เราจำาเป็นที่จะต้องพัฒนา Application ระบบ CRM ของลูกค้า โดย เฉพาะระบบบริหารงานการฝึกอบรม ในตอนแรกก็ลังเลว่าจะใช้ Salesforce ที่เป็น SaaS Cloud ซึ่งมีค่าใช้จ่ายประมาณ $25/ผู้ใช้/ เดือน หรือไม่ แต่เมื่อมาดูระบบ CRM ของ Salesforce แล้วคิดว่าเหมาะกับ งานขายทั่วไปมากกว่า เราจึงเลือกใช้ Force.com ซึ่งเป็น PaaS Cloud ที่ เป็น Salesforce Engine มาพัฒนาโปรแกรมเอง โดยมีค่าใช้จ่ายต่อเดือน ใก้ลเคียง แต่เราสามารถที่จะปรับปรุง Application ขององค์กรได้ ซึ่งเรา ใช้เวลาเพียงหนึ่งสัปดาห์ในการพัฒนาระบบ CRM ใหม่ขึ้นมาเนื่องจาก Force.com มีโมดูลต่างๆที่ดีอยู่แล้ว ทำาให้เราได้ Application ที่สามารถ บริหารการฝึกอบรมได้อย่างรวดเร็ว โดยเรามีฐานข้อมูลของลูกค้าหลายหมื่น ราย
  • 10. 10 การแชร์ไฟล์ภายใน องค์กรจำาเป็นต้องมีแชร์ storage ที่สามารถจะ sync ได้ทุกอุปกรณ์ ในที่นี้องค์กรเลือกที่จะใช้ Dropbox ที่เป็น SaaS Cloud ในการแชร์ เอกสารต่างๆ และพยายามลดการส่ง ไฟล์ขนาดใหญ่ทางอีเมล์ Dropbox ที่ เป็น Free Edition จะมีข้อจำากัดอยู่ที่การให้พื้นที่เพียง 2 Gb หน่วยงานที่ ต้องการพื้นที่มากๆอาจต้องพิจารณาเลือกใช้ Dropbox Pro หรือ Dropbox for Business ซึ่งมีค่าใช้จ่ายพอสมควร
  • 11. 11 การแชร์เอกสารภายนอก IMC Institute มีเอกสารที่เป็น slide และเอกสารทั่วไปที่จะแชร์ให้ กับบุคคลภายนอก ในกรณีนี้ทางเราเลือกที่จะใช้ Slideshare โดยใน ปัจจุบันเราจะ Upload เอกสารต่างๆขึ้น Slideshare ที่จัดว่าเป็น SaaS แบบหนึ่ง โดยทางเราเลือกใช้เวอร์ชั่น Pro เพื่อที่จะทราบข้อมูลของผู้ที่ download slide เราไปด้วย นอกจากนี้ก็การแชร์เอกสารผ่าน Google Docs โดยเฉพาะเอกสารการฝึกอบรมต่างๆ
  • 12. 12 การพัฒนา Applications ทาง IMC Institute มีการพัฒนา Application เพื่อวิเคราะห์ Big Data ที่อยู่บน Social Media เช่น Facebook Analytic ในกรณีนี้ทาง เราไม่ได้จัดหา Server เองเพราะต้องใช้ Server ขนาดใหญ่เราจึงเลือก ใช้ IaaS และ PaaS Cloud ในส่วนของ IaaS การพัฒนา Big Data เราเลือกใช้ Cloud ของ Amazon ทั้ง Amazon EC2, S3 และ Elastic Map Reduce ส่วนใน กรณี PasS ที่ใช้พัฒนา Java Application เราเลือกใช้บริการของ Heroku ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ก็เพียงให้ทุกท่านเห็นภาพว่าเราสามารถใช้ Cloud Computing ได้จริง โดยไม่ต้องลงทุนในการจัดหาระบบมากนัก และเสียค่า ใช้จ่ายตามการใช้งานจริงเป็นรายเดือน
  • 13. 13 การประยุกต์ใช้ Cloud Computing กับการศึกษา โดย Cloud Computing จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนในด้าน การศึกษา จัดระบบการศึกษาอีกด้วย ช่วยลดภาระของเจ้าหน้าที่การศึกษา หรือครูผู้สอนและสามารถขยายการจัดการระบบการศึกษาได้ นอกจากนี้ยัง เป็นทางออกสำาหรับปัญหาของห้องเรียนไม่เพียงพอ ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียน ผ่านห้องเสมือน หรือเรียนทางไกลผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งเป็นการ ยืดหยุ่นในการเรียนรู้ รวมทั้งครูเมื่อสอนแล้วก็สามารถเก็บบทเรียนไว้ที่ Cloud Computing ได้ซึ่งอาจจะเก็บไว้เป็นข้อมูลส่วนตัวหรือเปิดเผยต่อ สาธารณะ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ในการสอนระหว่างกันได้ Cloud Computing มาช่วยปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้ดีขึ้นได้ โดยการดูแลรักษาและจัดการข้อมูลให้มีความทันสมัยและง่ายต่อการเข้าถึง เพื่อให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียนน้อยที่สุด รวมถึงการบริการสามารถจัดการ ดูแลปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบโรงเรียนได้ทั้งหมด และอำานวยความสะดวกต่อ ครูและนักเรียน ซึ่ง Cloud Computing เป็นเครื่องมือที่จะช่วยอำานวย ความสะดวกให้แก่นักเรียนในการทำางานที่ได้รับมอบหมายโดยนักเรียน สามารถทำางานร่วมกันได้ผ่านการใช้ Google doc สามารถพิมพ์งาน และ อัพโหลดไฟล์เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ และหากทำางานผ่าน Cloud Computing ก็ไม่ต้องกังวลว่าจะลืมนำางานมาส่งหรือถ้ามีอะไรไม่ถูกต้อง หรือต้องการแก้ไข หากมีอินเทอร์เน็ตก็สามารถแก้ไขได้ทันที ข้อดี 1.ลด ต้นทุนค่าดูแลบำารุงรักษาเนื่องจากค่าบริการได้รวมค่าใช้จ่ายตามที่ใช้ งาน จริง เช่น ค่าจ้างพนักงาน ค่าซ่อมแซม ค่าลิขสิทธิ์ ค่าไฟฟ้า ค่านำ้า ค่านำ้ามันเชื้อเพลิง ค่าอัพเกรด และค่าเช่าคู่สาย เป็นต้น 2.ลดความเสี่ยงจากการเริ่มต้นหรือทดลองโครงการ 3.มีความยืดหยุ่นในการเพิ่มหรือลดระบบตามความต้องการ 4.ได้เครื่องแม่ข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีระบบสำารองข้อมูลที่ดี มีเครือข่าย ความเร็วสูง 5.มีผู้เชี่ยวชาญดูแลระบบและพร้อมให้บริการช่วยเหลือ 24 ชั่วโมง ข้อเสีย
  • 14. 14 1.เนื่อง จากเป็นการใช้ทรัพยากรที่มาจากหลายที่หลายแห่งทำาให้อาจมี ปัญหาในเรื่องของ ความต่อเนื่องและความเร็วในการเข้าทรัพยากรมากกว่า การใช้บริการ Host ที่ Local หรืออยู่ภายในองค์การของเราเอง 2.ยังไม่มีการรับประกันในการทำางานอย่างต่อเนื่องของระบบและความ ปลอดภัยของข้อมูล 3.ความไม่มีมาตรฐานของแพลทฟอร์ม ทำาให้ลูกค้ามีข้อจำากัดสำาหรับตัว เลือกในการพัฒนาหรือติดตั้งระบบ