SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม    1


                                                เวิลด์ไวด์เว็บ

         เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) หรือเรียกสั้นๆ ว่าเว็บ เป็นการให้บริการข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์
(hypertext) ที่ประกอบไปด้วยเอกสารจานวนมากที่มีการเชื่อมโยงกัน ซึ่งเป็นแหล่งของข้อมูลขนาดใหญ่ที่ผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึงผ่านโพรโทคอลที่เรียกว่า เอชทีทีพี (Hypertext Transfer Protocol: HTTP)
         นอกจากนี้เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม ได้นิยามคาว่า เว็บ คือ จักรวาลของสารสนเทศที่สามารถเข้าถึงได้
ผ่านเครือข่ายและทาให้เกิดองค์ความรู้แก่มนุษยชาติ สาหรับคาที่เกี่ยวข้องกับเวิลด์ไวด์เว็บที่ควรทราบ เช่น




                                  รูปแสดง เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web)

     โฮมเพจ (Homepage) คือ คาที่ใช้เรียกหน้าแรกของเว็บไซต์ โดยเป็นทางเข้าหลักของเว็บไซต์ เมื่อเปิด
      เว็บไซต์นั้นขึ้นมา โฮมเพจ ก็จะเปรียบเสมือนกับเป็นสารบัญและคานาที่เจ้าของเว็บไซต์นั้นได้สร้างขึ้น
      เพื่อใช้ประชาสัมพันธ์องค์กรของตน นอกจากนี้ ภายในโฮมเพจก็อาจมีเอกสารหรือข้อความที่เชื่อมโยง
      ต่อไปยังเว็บเพจอื่นๆอีก ด้วย
     เว็ บ เพจ (Webpage) เป็นหน้า เอกสารที่เขีย นขึ้นในรูปแบบภาษาเอชทีเอ็มแอล (Hypertex Markup
      Language: HTML) ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยังเอกสารหน้าอื่นได้ โดยเรียกดูผ่านเว็บเบราว์เซอร์
     เว็บไซต์ (Website) เป็นกลุ่มของเว็บเพจที่มีความเกี่ยวข้องกัน และอยู่ภายใต้ชื่อโดเมนเดียวกัน
     เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Webserver ) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเว็บเพ็จ เมื่อผู้ใช้ร้องขอเว็บเพจผ่านเว็บ
      เบราว์เซอร์ โดยใช้ยูอาร์แอล (uniform Resource Location: URL) ระบุตาแหน่งของเว็บเพจ เว็บเซิร์ฟเวอร์
      จะส่งเว็บเพจที่ค้นหาได้กลับไปแสดงผลผ่านเว็บเบราว์เซอร์ของผู้ใช้
     เว็บโฮสติง (Web Hosting) เป็นการให้บริการพื้นที่สาหรับสร้าง และจัดเก็บเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือ
      บุคคลทั่วไป เพื่อให้บุคคลอื่นเข้าถึงได้ผ่านอินเทอร์เน็ต

1. การเรียกดูเว็บ เว็บเบราว์เซอร์ (Web browser)
         เป็นโปรแกรมใช้สาหรับการแสดงเว็บเพจ และสามารถเชื่อมโยงไปยังส่วนอื่นในเว็บเพจเดียวกันหรือเว็บ
เพจอื่นผ่านการเชื่อมโยงหลายมิติ หรือไฮเปอร์ลิงค์ (hyperlink) เรียกสั้นๆว่า ลิงค์ (link)
         เว็บเบราว์เซอร์ช่วยเพิ่มความน่าสนใจในการใช้งานอินเทอร์เน็ต นอกเหนือไปจากการสื่อสารหรือการ
แลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครือข่าย ตัวอย่างเว็บเบราว์เซอร์ เช่น Mozilla Firefox, Microsoft Internet Explorer, Apple
Safali, Google Chrome และ Opera
ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม          2




                                          รูปแสดงตัวอย่างเว็บเบราว์เซอร์

2. ที่อยู่เว็บ
            ในการอ้างอิงตาแหน่งของแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตที่ผู้ใช้ร้องขอ เช่น เว็บเพจ สามารถทาได้โดยการ
ระบุยูอาร์แอล (Uniform Resource Location: URL) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้




               โพรโทคอล ใช้สาหรับระบุมาตรฐานที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเว็บ เช่น เอชทีทีพี และเอฟ
ทีพี (File Transfer Protocol: FTP ) ในกรณีของเอชทีทีพี ส่วนใหญ่แล้วผู้ใช้สามารถจะละส่วนของโพรโทคอลนี้ได้
เนื่องจากถ้าไม่ระบุโพรโทคอล เว็บเบราว์เซอร์จะเข้าใจว่าผู้ใช้มีความประสงค์จะใช้โพรโทคอล เอชทีทีพีเพื่อเข้าถึง
เว็บเพจ
               ชื่อ โดเมน ใช้ ส าหรั บ ระบุ ชื่ อ โดเมนของเว็ บเซิร์ ฟ เวอร์ข องผู้ใ ห้บ ริก ารข้อ มูล เช่น ชื่ อโดเมน
www.swt.ac.th
               เส้นทางเข้าถึงไฟล์ (path) ใช้สาหรับระบุตาแหน่งของไฟล์จากเว็บเซิร์ฟเวอร์
               ชื่อข้อมูล ชื่อไฟล์ที่ร้องขอ เช่น ไฟล์ไฮเปอร์เท็กซ์ ไฟล์รูปภาพ ไฟล์วีดีทัศน์ ไฟล์เสียง
ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม      3


          ในกรณีที่ยูอาร์แอลระบุเฉพาะชื่อโดเมนโดยไม่ระบุเส้นทางเข้าถึงไฟล์ และ / หรือชื่อไฟล์ มีความหมายว่า
ให้เข้าถึงหน้าหลัก หรือโฮมเพจ (homepage) ของเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้น ซึ่งโดยทั่วไปเป็นการเข้าถึงชื่อไฟล์ที่กาหนดไว้
เช่น index.html, main.php และ default.asp




                              ตัวอย่างโฮมเพจของเว็บโรงเรียนเสริมงามวิทยาคม

3. การค้นหาผ่านเว็บ
           โปรแกรมค้นหา หรือเสิร์ชเอนจิน (search engines)
          ใช้สาหรับค้นหาเว็บเพจที่ต้องการ โดยระบุคาหลักหรือคาสาคัญ (keyword) เพื่อนาไปค้นในฐานข้อมูล
ขนาดใหญ่ ซึ่งรวบรวมเว็บเพจต่างๆ ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นรายการเว็บเพจที่ประกอบด้วยคาหลักที่ระบุ ช่วยให้เรา
สามารถเข้าถึงข้อมูลทุกประเภท หลากหลายรูปแบบ เพื่อการศึกษาหรือเพื่อความบันเทิงได้อย่างรวดเร็ว
          โปรแกรมการค้นหาสามารถให้บริการค้นหาข้อมูลตามประเภท หรือแหล่งของข้อมูล เช่น ค้นหาเฉพาะ
ข้อมูลที่เป็นภาพ วีดีทัศน์ เสียง ข่าว แผนที่ หรือบล็อก โปรแกรมค้นหาแต่ละโปรแกรมอาจใช้วิธีแตกต่างกันในการ
จัดอันดับความเกี่ยวข้องของเว็บเพจกับคาหลักที่ระบุ โดยเว็บเพจที่มีความเกี่ยวข้องกับคาหลักมากที่สุดจะอยู่ใน
อันดับบนสุด ตัวอย่างโปรแกรมค้นหา เช่น Ask, AltaVista Bing, Excite, Google และ Yahoo




                                      รูปแสดง ตัวอย่างโปรแกรมค้นหา
ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม   4


       เมตาเสิร์ชเอนจิน (metasearch engine)

       เป็นโปรแกรมค้นหาที่ไม่มีการรวบรวมเว็บเพจไว้เป็นฐานข้อมูลของตนเอง แต่ค้นหาจากฐานข้อมูลของ
โปรแกรมค้นหาอื่น ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถเลือกผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการที่สุด จากโปรแกรมค้นหาหลาย
โปรแกรมได้ในเวลาอันรวดเร็ว โดยอาจแสดงผลลัพธ์รวมจากทุกโปรแกรมค้นหาไว้ในชุดเดียวกัน และตัดรายการ
ผลลัพธ์ที่ซ้าซ้อนกันออกไป หรืออาจแสดงผลลัพธ์ของแต่ละโปรแกรมค้นหาแยกเป็นคนละชุด ซึ่งอาจมีรายการที่
ซ้าซ้อนกันปรากฏอยู่ตัวอย่างของเมตาเสิร์ชเอนจิน เช่น Dogpile, Mamma และ Vivisimo




         ตัวดาเนินการในการค้นหา เพื่อให้การค้นหาข้อมูลด้วยโปรแกรมค้นหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้
สามารถใช้ตัวดาเนินการในการค้นหา (search engine operators) ประกอบกับคาหลัก จะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ในการ
ค้นหาที่ดียิ่งขึ้น

                                ตาราง ตัวอย่างตัวดาเนินการในการค้นหา




หมายเหตุ : ตัวดาเนินการบางตัวอาจได้ผลลัพธ์ที่เหมือนกันในโปรแกรมค้นหาที่ต่างกัน
ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม       5


4. เว็บ 1.0 และเว็บ 2.0
           เว็บ 1.0 (Web 1.0) เป็นเว็บในยุคแรกเริ่มที่มีลักษณะให้ข้อมูลแบบทางเดียว ผู้ใช้ทั่วไปเข้าถึงเว็บเพจใน
ฐานะผู้บริโภคข้อมูลและสารสนเทศตามที่ผู้สร้างได้ให้รายละเอียดไว้เพียงอย่างเดียว ไม่ค่อยมีการปรับปรุงข้อมูล
ให้ทันสมัย และมีรูปแบบการใช้งานไม่หลากหลาย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากข้อจากั ดหลายประการ เช่น ความรู้
ความสามารถในการใช้ ค อมพิ วเตอร์ เทคโนโลยี ระบบเครือข่าย ช่องทางในการเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ ต
เทคโนโลยีในการพัฒนาเว็บ อีกทั้งจานวนผู้สร้างเว็บมีอยู่เป็นจานวนน้อยกว่าเมื่อเทียบกับจานวนผู้เข้าถึงเว็บเพื่อ
บริโภคข้อมูลและสารสนเทศ
           ต่อมามีการพัฒนาเทคโนโลยีที่สนับสนุนการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต ทาให้ผู้ใช้ทั่วไปสามารถเป็นส่วนหนึ่ง
ของผู้ให้ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ที่ปรากฏบนเว็บเพจ เช่น การโพสต์ข้อความ รูปภาพ วีดิทัศน์ ความคิดเห็น การจัด
อันดับ ด้วยความแตกต่างที่พบได้เหล่านี้ จึงได้มีการเรียกเว็บประเภทนี้ว่าเว็บ 2.0 (Web 2.0)
           ลักษณะเด่นที่พบในเว็บ 2.0 ที่แตกต่างจากในเว็บ 1.0 เช่น มีการสร้างเครือข่ายทางสังคมผ่านเว็บไซต์ มีการ
พัฒนาความร่วมมือแบบออนไลน์ มีการแบ่งปัน
ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้ใช้ผ่าน
อินเทอร์เน็ต รวมถึงมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน
โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ
พกพาเพิ่มมากขึ้น
           เว็บ 3.0 (Web 3.0)
           ทิม เบอร์เนอร์ส ลี (Tim Berners-Lee) เป็น
ผู้คิดค้นเวิลด์ไวด์เว็บ ได้ให้แนวคิดของเว็บรุ่นที่สาม
หรือเว็บ 3.0 ว่าเป็นการสร้างเว็บเพจที่สามารถให้
คอมพิวเตอร์นาไปใช้ประมวลผลได้อย่างเป็นระบบ
เดี ย วกั น ท าให้ ก ารค้ น หาข้ อ มู ล ง่ า ยขึ้ น และการ
จัดการความรู้ (knowledge management) เป็นจริง
มากขึ้นต่างจากเว็บเพจในปัจจุบันที่คอมพิวเตอร์ไม่
สามารถประมวลผล หรือค้นหาข้อมูลมาตอบคาถาม
ได้ตรงๆ ต้องสร้า งซอฟต์ แวร์ เฉพาะกิ จไปจัดการ
แบบต่า งคนต่า งคิด ต่างทาตามแนวคิดของตน ไม่
เป็นระบบเดียวกัน
           ทั้งนี้ W3C ซึ่งเป็นองค์กรหลักระดับโลกที่
ดาเนินงานด้านเทคโนโลยีเวิล ด์ไวด์เว็บ ได้นาเสนอ
ให้ใช้อาร์ดีเอฟ (Resource Description Framework:
RDF) มาติดตั้ง โดยใช้ เ ทคโนโลยี เอ็ก ซ์ เอ็ม แอล
(Extensible Markup Language: XML) ทาให้
โครงสร้างของเว็บเพจเปลี่ยนไปจากเว็บรุ่นที่ 2.0 ใน
ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม   6


ปัจจุบันที่ใช้เอชทีเอ็มแอล (Hypertext Markup Language: HTML) เป็นพื้นฐาน มาเป็นเอ็กซ์เอ็มแอล และอาร์ดีเอฟ
ทาให้สามารถสร้างซอฟต์แวร์ประมวลผลเชิงความหมายอย่างมีระบบ และอยู่บนมาตรฐานเดียวกัน ในท้ายที่สุดเว็บ
3.0 จะมีลักษณะเป็นเว็บเชิงความหมาย (semantic web) ที่สามารถวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ และเสนอ
ทางเลือกที่เป็นไปได้โดยให้ผู้ใช้เลือกแทนการค้นหาข้อมูลจากคาหลักอย่างตรงไปตรงมา

               เว็บ 1.0 ผู้ใช้ทาได้เพียงแค่อ่าน และเข้าชมเนื้อหาในเว็บไซต์ได้เพียงอย่างเดียว



               เว็บ 2.0 ผู้ใช้ทั่วไปสามารถเป็นส่วนหนึ่งของผู้ให้ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ที่ปรากฏ
               บนเว็บเพจ



               เว็บ 3.0 ผู้ใช้จะระบุความต้องการในการค้นหาข้อมูลแล้วเว็บเชิงความหมายจะ
               ร่วมกันประมวลผลเพื่อเสนอผลลัพธ์เป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
Krusine soyo
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
xsitezaa
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
guest0b1d15e4
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
sombut
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
Nattapon
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
Meaw Sukee
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
เขมิกา กุลาศรี
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
Thanggwa Taemin
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
natlove220
 

Was ist angesagt? (20)

อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
โพรโทคอล
โพรโทคอลโพรโทคอล
โพรโทคอล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 

Andere mochten auch

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปิยะดนัย วิเคียน
 

Andere mochten auch (9)

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
จดหมายส่งให้เขต.Doc (1)
จดหมายส่งให้เขต.Doc (1)จดหมายส่งให้เขต.Doc (1)
จดหมายส่งให้เขต.Doc (1)
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 

Ähnlich wie เวิลด์ไวด์เว็บ

หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
pom_2555
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
Samorn Tara
 
นุ๊ก
นุ๊กนุ๊ก
นุ๊ก
sirinet
 
รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์
sirinet
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวย
sirinet
 
ดรีม
ดรีมดรีม
ดรีม
sirinet
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวย
sirinet
 
หวิว
หวิวหวิว
หวิว
ViewMik
 

Ähnlich wie เวิลด์ไวด์เว็บ (20)

หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
 
Web browser pannarai
Web browser pannarai Web browser pannarai
Web browser pannarai
 
Website
WebsiteWebsite
Website
 
Websitebasic
WebsitebasicWebsitebasic
Websitebasic
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
Webbasic
WebbasicWebbasic
Webbasic
 
นุ๊ก
นุ๊กนุ๊ก
นุ๊ก
 
รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์
 
โบ
โบโบ
โบ
 
Best
BestBest
Best
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวย
 
ดรีม
ดรีมดรีม
ดรีม
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวย
 
หวิว
หวิวหวิว
หวิว
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
 
Yuu
YuuYuu
Yuu
 
Ten
TenTen
Ten
 
New
NewNew
New
 

Mehr von ปิยะดนัย วิเคียน

ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ปิยะดนัย วิเคียน
 

Mehr von ปิยะดนัย วิเคียน (19)

การแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
การแทรกรูปภาพในเว็บเพจการแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
การแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
 
การจัดรูปแบบข้อความ
การจัดรูปแบบข้อความการจัดรูปแบบข้อความ
การจัดรูปแบบข้อความ
 
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจการจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
 
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
 
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยีกลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
 
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
 
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
 
เฉลยแบบทดสอบ html
เฉลยแบบทดสอบ htmlเฉลยแบบทดสอบ html
เฉลยแบบทดสอบ html
 
เฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบเฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
ผลงานการออกแบบ Logo
ผลงานการออกแบบ Logoผลงานการออกแบบ Logo
ผลงานการออกแบบ Logo
 
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดี
ลักษณะของข้อมูลที่ดีลักษณะของข้อมูลที่ดี
ลักษณะของข้อมูลที่ดี
 
วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8
วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8
วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8
 

เวิลด์ไวด์เว็บ

  • 1. ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 1 เวิลด์ไวด์เว็บ เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) หรือเรียกสั้นๆ ว่าเว็บ เป็นการให้บริการข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ (hypertext) ที่ประกอบไปด้วยเอกสารจานวนมากที่มีการเชื่อมโยงกัน ซึ่งเป็นแหล่งของข้อมูลขนาดใหญ่ที่ผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึงผ่านโพรโทคอลที่เรียกว่า เอชทีทีพี (Hypertext Transfer Protocol: HTTP) นอกจากนี้เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม ได้นิยามคาว่า เว็บ คือ จักรวาลของสารสนเทศที่สามารถเข้าถึงได้ ผ่านเครือข่ายและทาให้เกิดองค์ความรู้แก่มนุษยชาติ สาหรับคาที่เกี่ยวข้องกับเวิลด์ไวด์เว็บที่ควรทราบ เช่น รูปแสดง เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web)  โฮมเพจ (Homepage) คือ คาที่ใช้เรียกหน้าแรกของเว็บไซต์ โดยเป็นทางเข้าหลักของเว็บไซต์ เมื่อเปิด เว็บไซต์นั้นขึ้นมา โฮมเพจ ก็จะเปรียบเสมือนกับเป็นสารบัญและคานาที่เจ้าของเว็บไซต์นั้นได้สร้างขึ้น เพื่อใช้ประชาสัมพันธ์องค์กรของตน นอกจากนี้ ภายในโฮมเพจก็อาจมีเอกสารหรือข้อความที่เชื่อมโยง ต่อไปยังเว็บเพจอื่นๆอีก ด้วย  เว็ บ เพจ (Webpage) เป็นหน้า เอกสารที่เขีย นขึ้นในรูปแบบภาษาเอชทีเอ็มแอล (Hypertex Markup Language: HTML) ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยังเอกสารหน้าอื่นได้ โดยเรียกดูผ่านเว็บเบราว์เซอร์  เว็บไซต์ (Website) เป็นกลุ่มของเว็บเพจที่มีความเกี่ยวข้องกัน และอยู่ภายใต้ชื่อโดเมนเดียวกัน  เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Webserver ) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเว็บเพ็จ เมื่อผู้ใช้ร้องขอเว็บเพจผ่านเว็บ เบราว์เซอร์ โดยใช้ยูอาร์แอล (uniform Resource Location: URL) ระบุตาแหน่งของเว็บเพจ เว็บเซิร์ฟเวอร์ จะส่งเว็บเพจที่ค้นหาได้กลับไปแสดงผลผ่านเว็บเบราว์เซอร์ของผู้ใช้  เว็บโฮสติง (Web Hosting) เป็นการให้บริการพื้นที่สาหรับสร้าง และจัดเก็บเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือ บุคคลทั่วไป เพื่อให้บุคคลอื่นเข้าถึงได้ผ่านอินเทอร์เน็ต 1. การเรียกดูเว็บ เว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) เป็นโปรแกรมใช้สาหรับการแสดงเว็บเพจ และสามารถเชื่อมโยงไปยังส่วนอื่นในเว็บเพจเดียวกันหรือเว็บ เพจอื่นผ่านการเชื่อมโยงหลายมิติ หรือไฮเปอร์ลิงค์ (hyperlink) เรียกสั้นๆว่า ลิงค์ (link) เว็บเบราว์เซอร์ช่วยเพิ่มความน่าสนใจในการใช้งานอินเทอร์เน็ต นอกเหนือไปจากการสื่อสารหรือการ แลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครือข่าย ตัวอย่างเว็บเบราว์เซอร์ เช่น Mozilla Firefox, Microsoft Internet Explorer, Apple Safali, Google Chrome และ Opera
  • 2. ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2 รูปแสดงตัวอย่างเว็บเบราว์เซอร์ 2. ที่อยู่เว็บ ในการอ้างอิงตาแหน่งของแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตที่ผู้ใช้ร้องขอ เช่น เว็บเพจ สามารถทาได้โดยการ ระบุยูอาร์แอล (Uniform Resource Location: URL) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้  โพรโทคอล ใช้สาหรับระบุมาตรฐานที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเว็บ เช่น เอชทีทีพี และเอฟ ทีพี (File Transfer Protocol: FTP ) ในกรณีของเอชทีทีพี ส่วนใหญ่แล้วผู้ใช้สามารถจะละส่วนของโพรโทคอลนี้ได้ เนื่องจากถ้าไม่ระบุโพรโทคอล เว็บเบราว์เซอร์จะเข้าใจว่าผู้ใช้มีความประสงค์จะใช้โพรโทคอล เอชทีทีพีเพื่อเข้าถึง เว็บเพจ  ชื่อ โดเมน ใช้ ส าหรั บ ระบุ ชื่ อ โดเมนของเว็ บเซิร์ ฟ เวอร์ข องผู้ใ ห้บ ริก ารข้อ มูล เช่น ชื่ อโดเมน www.swt.ac.th  เส้นทางเข้าถึงไฟล์ (path) ใช้สาหรับระบุตาแหน่งของไฟล์จากเว็บเซิร์ฟเวอร์  ชื่อข้อมูล ชื่อไฟล์ที่ร้องขอ เช่น ไฟล์ไฮเปอร์เท็กซ์ ไฟล์รูปภาพ ไฟล์วีดีทัศน์ ไฟล์เสียง
  • 3. ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 3 ในกรณีที่ยูอาร์แอลระบุเฉพาะชื่อโดเมนโดยไม่ระบุเส้นทางเข้าถึงไฟล์ และ / หรือชื่อไฟล์ มีความหมายว่า ให้เข้าถึงหน้าหลัก หรือโฮมเพจ (homepage) ของเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้น ซึ่งโดยทั่วไปเป็นการเข้าถึงชื่อไฟล์ที่กาหนดไว้ เช่น index.html, main.php และ default.asp ตัวอย่างโฮมเพจของเว็บโรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 3. การค้นหาผ่านเว็บ  โปรแกรมค้นหา หรือเสิร์ชเอนจิน (search engines) ใช้สาหรับค้นหาเว็บเพจที่ต้องการ โดยระบุคาหลักหรือคาสาคัญ (keyword) เพื่อนาไปค้นในฐานข้อมูล ขนาดใหญ่ ซึ่งรวบรวมเว็บเพจต่างๆ ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นรายการเว็บเพจที่ประกอบด้วยคาหลักที่ระบุ ช่วยให้เรา สามารถเข้าถึงข้อมูลทุกประเภท หลากหลายรูปแบบ เพื่อการศึกษาหรือเพื่อความบันเทิงได้อย่างรวดเร็ว โปรแกรมการค้นหาสามารถให้บริการค้นหาข้อมูลตามประเภท หรือแหล่งของข้อมูล เช่น ค้นหาเฉพาะ ข้อมูลที่เป็นภาพ วีดีทัศน์ เสียง ข่าว แผนที่ หรือบล็อก โปรแกรมค้นหาแต่ละโปรแกรมอาจใช้วิธีแตกต่างกันในการ จัดอันดับความเกี่ยวข้องของเว็บเพจกับคาหลักที่ระบุ โดยเว็บเพจที่มีความเกี่ยวข้องกับคาหลักมากที่สุดจะอยู่ใน อันดับบนสุด ตัวอย่างโปรแกรมค้นหา เช่น Ask, AltaVista Bing, Excite, Google และ Yahoo รูปแสดง ตัวอย่างโปรแกรมค้นหา
  • 4. ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 4 เมตาเสิร์ชเอนจิน (metasearch engine) เป็นโปรแกรมค้นหาที่ไม่มีการรวบรวมเว็บเพจไว้เป็นฐานข้อมูลของตนเอง แต่ค้นหาจากฐานข้อมูลของ โปรแกรมค้นหาอื่น ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถเลือกผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการที่สุด จากโปรแกรมค้นหาหลาย โปรแกรมได้ในเวลาอันรวดเร็ว โดยอาจแสดงผลลัพธ์รวมจากทุกโปรแกรมค้นหาไว้ในชุดเดียวกัน และตัดรายการ ผลลัพธ์ที่ซ้าซ้อนกันออกไป หรืออาจแสดงผลลัพธ์ของแต่ละโปรแกรมค้นหาแยกเป็นคนละชุด ซึ่งอาจมีรายการที่ ซ้าซ้อนกันปรากฏอยู่ตัวอย่างของเมตาเสิร์ชเอนจิน เช่น Dogpile, Mamma และ Vivisimo  ตัวดาเนินการในการค้นหา เพื่อให้การค้นหาข้อมูลด้วยโปรแกรมค้นหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้ สามารถใช้ตัวดาเนินการในการค้นหา (search engine operators) ประกอบกับคาหลัก จะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ในการ ค้นหาที่ดียิ่งขึ้น ตาราง ตัวอย่างตัวดาเนินการในการค้นหา หมายเหตุ : ตัวดาเนินการบางตัวอาจได้ผลลัพธ์ที่เหมือนกันในโปรแกรมค้นหาที่ต่างกัน
  • 5. ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 5 4. เว็บ 1.0 และเว็บ 2.0 เว็บ 1.0 (Web 1.0) เป็นเว็บในยุคแรกเริ่มที่มีลักษณะให้ข้อมูลแบบทางเดียว ผู้ใช้ทั่วไปเข้าถึงเว็บเพจใน ฐานะผู้บริโภคข้อมูลและสารสนเทศตามที่ผู้สร้างได้ให้รายละเอียดไว้เพียงอย่างเดียว ไม่ค่อยมีการปรับปรุงข้อมูล ให้ทันสมัย และมีรูปแบบการใช้งานไม่หลากหลาย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากข้อจากั ดหลายประการ เช่น ความรู้ ความสามารถในการใช้ ค อมพิ วเตอร์ เทคโนโลยี ระบบเครือข่าย ช่องทางในการเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ ต เทคโนโลยีในการพัฒนาเว็บ อีกทั้งจานวนผู้สร้างเว็บมีอยู่เป็นจานวนน้อยกว่าเมื่อเทียบกับจานวนผู้เข้าถึงเว็บเพื่อ บริโภคข้อมูลและสารสนเทศ ต่อมามีการพัฒนาเทคโนโลยีที่สนับสนุนการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต ทาให้ผู้ใช้ทั่วไปสามารถเป็นส่วนหนึ่ง ของผู้ให้ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ที่ปรากฏบนเว็บเพจ เช่น การโพสต์ข้อความ รูปภาพ วีดิทัศน์ ความคิดเห็น การจัด อันดับ ด้วยความแตกต่างที่พบได้เหล่านี้ จึงได้มีการเรียกเว็บประเภทนี้ว่าเว็บ 2.0 (Web 2.0) ลักษณะเด่นที่พบในเว็บ 2.0 ที่แตกต่างจากในเว็บ 1.0 เช่น มีการสร้างเครือข่ายทางสังคมผ่านเว็บไซต์ มีการ พัฒนาความร่วมมือแบบออนไลน์ มีการแบ่งปัน ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้ใช้ผ่าน อินเทอร์เน็ต รวมถึงมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ พกพาเพิ่มมากขึ้น เว็บ 3.0 (Web 3.0) ทิม เบอร์เนอร์ส ลี (Tim Berners-Lee) เป็น ผู้คิดค้นเวิลด์ไวด์เว็บ ได้ให้แนวคิดของเว็บรุ่นที่สาม หรือเว็บ 3.0 ว่าเป็นการสร้างเว็บเพจที่สามารถให้ คอมพิวเตอร์นาไปใช้ประมวลผลได้อย่างเป็นระบบ เดี ย วกั น ท าให้ ก ารค้ น หาข้ อ มู ล ง่ า ยขึ้ น และการ จัดการความรู้ (knowledge management) เป็นจริง มากขึ้นต่างจากเว็บเพจในปัจจุบันที่คอมพิวเตอร์ไม่ สามารถประมวลผล หรือค้นหาข้อมูลมาตอบคาถาม ได้ตรงๆ ต้องสร้า งซอฟต์ แวร์ เฉพาะกิ จไปจัดการ แบบต่า งคนต่า งคิด ต่างทาตามแนวคิดของตน ไม่ เป็นระบบเดียวกัน ทั้งนี้ W3C ซึ่งเป็นองค์กรหลักระดับโลกที่ ดาเนินงานด้านเทคโนโลยีเวิล ด์ไวด์เว็บ ได้นาเสนอ ให้ใช้อาร์ดีเอฟ (Resource Description Framework: RDF) มาติดตั้ง โดยใช้ เ ทคโนโลยี เอ็ก ซ์ เอ็ม แอล (Extensible Markup Language: XML) ทาให้ โครงสร้างของเว็บเพจเปลี่ยนไปจากเว็บรุ่นที่ 2.0 ใน
  • 6. ครูปิยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 6 ปัจจุบันที่ใช้เอชทีเอ็มแอล (Hypertext Markup Language: HTML) เป็นพื้นฐาน มาเป็นเอ็กซ์เอ็มแอล และอาร์ดีเอฟ ทาให้สามารถสร้างซอฟต์แวร์ประมวลผลเชิงความหมายอย่างมีระบบ และอยู่บนมาตรฐานเดียวกัน ในท้ายที่สุดเว็บ 3.0 จะมีลักษณะเป็นเว็บเชิงความหมาย (semantic web) ที่สามารถวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ และเสนอ ทางเลือกที่เป็นไปได้โดยให้ผู้ใช้เลือกแทนการค้นหาข้อมูลจากคาหลักอย่างตรงไปตรงมา เว็บ 1.0 ผู้ใช้ทาได้เพียงแค่อ่าน และเข้าชมเนื้อหาในเว็บไซต์ได้เพียงอย่างเดียว เว็บ 2.0 ผู้ใช้ทั่วไปสามารถเป็นส่วนหนึ่งของผู้ให้ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ที่ปรากฏ บนเว็บเพจ เว็บ 3.0 ผู้ใช้จะระบุความต้องการในการค้นหาข้อมูลแล้วเว็บเชิงความหมายจะ ร่วมกันประมวลผลเพื่อเสนอผลลัพธ์เป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้