SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 27
Smart Farm Flagship                                                              มกราคม 2556




           3           Smart Farm Flagship


สารสนเทศกับ การเกษตรในประเทศ

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(เนคเทค) ได้ตระหนักถึงภาระบทบาทที่จะต้อง
ตอบสนองต่อความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศทีจำาเป็นต่อการพัฒนาภาคการผลิต การขนส่ง และ
                                        ่
การบริการของประเทศ เป็นลำาดับต้น จึงได้นำาเสนอ Flagship 3+1 ประกอบด้วย Smart Health,
Smart Farm, Digitized Thailand และ Smart Services ขึ้นเพื่อสนับสนุนต่อทิศทางของนโยบาย
และยุทธศาสตร์การบริหารประเทศของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายและยุทธศาสตร์งานวิจัย (วช.) ตลอดจนการคาดการณ์แนวโน้มของภาคเกษตรของโลกทาง
ด้าน ความมั่นคงและปลอดภัยอาหารในอีก 20 ปีขางหน้า เพื่อให้เทคโนโลยีของเนคเทคมีการปรับตัว
                                          ้
ด้านงานวิจัยให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงต่อสภาพแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบจาก Climate
change ความต้องการของผู้บริโภค กฏระเบียบระหว่างประเทศที่เป็น Non-tariff barriers และนำา
เทคโนโลยีลงสู่ชมชนเกษตรเพื่อร่วมสร้างสังคมเกษตรรุ่นใหม่ที่อยู่ในธุรกิจเกษตรได้อย่างยั่งยืนโดยมี
               ุ
สารสนเทศเป็นหนึ่งในเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Quality of Life) ในช่วงที่ 1 ของการนำา
ร่องโครงการ Flagship Smart Farm นี้ ผลลัพท์ที่คาดหวังประกอบด้วย Road map ที่จะนำาไปสู่การ
จัดทำา White Paper เชิงนโยบาย เครือข่ายภาคีร่วมทางพร้อมฐานข้อมูลและโครงการนำาร่องเพื่อเรียน
รู้และปรับฐานไปสู่การขยายผลในระยะต่อไป

       ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกอาหารในรูปแบบวัตถุดิบและแปรรูปทีสำาคัญแห่งหนึ่ง
                                                                          ่
ของโลก ทั่วโลกยังมีสถิติผขาดแคลนอาหารอยู่ถึง 1,000 ล้านคน ในปี 2009 ในขณะที่ภาคเกษตร
                         ู้
สร้างงานให้กับประชากรกว่าร้อยละ 53 (2548) โดยมีสัดส่วน GDP อยู่ที่ร้อยละ 8.9 (2551) และ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรชี้ให้เห็นถึงการใช้แรงงานกับผลผลิตที่ได้รับ ซึงมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
                                                                     ่
หลายด้าน เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพลังงาน ค่าจ้างในภาคเกษตร ค่าปัจจัยการผลิตทีสำาคัญสูงขึ้นตาม
                                                                             ่
การพลังงานที่เพิ่มขึ้น เหล่านี้สะท้อนออกมาให้เห็นจากตัวเลขรายได้สุทธิของเกษตรกรต่อรายได้ภาค
เกษตรที่ลดลง สวนทางกับรายได้รวมต่อครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น และถึงแม้ว่าสถิติการส่งออกสินค้าเกษตร



                                             -1-
Smart Farm Flagship                                                             มกราคม 2556

และสินค้าเกษตรแปรรูปของไทยที่สำาคัญ เช่น ข้าว ไก่แปรรูป กุ้ง ทูน่ากระป๋องและทูน่าแปรรูป สัปรด
กระป๋องและสัปรดแปรรูป ยังมีการส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก (2551) เกษตรกรส่วนใหญ่ก็ยงอยู่ใน
                                                                                 ั
สภาพที่ยากจน และเป็นผู้ได้รับส่วนแบ่งจากมูลค่าส่งออกเหล่านี้น้อยที่สดในห่วงโซ่การผลิต
                                                                    ุ

       เป็นที่ทราบกันดีว่าเกษตรกรต้องแบกรับภาระด้านต้นทุนการผลิตที่สงขึ้นทำาให้ส่วนต่างรายได้
                                                                    ู
ลดลง ในขณะที่สัดส่วนประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 13.48 ภายในปี 2558 อายุเฉลี่ยของ
ประชากรในภาคเกษตรอยู่ที่ 40-60 ปี นั่นแสดงถึงปัญหาใหม่ที่ประเทศต้องเผชิญกับแรงงานคุณภาพ
ในภาคนี้ และปัจจัยอุบติใหม่เกี่ยวกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศทีมีความชัดเจนและส่ง
                     ั                                               ่
ผลกระทบโดยตรงต่อการผลิตทางการเกษตร โจทย์ปัญหาเหล่านี้คงต้องอาศัยการป้องกันและลดความ
รุนแรงในระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว โดยการมีการจัดการที่ชัดเจนในเชิงนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ทยึดหยุ่น การบูรณาการภาครัฐและชุมชนเกษตรที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม การเร่งรัดเพื่อ
           ี่
ให้มีโครงสร้างพื้นฐานรองรับภาคเกษตรที่ช่วยลดต้นทุนการผลิตได้

       ต่อประเด็นปัญหาเหล่านี้ศูนย์คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ ได้นำาเสนอ Flagship
งานวิจยเพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศออกเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย Smart Health, Smart
      ั
Farm, Smart Services และ Digitized Thailand ทังนี้ในส่วนของ Smart Farm เป็นการนำา
                                              ้
เทคโนโลยีใหม่ผนวกกับเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับหน่วยงานหลักในการพัฒนาเครื่องมือ อุปกรณ์
และ application สำาหรับสนับสนุนภาคการผลิตในระดับเกษตรกร อุตสาหกรรมเกษตร การแปรรูป
การขนส่ง ตลอดจนแนวนโยบายภาครัฐ โดยมองการพัฒนาด้านเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับสภาพความ
เป็นจริงในห่วงโซ่การผลิต ให้สอดรับการเพิ่มมาตรฐานด้านความปลอดภัยทางอาหารที่มากับการ
แข่งขันทางการค้าทีมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น
                  ่

       ทังนี้ Smart Farm flagship จะเป็นการร่วมกันทำางานในลักษณะของ social network ที่ใช้
         ้
เทคโนโลยี องค์ความรู้ ที่เนคเทค หน่วยงานร่วมทาง ปราชญ์ชุมชน ผสมผสานความรู้ในการสนับสนุน
การแก้โจทย์ดานต้นทุนการผลิต ระบบมาตรฐานคุณภาพ ระบบการลดความเสียงในการผลิต และที่
            ้                                                 ่
สำาคัญทีสุดคือการพัฒนาศักยภาพคน เพื่อช่วยกันสร้างสังคมเกษตรใหม่บนฐานความรูและการใช้
        ่                                                                 ้
เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมในการผลิตที่พอเพียงและกลมกลืนกับสิงแวดล้อม
                                                       ่

พัน ธกิจ ของ Smart Farm

เพื่อ ให้ก ารดำา เนิน งานสอดคล้อ งกับ ยุท ธศาสตร์ก ารเกษตรหลัก ของประเทศ และแผน
แม่บ ทการพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คมแห่ง ชาติ เนคเทคได้ก ำา หนดนโยบายทีจ ะสนับ สนุน
                                                                    ่
การขับ เคลื่อ นยุท ธศาสตร์ด ง กล่า ว ด้ว ยการใช้ Smart Farm Flagship เป็น กลไกใน
                            ั
การนำา เทคโนโลยีส ารสนเทศไปสู่ก ารพัฒ นาภาคเกษตร เพื่อ ให้เ กิด การเปลี่ย นแปลงด้า น


                                            -2-
Smart Farm Flagship                                                             มกราคม 2556

แนวคิด และการปฏิบ ัต ิท ี่อ ยู่บ นฐานของเทคโนโลยี นวัต กรรม และการจัด การและการ
บริก ารความรู้ ในการนี้ไ ด้แ บ่ง พัน ธกิจ ออกเป็น 5 พัน ธกิจ เพื่อ ตอบโจทย์ก ารปฏิบ ัต ิง าน
ภายในและภายนอกองค์ก ร ดัง ต่อ ไปนี้




                                            -3-
Smart Farm Flagship                                                         มกราคม 2556




                                รูปที่ 1 พันธกิจ Smart Farm

พัน ธกิจ ที่ 1 ด้า นนโยบาย ได้วางแผนนำาผลงานวิจัยของเนคเทคและหน่วยงานภาคีมาจัดทำา
Technology Package สำาหรับเป็นเครื่องมือสนับสนุนห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain) ของสินค้า
เกษตรหลัก เพื่อให้สอดคล้องกับแนวนโยบายและยุทธศาสตร์ที่สำาคัญทางการเกษตรของประเทศ ใน
การดำาเนิงานมาถึงปัจจุบัน( มกราคม 2556) ประกอบด้วย

1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

2. นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยปี 2556-2560 ของ สำานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ
                                                                     ั

3.    ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตร ตามแผน 11 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์




                                          -4-
Smart Farm Flagship                                                            มกราคม 2556




 รูปที่ 2 การเชื่อมโยงนโยบายและยุทธศาสตร์วิจัย วช. แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                   และแผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

      โดยเฉพาะการประสานการสนับสนุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศต่อหน่วยงานภายใต้กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ภาคเอกชนที่ประกอบธุรกิจเกษตร ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่มีส่วนร่วมในการ
สนับสนุนให้ภาคการเกษตรไทยเติบโตด้วยความมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การ
พัฒนาการเกษตรของชาติ 4 ด้าน คือ

      1. ยุทธศาสตร์สร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกรและองค์การเกษตรกร(Smart Farmers/Smart
      Officers) ที่ Smart Farm จะนำาเทคโนโลยีดานการจัดการความรู้ (Knowledge
                                              ้
      Engineering) และนวัตกรรมบริการการเกษตร (Knowledge as a Services) เป็นเครื่องมือ
      ช่วยให้มีการรวบรวม จัดการและให้บริการข้อมูลอย่างทั่วถึง

      2. ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนาสินค้าเกษตร ที่ Smart Farm สามารถใช้เทคโนโลยีที่พัฒนา
      โดยเนคเทคช่วยในการจัดการด้าน Supply/Value Chain ของสินค้าเกษตรหลัก ในส่วนของ
      ต้นนำ้า ถึงปลายนำ้า อันเป็นการทำาใหเกิดมาตรฐานข้อมูล เกิดระบบการเชื่อมและใช้ข้อมูลให้
      เกิดประโยชน์ร่วมกัน การลดต้นทุนการผลิต และการทำาให้เกิดพื้นฐานของ Smart Farm หรือ


                                            -5-
Smart Farm Flagship                                                              มกราคม 2556

      Precision Farming ในประเทศในอนาคต

      3. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรเกษตร สิ่งที่ Smart Farm เข้าไปสนับสนุน ได้แก่
      การทำาหน้าที่เป็น super coordinator ในการประสานกลุ่มนักวิจยทางด้านการเปลี่ยนแปลง
                                                                ั
      สภาพอากาศมาทำาการศึกษาเรื่องผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่อการผลิต
      ทางการเกษตรของประเทศ ตลอดจนการร่วมมือระหว่างเครือข่ายเพื่อศึกษาเรื่อง Phenomics
      เชิงลึกเพื่อการเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบัน

      4. ยุทธศาสตร์ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การนำาระบบมาตรฐานข้อมูลและการ
      เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายใน เพื่อให้เกิดเอกภาพของข้อมูลในกระทรวงฯที่ใช้เป็น
      ฐานของการพัฒนาการเกษตรอย่างยังยืน บนทิศทางทีจะเกิดประโยชน์ทั้งผู้ให้และผู้รับ
                                   ่              ่
      (Value in Context)

4.    กรอบยุท ธศาสตร์ข องกลุ่ม อาหารและเกษตร ตามแผนยุท ธศาสตร์ข อง สวทช .

      นอกจากนี้ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ยังมีแผนร่วมทำางานกับ Cluster อาหารและเกษตรของ
สวทช.เพื่อ align แผนงานวิจัยเทคโนโลยีสารสนเทศของเนคเทค เข้ากับกรอบนโยบาย Flagship ของ
สวทช. ในส่วนของข้าว มันสำาปะหลัง ยางพารา และกุ้ง ตามเป้าหมาย ดังนี้




                                           -6-
Smart Farm Flagship                                                         มกราคม 2556




                        รูปที่ 3 เป้าหมายของ Cluster อาหารและเกษตร

เป้าหมายระดับประเทศของ Cluster อาหารและเกษตร สวทช.

1. ประเทศไทยเป็นครัวของโลก

2. เป็น 1 ใน 5 ของการส่งออกอาหารของโลก ด้าน ประมง ธัญพืช ผักผลไม้ และเนื้อสัตว์

3. ประเทศไทยเป็นผูนำาในการผลิตและส่งออกยาจากธรรมชาติคุณภาพสูง ติด 1 ใน 5 ของโลก
                  ้

       ในส่วนของ Strategic Planning Alliance นั้นด้านแผนงานวิจัยและพัฒนาภาคการเกษตรและ
เกษตรอุตสาหกรรมอย่างยังยืน มีโปรแกรมสนับสนุน ประกอบด้วย
                      ่

   •   Smart material

   •   Sensor and Diagnostic




                                          -7-
Smart Farm Flagship                                                             มกราคม 2556

     •   Traceability/food safety, risk management

     •   Mechatronics

     •   Logistics

จะเห็นได้ว่าในส่วนของโปรแกรมสนับสนุนนั้น Smart Farm Flagship สามารถ align เข้ากับแผน
SPA-2 ได้เป็นอย่างดี ในข้อ 2-5 และจะมีส่วนช่วยให้การทำางานตามแผนของ Cluster อาหารและ
เกษตรเป็นไปตามเป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์ โดยเฉพาะโครงการ Smart Thai Rice ที่เนคเทคร่วม
ดำาเนินการกับกรมการข้าวนั้น ก็ align กับ Flagship ข้าว ของ Cluster โดยตรง

5.       COST Foresight 2030 (EU) แนวทางการพัฒนางานวิจัยของเนคเทคยังสอดรับกับ
ยุทธศาสตร์ดาน Food security และ Food safety ใน World Food Program ของ องค์การอาหาร
           ้
และเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และ COST Foresight 2030 ของสหภาพยุโรป ที่มองถึงการใช้
เทคโนโลยีในการพัฒนาการเกษตรด้านความมั่นคงและความปลอดภัยอาหาร ซึ่งเป็นอีกทิศทางหนึ่ง
ของการเตรียมการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถตอบสนองต่อการ
ใช้งานในภาคเกษตรได้ไปสู่การปฏิบัตจริง
                                 ิ

             ผลที่ได้จากการที่ Flagship ได้จดสัมมนาและนำาข้อมูลที่ได้นำามาประมวลเป็น ข้อเสนอแนะ
                                            ั

มุมมอง ทางด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตรของประเทศ โดยยังคงเน้นความ

สำาคัญของของการเกษตร 4 ส่วนหลัก คือ การผลิต คุณ ภาพมาตรฐาน การจัด การความเสี่ย ง

และการจัด การความรู้ ซึง key drivers ที่ได้จะนำาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อตอบโจทย์
                       ่

Food Security ของสหภาพยุโรป(COST Foresight 2030) และของโลก ตามข้อเสนอแนะของ

FAO (Food and Agriculture Organization) ดังต่อไปนี้

     •   Food Availability (การผลิตให้ม ีอาหารเพียงพอต่อการบริโภคของประชากร) ที่การใช้

         เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถนำามาใช้เพื่อพัฒนาองค์ประกอบดังต่อไปนี้

         ◦   การผลิตทีมีมาตรฐานการผลิตและมีประสิทธิภาพ(Food production),
                      ่

         ◦   มีผลผลิตเพียวพอและการกระจายของอาหารอย่างทั่วถึง(Food distribution) และ




                                              -8-
Smart Farm Flagship                                                          มกราคม 2556

      ◦   การแลกเปลี่ยนสินค้าอาหารทีผลิตจากภูมิภาคทีแตกต่าง(Food exchange)
                                    ่               ่

  •   Accessibility (การมีอาหารพอเพียงและประชากรสามารถเข้า ถึง แหล่งอาหารได้โดยง่าย)

      สามารถนำามาใช้เพื่อพัฒนาองค์ประกอบดังต่อไปนี้

      ◦   Food affordability: ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลเพื่อหาซื้ออาหารเพื่อการบริโภค

      ◦   Allocation of food, และ ความสามารถในการระบุ สถานที่ผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่มี

          ลักษณะเฉพาะประจำาถิ่น

      ◦   Food preference รสนิยมและความชอบในการบริโภค ทีทำาให้เกิดการเลือกบริโภคและ
                                                        ่

          การผลิตทีตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค
                   ่

  •   Utilization ทีต้องมองการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ตอบโจทย์
                    ่

      ◦   การให้ความสำาคัญต่อคุณค่าทางอาหารของสินค้าเกษรไทย(Nutrition value of food),

      ◦   การเน้นเรื่องราวเฉพาะประกอบสินค้าเกษตรจากผู้ผลิต การสร้างเครือข่ายสังคมระหว่างผู้

          ผลิตและผู้บริโภค(Social value of food) และ

      ◦ การเน้นความปลอดภัยในการบริโภคของสินค้าเกษตรไทย(Food Safety)

  •   Stability ความมั่นคงของการผลิตอาหาร และการปรับตัวของภาคการผลิตต่อสภาพภูมิ

      อากาศที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่เกิดการขาดแคลนอาหาร (Food shortage)ปัญหาของการเกิด

      Food shortage นั้นมีมาจากหลายสาเหตุจากข้อมูลในบทที่ 3 ยกตัวอย่างเช่น

      ◦ Global warming หรือผลกระทบจากสภาวะโลกร้อนต่อการผลิตทางการเกษตร

      ◦ การเติบโตของการพัฒนาพลังงานทดแทน (Biofuel) ที่เกิดจากความต้องการพลังงาน

          ทดแทนที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบถึงความขาดแคลนหรือการเพิ่มขึ้นของราคาพืชอาหารที่ใช้

          เป็นวัตุดิบร่วมกับการผลิตพลังงาน




                                             -9-
Smart Farm Flagship                                                          มกราคม 2556

      ◦ ผลกระทบจากการระบาดของโรคและแมลง

      ◦ ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ

      ◦ การลดลงของพื้นที่การเกษตรที่เหมาะสม

      ◦ ปัญหาวิกฤติแรงงานคุณภาพในภาคเกษตร




ตาราง matrix ของทิศทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตร ภายใต้ความหมายของ Food

Security ของ European Cooperation in the Field of Scientific and Technical

Research(COST)ได้วางแผนการใช้ ICT กับการเกษตรภายในปี 2573 ไว้ประกอบด้วย




Food Availability




                                         - 10 -
Smart Farm Flagship            มกราคม 2556




Food Accessibility




                      - 11 -
Smart Farm Flagship                                                        มกราคม 2556




Food Utilization




จะเห็นได้ว่ากรอบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตรของกลุ่มสหภาพยุโรป เมือมองในด้าน
                                                                        ่

เทคโนโลยีแล้วมีความคล้ายกับงานวิจัยที่ทางเนคเทคดำาเนินการอยู่ และหากสามารถใช้ตาราง matrix

นี้มองในมุมของ supply chain management และในมุมองค์ประกอบของ Food Security ของพืชใด


                                         - 12 -
Smart Farm Flagship                                                              มกราคม 2556

พืชหนึ่งแล้วแล้ว จะสามารถวางแผนการพัฒนาและการใช้งานของเทคโนโลยีได้ชัดเจนและตรงกับ

โจทย์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น




6.       Mobile Technologies for Food Security, Agriculture and Rural
Development ร่วมกับ FAO RAP กรุงเทพฯในการทำา Workshop ระหว่างวันที่ 4-5 เมษายน
2555 ซึงมีผู้แทนหน่วยงานด้านการเกษตรของประเทศสมาชิกของ FAO ในภูมิภาคประมาณ 12
       ่
ประเทศ เข้าร่วมในการสัมมนาเพื่อวางกรอบนโยบายดังกล่าว ผลจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
สามารถสรุปได้ดงนี้
              ั

ผลของการสัมมนาจำานวน 2 วัน ของตัวแทนระดับสูงจากกระทรวงเกษตรของประเทศสมาชิก FAO
จำานวน 12 ประเทศ ตัวแทนภาคเอกชนทางด้านสารสนเทศการเกษตร และผู้เชียวชาญด้าน
                                                                ่
Management Agricultural Information System(MAIS) เป็นการเน้นที่จะศึกษารูปแบบความสำาเร็จ
จากภาคเอกชนและองค์กร ทางด้าน MAIS ในการให้บริการข้อมูลผ่าน Mobile Technologies และ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน สิ่งที่ได้รับจากการสัมมนา ปรกอบด้วย

     •   Mobile-based Information Delivery ที่เป็นที่เห็นพ้องในการประชุมว่ามีความสำาคัญต่อการ
         เข้าถึงความรู้และการส่งข่าวสาร ข้อมูล ระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับเกษตรกร ทำาอย่างไรจึงจะ
         มีนวัตกรรมบริการข้อมูล ความรู้ทางการเกษตรที่ยึดหยุ่น เข้าถึงง่าย และเกิดการยอมรับในวง
         กว้าง



                                             - 13 -
Smart Farm Flagship                                                                มกราคม 2556

   •   Clear policies นโยบายสนับสนุนที่ชัดเจนจากรัฐ เป็นสิ่งสำาคัญและจำาเป็น ที่จะทำาให้ผู้
       ประกอบการด้านการพัฒนาโปรแกรม ผู้ที่ประกอบการด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร สนใจที่เข้า
       ร่วมพัฒนา MAIS อย่างจริงจัง ต้องหาร value proposition ร่วมกัน

   •   Partnership with the private sector ปัจจัยของความสำาเร็จประการหนึ่งคือการใช้ Public-
       private-partnerships (PPP) model ในการร่วมกันพัฒนา MAIS บน mobile-based ทำา
       อย่างไรจึงจะเกิด value in context

   •   Trustworthiness/Reliability/Accountability ความเชื่อถือและการยอมรับ ในข้อมูลและความ
       รู้ที่เกษตรกรได้รับ เป็นสิ่งที่สำาคัญที่จะทำาให้ระบบเกิดการยอมรับและมีการพัฒนาการใช้งาน
       ต่อเนื่องและยั้งยืน ต้องมีแนวนโยบายกำากับที่ชัดเจน มีรูปแบบการดำาเนินการที่เป็นขั้นตอน มี
       การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลและการบริการระหว่างกัน

   •   Accountability สรางข้อตกลงร่วมกันในการพัฒนาระบบที่สามารถตอบสนองต่อนโยบายและ
       กิจกรรมของผู้ร่วมในโครงการ ที่ตรวจวัดได้

   •   Lessons learnt and good practices ต้องมีการถอดบทเรียนจากกรณีศึกษาที่ประสบความ
       สำาเร็จในภูมิภาค ไม่ว่าจะใช้เทคโนโลยีใดเป็นเครื่องมือในการจัดการ MAIS

   •   agricultural information services should be platform-independent เพื่อให้เกิดการ
       บริการที่ทั่วถึง รูปแบบของเทคโนโลยี (SMS, Mobile, TV, Radio) และการจัดการต้องเปิดรับ
       การใช้ภาษาที่แตกต่าง ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานในแต่ละพื้นที่ และปัจจัยเชิงสิ่ง
       แวดล้อมอื่นที่จะเข้าถึงกลุ่มคนเป้าหมาย

   •   voice-based advisory services ด้วยประชาการเกษตรส่วนใหญ่มีระดับการศึกษษไม่สง และ
                                                                                 ู
       ในบางส่วนไม่สามารถอ่านหนังสือได้ ดังนั้นการใช้เสียงและเทคโนโลยีการ voice-based จึงมี
       ความจำาเป็นอย่างยิงสำาหรับคนในกลุ่มนี้
                         ่




   7. เวที ICT 2020-Stronger Economy

ร่า งวิส ัย ทัศ น์ ICT 2020




                                                - 14 -
Smart Farm Flagship                                                               มกราคม 2556

ICT เป็นฐานรากที่สำาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน [มุ่งสู่การเป็น

ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำาคัญของ ASEAN] สร้างสรรค์สงคมที่ [ให้โอกาสทุกคนอย่าง] เป็นธรรม
                                                   ั

[และเอื้ออาทร] นำาพาให้คนไทยมีสุข(แท้ด้วยปัญญา)




           ในเวทีของ ICT 2020: Stronger Economy มีวตถุประสงค์เพื่อ
                                                   ั


   •   เพื่อกำาหนดทิศทางและยุทธศาสตร์ การพัฒนา ICT ของประเทศในอีก 10 ปีข้างหน้า

   •   เพื่อให้การพัฒนา ICT ของไทย มีทิศทางที่ชัดเจนและมีความต่อเนื่องของกรอบนโยบายใน

       ภาพรวม

   •   เพื่อกำาหนดแนวทางในการสร้างฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนา ICT ของประเทศ

   •   เพื่อศึกษา วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงด้าน ICT ที่มผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ
                                                      ี

       สิ่งแวดล้อม

           หลักการสำาคัญของกรอบนโยบาย ICT 2020


   •   ใช้แนวคิดกระแสหลักของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่ต้องคำานึงถึงความยั่งยืนใน 3 มิติ คือ มิติ

       สังคม มิติเศรษฐกิจ และมิติสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในการกำาหนดเป้าหมายการพัฒนา ICT ใน

       กรอบนโยบายนี้ จึงได้บูรณาการและพยายามสร้างสมดุลของทัง 3 มิตินี้ไปด้วยกัน นอกจากนี้
                                                           ้

       ยังให้ความสำาคัญกับการพัฒนาทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ และความเป็นธรรมในสังคมควบคู่

       กันไปอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ


   •   ให้ความสำาคัญกับการใช้ประโยชน์จาก ICT ในการลดความเหลื่อมลำ้าและสร้างโอกาสให้กับ

       ประชาชนในการรับประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน โดยเครื่องมือทางนโยบายที่ให้

       ความสำาคัญได้แก่ การศึกษา การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเข้าถึงข้อมูล /สารสนเทศ/



                                            - 15 -
Smart Farm Flagship                                                           มกราคม 2556

      ความรู้/บริการของรัฐ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบบการเมืองการปกครอง

      รวมทั้งการจัดการทรัพยากร ทังของประเทศและท้องถิ่น
                                 ้


  •   ใช้แนวคิดในการพัฒนาโดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือมุ่งเน้นพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้

      ก้าวทันต่อโลกยุคปัจจุบัน ความพอเพียงหรือพอประมาณ ความมีเหตุผล และความจำาเป็นที่จะ

      ต้องมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดีเพื่อรองรับผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและ

      ภายนอก


  •   ความเชื่อมโยงและต่อเนื่องทางนโยบายและยุทธศาสตร์กับกรอบนโยบายฯ และแผนแม่บทฯ ที่

      มีมาก่อนหน้านี้ เพื่อให้เกิดแรงผลักดันอย่างจริงจัง


  •   สมมุติฐานคืองบประมาณของรัฐเพียงอย่างเดียวจะไม่มีเพียงพอที่จะตอบสนองความต้องการ

      ทั้งหมดได้ เพราะรัฐยังต้องใช้งบประมาณในการลงทุนด้านอื่นและการจัดสวัสดิการสังคม ดัง

      นั้น ด้าน ICT ควรจะให้เอกชนเข้ามามีบทบาทมากขึ้น โดยรัฐทำาหน้าที่จัดระเบียบ ออกกฎ

      เกณฑ์กติกา รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน

          เป้าหมายหลัก


  •   โครงสร้างพื้นฐาน ICT (broadband) กระจายอย่างทั่วถึง ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่าง

      เท่าเทียมกัน


  •   พัฒนาบุคลากรให้เป็น “smart” ICT user และพัฒนาบุคลากร ICT ที่มีความเชี่ยวชาญ ความ

      สามารถและทักษะในระดับสากล


  •   เพิ่มบทบาทและความสำาคัญของอุตสาหกรรม ICT (โดยเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์)

      ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ




                                             - 16 -
Smart Farm Flagship                                                        มกราคม 2556

  •   ยกระดับความพร้อมด้าน ICT โดยรวมของประเทศ


      •      ความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐ ICT contribution to

      green economy and society




                                        - 17 -
Smart Farm Flagship            มกราคม 2556




                      - 18 -
Smart Farm Flagship                                                         มกราคม 2556




จากกรอบใหญ่ของ ICT 2020, Smart Farm ได้ดำาเนินการร่วมกับคณะทำางาน SRI ทีทำานโยบายดัง
                                                                        ่

กล่าว โดยนำาประเด็นข้อคิดเห็นจากเวทีในส่วนของ Smart Farm เป็นข้อมูลที่จะประกอบอยู่ในเสา

Stronger Economy ที่ประกอบด้วย Smart Agriculture และ Smart services เพื่อการนำาแผนยุทธ

ศาสตร์ลงส่การปฏิบัติที่ชดเจนมากขึ้น โดยมีโครงการนำาร่องของ Smart Farm เป็นการสร้างโมเดล
                        ั

ของการใช้ ICT เพื่อการเกษตรและ Services ทางการเกษตรควบคู่กันไป


   8. เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารกับ การพัฒ นาการเกษตร ในระยะปี 2554-
      2563




                                         - 19 -
Smart Farm Flagship                                                                                        มกราคม 2556



                               Is u s
                                 se                                  IC f cu
                                                                       To s                                  Ts s
                                                                                                              ak
Po u n
 r d ctio        V e o p e o oig , Pr d civ y
                  alu n lac f r in o u t it   IC f rf m an g en (U iq it u s s r
                                                T o ar m a em t b u o s en os            M d l กา ระบา องศัตรู ช
                                                                                          o e ร ดข             พื ,
                 m s r m t Pr d cio mn oin
                  ea ue en, o u t n o it r g  n t ok Far r b t s G s aia e g e
                                               ew r , m o oic , eo p t l n in ),         ค ะทำา ยุทธศาสตร์ อมูล วิจั า
                                                                                          ณ งาน            ข้ งาน ยข้ ว
                 s sem
                  yt ,                        IC f rG P, Pr d cio md Pr c io f r in , ข
                                                T o A o u t n o el, e is n a m g องประเทศ
                                              Emed eds semFa ma t mt n
                                                 b d y t , r uo aio
Sta d r a d V e pep sit n Targ o ban & D t st d d at n D t inegat n IC f r คณ มการมาตรฐาน อมูลการเกษตร
   n ad n     alu r o io ,      et n r d       aa an ar iz io , aa t r io , T o             ะกรร            ข้
qa
 u lity      m k , Q alit b s dc meit n
              ar et u y a e o p t io ,        Ta ea ilit , G , N io al A D a St n ar (ID แ งช , Ge s aia san ar iz t n
                                               r c b y LN at n G at a d d ), ห่ าติ o p t l t d d aio ,
                                              e-C t ic io
                                                  erif at n                              T e IF 4
                                                                                          H -G
                                              RFIDt f rlo isic &s p lyc ain Se s r f r Ta e ilit กล้ ม้ ปล ลไ ล
                                                     ag o g t s u p h , n os o r c ab y วยไ านิ หมแ ะ
                                              soag c n it n Sen o f rfe n s m s r ข้ วห
                                               t r e o d io , s r o r sh es ea ue, า อมมะลิ ทรี     อิน ย์
                                              Smr p c ag gf rs o g id t ic io
                                                 a t a k in o p ila e enif at n
R kmn g mn C at variab yan ad pat nf r
 is a a e e t lim e      ilit d a t io o      G s at l en in , Pr iciv A aly is
                                                eo p ia g es ed t e n s                  ค ะทำา
                                                                                          ณ งานG osp ia e g e
                                                                                                     e at l n in
             agic lt r Pr icio md f rp t
                r u ue, ed t n o el o es,                                                ค ะทำา ด้ กา ดต ล ดกา
                                                                                          ณ งาน าน รติ ามแ ะคา รณ์
                                                                                         กา ะบาดข ร ล มล
                                                                                           รร      องโ คแ ะแ ง
KM           C -ce io (f r e s piv e s t r
              o r at n a mr , r at eco,       O t lo y M b d ic , Inomt no -d m d Far in Inomt nN w r (A r
                                                no g , o ile ev es f r aio n e an , m g f r aio et ok go
             g v r m t V e ad edlo al c nens So ial n w r , Se anicw b W
              o e n en), alu d c o t t , c et ok m t e , eb                              C b Br in
                                                                                          y er a )
             Far d a in u s semPr d cio soy c n e t it :po u er &c n u e s
                 m at p t y t , o u t n t r , o n civ y r d c s o s mr
Sev s
  r ice          E-Se v e : Sin le w d wf ragic lt r e p r, Sin le w d wf ragic lt r lo isic , Far Inom io Ser ic s, Lo aio b ed
                      r ic s g in o o r u ue x ot g in o o r u ue g t s m f r at n v e c t n as
                 s r ic s A r c b bain e-C m er e T &c p o e ad eris g
                  e v e , go y er r , o m c , V ell h n v t in


 ในช่วงแรกของการดำาเนินงาน Smart Farm Flagship ได้จดสัมมนา Smart Farm Workshop และ
                                                   ั
 ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรจัดสัมมนาในหัวข้อ สารสนเทศกับการเกษตร หลายครัง ทำาให้ได้ประเด็น
                                                                     ้
 ปัญหาและจากความเห็นของผู้เชียวชาญภาคเกษตรในแง่มุมต่างๆ ที่นำามาสู่การกำาหนดเครื่องมือใน
                             ่
 การแก้ไขปัญหา เนคเทคจึงได้จัดการระดมความคิดเห็นต่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับ
 การพัฒนาการเกษตร ในระยะปี 2554-2563 หรือ IT for Agriculture Foresight ในวันที่ 10
 พฤษภาคม และ 9 มิถุนายน 2553 โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่

     1. เพื่อเป็นข้อมูลสำาหรับการจัดทำา White Paper เกี่ยวกับแนวทาง
          การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับการพัฒนา
                                         ่
          การเกษตร ใน 10 ปีขางหน้า (พ.ศ. 2554-2563)
                            ้

     2. เพื่อรวบรวมข้อมูลประกอบการจัดทำา Technology Roadmap
          ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารสำาหรับภาคการเกษตร
                                       ่
          ของประเทศ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2554-2556)

     3. เพื่อรวบรวมข้อมูลประกอบการจัดทำากรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ
          ประเทศไทย ระยะ พ.ศ. 2554-2563

 ผู้เข้าร่วมเวทีระดมสมองประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทางการเกษตร (คัดเลือกจากกลุ่ม SIG ทางการ
 เกษตร) และผู้มีประสบการณ์ดานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตร จำานวนประมาณ 40 ท่าน
                           ้



                                                           - 20 -
Smart Farm Flagship                                                               มกราคม 2556

โดยแบ่งหัวข้อในการระดมความคิดเห็นออกเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) การผลิต 2) คุณภาพ
มาตรฐานการผลิตและสินค้า 3) การบริหารจัดการความเสี่ยงทางการเกษตร และ 4) การบริหาร
จัดการความรู้ทางการเกษตร

ในการระดมความคิดเห็นครั้งนี้ นายยุคล ลิ้มแหลมทอง ดำารงตำาแหน่งปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ณ ขณะนั้น ได้เข้าร่วมเพื่อรับฟังและให้นโยบาย ตลอดจนข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาด้าน
การเกษตร ทั้งนี้ ปกษ. ได้มอบหมายให้กลุ่มสัมมนาทำาการยกร่างคณะกรรมการมาตรฐานข้อมูล
การเกษตรแห่งชาติ เพื่อให้ ลงนามแต่งตั้งและช่วยผลักดันให้เกิดการปฏิบัติจริงต่อไป ซึ่งต่อมาได้มี
การแต่งตังคณะกรรมการมาตรฐานข้อมูลการเกษตรแห่งชาติขึ้น โดยมีเนคเทคทำาหน้าที่เป็นเลขาคณะ
         ้
กรรมการ มีปลัดกระทรวงเกษตรเป็นประธาน มีการประชุมเป็นทางการ 1 ครังในปี 2553
                                                                ้

ประเด็นที่ได้จากการประชุม

สรุปประเด็นสำาคัญจากการระดมความคิดเห็นจากผู้เชียวชาญในประเด็นปัญหาภาคเกษตรที่มองตาม
                                               ่
กรอบนโยบายของ Smart Farm ดังนี้

การผลิต ทางการเกษตร

   •   ภาครัฐควรสนับสนุนนโยบายที่ชดเจนและต่อเนื่อง อาจใช้กลไกของสภาเกษตรกรที่จะเกิดใน
                                  ั
       อนาคต ซึงเกษตรกรสามารถเข้ามามีส่วนในการกำาหนดนโยบายมากขึ้นได้โดยใช้ IT เป็น
               ่
       เครื่องมือ การวิจัยและพัฒนาเป็นเรื่องสำาคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ในด้าน IT
       ประเทศไทยควรทุ่มเทในการทำาวิจัยและพัฒนาแบบก้าวกระโดดเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงใน
       อนาคตไม่ควรไล่ตามพัฒนาเทคโนโลยีของต่างประเทศในปัจจุบันเพราะกว่าประเทศไทยจะ
       ทำาได้ ก็มีเทคโนโลยีใหม่ๆ เกิดขึ้นอีก อย่างไรก็ตาม การพัฒนา IT ให้กับเกษตรกรใช้ ต้อง
       เน้นในเรื่องของการใช้งานง่าย สะดวก ควรมีการทำาวิจัยตลาด/ลูกค้าก่อนพัฒนาสินค้า นักวิจัย
       ต้องเป็น economist และ marketer มุ่งเน้น “user centric” การสื่อข้อมูลหรือการสร้างองค์
       ความรู้ให้กับเกษตรกรเป็นเรื่องสำาคัญ ช่องทางการสื่อสารต้องแพร่หลาย สะดวกและใช้งาน
       ง่าย องค์ความรู้เพื่อการแข่งขันในอนาคตต้องมีพลวัตรที่เหมาะสมกับเวลา/ สถานการณ์ มิ
       ฉะนั้นอาจล้าสมัยได้ ดังนั้น องค์ความรูต้องผ่านการวิจัยและพัฒนาจึงจะสามารถได้ความรู้ที่
                                             ้
       เหมาะกับอนาคต และประเทศไทยอาจต้องหันมาทบทวนเรื่องการทดลองพืช GMOs เพื่อหาก
       มีการยอมรับจากทั่วโลก ประเทศไทยจะได้ไม่ตกขบวนรถ ในอนาคตจากอิทธิผลของ climate
       change ที่ทำาให้ฤดูกาลผันแปร กระทบโดยตรงต่อการทำาเกษตรของประเทศไทย เพราะเราอิง
       ธรรมชาติมากเกินไป การบริหารจัดการนำ้ารวมถึงการใช้นำ้าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเป็นเรื่อง
       ที่มีความสำาคัญเร่งด่วน นอกจากนี้ประเทศไทยกำาลังเข้าสู่สังคมสูงวัย แรงงานเกษตรมีผู้สูงอายุ

                                            - 21 -
Smart Farm Flagship                                                                  มกราคม 2556

      มากขึ้น ต้องเน้นที่การสร้างยุวเกษตรกร ต้องเพิ่มความรูด้าน ICT เกษตรกรรุ่นใหม่ต้องเป็น
                                                           ้
      เจ้าของกิจการได้เอง และเครือข่ายสถาบันการศึกษาต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
      ทรัพยากรมนุษย์

คุณ ภาพมาตรฐานการผลิต และสิน ค้า

  •   ในประเด็นนี้ผู้เชียวชาญต่างให้ความสำาคัญกับการสร้างตราสินค้าไทย (brand) และความน่า
                        ่
      เชื่อถือ (trust) มากที่สุด โดยใช้มาตรฐานสากลเป็นตัวกำาหนดคุณภาพสินค้า การทำา
      traceability เป็นสิ่งจำาเป็น นำา IT มาช่วยในการสร้าง story เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและ
      บริการ การใช้เป็นประโยชน์จาก social network เป็นสื่อโฆษณาอันทรงพลังในการสร้าง
      Brand และสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า และเมื่อนำา technology มาช่วยในการสืบย้อนกลับก็
      ช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับลูกค้าได้ การผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานต้องเริ่มตั้งแต่
      กระบวนการผลิต ซึ่งต้องการ Automation system/ robotic (องค์ความรู้ทางการผลิต, ระบบ
      monitoring/ warning, ระบบควบคุม) เพื่อแก้ปัญหาเรื่องคน และ Automate farming system
      การจัดการผลผลิต ต้องทำาให้ผลผลิตมีคุณสมบัติสมำ่าเสมอทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ดัง
      นั้น weather warning system (เช่น การวัดความชื้น อุณหภูมิ) ก็มีความสำาคัญเช่นกัน ใน
      ส่วนของกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ บทบาทของภาครัฐ 1) ดูแลความปลอดภัยผู้บริโภค
      require ability to identity problem, route, safety 2) ระบบกลางทีมีข้อมูลตาม value
                                                                      ่
      chain 3) ช่วยเหลือ SMEs ให้สามารถทำา traceability ได้ ทังนี้ ข้อมูลเป็นปัจจัยสำาคัญ ต้องมี
                                                              ้
      มาตรฐานและเชื่อมโยงกันได้ ต้องเร่งให้เกิด center of information และต้องมีการเก็บบันทึก
      ข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย

การจัด การความเสี่ย งทางการเกษตร

  •   ผู้เชียวชาญเห็นพ้องกันว่าความเสี่ยงในภาคเกษตรมีหลายประเภท ทังที่ควบคุมได้ เช่น
            ่                                                     ้
      แรงงาน ราคาสินค้า หรือความเสี่ยงทีควบคุมไม่ได้ เช่น ภัยธรรมชาติ และโรคระบาด ซึงการ
                                        ่                                           ่
      ติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศไม่เพียงแต่ให้ความสำาคัญกับภาพใหญ่ใน
      scale ระดับภาค แต่ควรต้องติดตามถึงระดับชุมชน สำาหรับความเสี่ยงด้านแรงงานเนื่องจาก
      เกษตรกรส่วนใหญ่มีผู้สูงอายุมากขึ้น จะเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงและใช้ IT ของเกษตรกร
      ทำาให้เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาศักยภาพของแรงงานภาคเกษตรให้เป็นแรงงานทักษะสูง
      อย่างไรก็ตามต้องเร่งสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ต้องใช้การศึกษาขับเคลื่อนการพัฒนาคน
      นอกจากนี้ ในปี 2015 เมื่อประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงงาน
      ราคาถูกจากประเทศเพื่อนบ้านจะไหลบ่าเข้ามาทดแทนแรงงานไทยที่ไหลออกจากภาคเกษตร


                                             - 22 -
Smart Farm Flagship                                                                 มกราคม 2556

      ขณะเดียวกันประเทศไทยจะพัฒนาเกษตรกร เยาวชน เข้าไปในประชาคมอาเซียนได้อย่างไร
      การเฝ้าระวังและพัฒนาพันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์พื้นเมืองที่ดของไทยเป็นสิ่งที่ต้องกระทำาอย่างจริงจัง
                                                            ี
      และเร่งด่วน

การจัด การความรู้ท างการเกษตร

  •   องค์ความรู้ดานเกษตรของไทยมีกระจายอยูในหลายแหล่ง มีต้นแบบมากมายทั้งในปราชญ์
                  ้                       ่
      ชาวบ้าน และชุมชนต้นแบบในหลายพื้นที่ องค์ความรู้เหล่านี้เป็น mindset ของชุมชน และ
      เป็นของคนคนนั้น เมื่อเกษตรกรนำาวิธีของปราชญ์ชาวบ้านไปทำา มักไม่ได้ผลสำาเร็จแบบ
      เดียวกัน ดังนั้น ต้องมีคนถอดรหัสองค์ความรู้ ตรรก วิธีคดของปราชญ์ชาวบ้าน แปลงเป็น
                                                            ิ
      model และต้องแปลความ เพราะเรื่องของประสบการณ์ และความชำานาญ ถ่ายทอดออกมา
      เป็นตัวอักษรไม่ได้ ต้องหาวิธีการให้เกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนตัวเองให้เท่าทันสิ่งรอบตัวที่
      เปลี่ยนแปลงจะเป็นการดีที่สุด ต้องทำาให้เกษตรกรเข้าถึงข้อมูลและองค์ความรู้ตางๆ ได้โดย
                                                                                ่
      ง่าย สามารถค้นหาและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ในระดับชุมชน มีการจัดหมวดหมู่ความรู้ เน้นการ
      เชื่อมต่อข้อมูลใน supply chain ภาคเกษตร และต้องจัดทำามาตรฐานข้อมูลการเกษตรแห่งชาติ
      เทคโนโลยีสำาหรับเกษตรกรต้องเข้าถึง last mile ได้ ใช้ IT ลด Information literacy และเพิ่ม
      โอกาสในการเรียนรู้ผ่าน mobile devices ใช้ IT สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ เพิ่มพูนทักษะ
      การจ้างงานในชุมชน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับกลุ่มเกษตรกร




  9. ยุทธศาสตร์งานวิจัยข้าวของประเทศ เนื่องจากข้าวเป็นทั้งพืชอาหารและพืชเศรษฐกิจหลักของ
      ประเทศมีประชากรที่ต้องเกี่ยวข้องในห่วงโซ่การผลิตข้าวมากที่สุดเมื่อเทียบกับพืชเศรษฐกิจ
      อื่นๆ Smart Farm จึงได้หารือร่วมกับ สกว.เพื่อหาแนวทางทำางานร่วมกันและเป็นที่มาของการ
      ตังกลุ่มทำางานยุทธศาสตร์งานวิจัยข้าวของประเทศ( ปี 2554 ) โดย สวก. วช. กรมการข้าว
        ้
      และ Smart Farm Flagship ร่วมกันเพื่อทำาระบบ stock taking งานวิจยข้าวของประเทศบน
                                                                     ั
      supply chain เพื่อวิเคราะห์จุดอ่อนและความจำาเป็นที่จะต้องพัฒนาข้าวไทยให้ตรงกับความ
      ต้องการของผู้บริโภคและสามารถสู้กับตลาดโลกได้อย่างมั่นคง โดยที่หน่วยงานที่ให้ทุน
      สนับสนุนการวิจยพร้อมที่จะให้ทุนเป็นลำาดับต้น ถ้าหากในอนาคตมีนักวิจัยเสนอโครงการใน
                    ั
      ทิศทางที่สอดคล้อง ทั้งนี้เนคเทคได้ใช้เทคโนโลยีระบบฐานข้อมูล Ontology เป็นเครื่องมือใน
      การเชื่อมโยงข้อมูลและทำารายงาน อนึ่งจากผลการทำายุทธศาสตร์และระบบดังกล่าว นำาไปสู่
      การปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมและประกาศใช้เป็นยุทธศาสตร์ขาวของประเทศ โดยมีการลงนาม
                                                            ้
      ในสัตยาบันร่วมกัน 4 หน่วยงาน คือ กรมการข้าว วช. สวก. และ สวทช. เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม


                                             - 23 -
Smart Farm Flagship                                                       มกราคม 2556

     2555




  10.       การร่วมทำายุทธศาสตร์นวัตกรรมบริการด้านการเกษตรร่วมกับ สวก. เพื่อนำาแนวคิด
     ของ Services Science มาปรับใช้ในภาคเกษตร ที่เน้นความพร้อมด้าน Platform as a
     Services, Information as a Services และ Knowledge as a Services โดยเริ่มทำาแผนใน
     วันที่ 4 มกราคม 2556 กับนวัตกรรมบริการการเกษตรของไม้ผล 5 ชนิด ได้แก่ มะม่วง ส้มโอ
     ทุเรียน ลำาไย และมังคุด การร่วมทำายุทธศาสตร์นวัตกรรมบริการด้านการเกษตร กับ สวก. โดย
     ขยายงานจากโครงการนำาร่องนวัตกรรมบริการปุ๋ยสังตัดข้าว ไปสู่ไม้ผล 5 ชนิด โดยเน้นการ
                                                 ่
     สร้าง Platform as a services และ Knowledge as a services ในกรอบเวลา 5 ปี (2013-
     2017) (รายละเอียดในบทที่ 4)




                                        - 24 -
Smart Farm Flagship            มกราคม 2556




                      - 25 -
Smart Farm Flagship                                                          มกราคม 2556




ภาพนี้แสดงถึงแนวทางการสร้าง Services in Agriculture: Policy Guideline and Action Plan
(2013-2017) เพื่อวางฐานรากให้กับนวัตกรรมบริการการเกษตรของประเทศ โดยคาดหวังที่จะมี
เกษตรกรที่เป็น Smart Farmers (เกษตรกรที่สามารถใช้ข้อมูลและสารสนเทศในการบริหารจัดการ
ผลผลิต และคุณภาพ) เพิ่มขึ้น 10% ของแต่ละกลุ่มพืช เพื่อเป็นฐานในการขยายผลให้เกิด critical
mass ต่อไป อย่างไรก็ตามหากปฏิบัติได้ตามแนวทางดังกล่าว เป้าหมายที่ต้องการเห็นคือการมี
คุณภาพชีวิตทีดีขึ้นของเกษตรกรในที่สุด
             ่




                                          - 26 -
Smart Farm Flagship                                                              มกราคม 2556




  11. ผลักดันให้เกิดคณะกรรมการมาตรฐานข้อมูลการเกษตรแห่งชาติ ภายใต้กระทรวงเกษตรและ
     สหกรณ์ ในปี 2552 ทีทำาหน้าที่จัดทำามาตรฐานข้อมูลการเกษตร และรหัสมาตรฐานสินค้า
                        ่
     เกษตร ที่มีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นประธาน และเนคเทคทำาหน้าที่เป็นเลขานุการ
     คณะกรรมการมาตรฐานข้อมูลการเกษตรแห่งชาตินี้ เกิดจากเวทีสัมมนา เทคโนโลยีสารสนเทศ
     และการสื่อสารกับการพัฒนาการเกษตร ในระยะปี 2554-2563 เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2553
     ซึ่งปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับให้ที่ประชุมจัดตังคณะกรรมการดังกล่าว เพื่อดำาเนิน
                                                         ้
     งานจัดทำามาตรฐานข้อมูลสินค้าเกษตรของประเทศและสามารถอ้างอิงกับสากล โดยท่านปลัด
     กระทรวงเกษตรฯจะเป็นประธาน การเกิดคณะกรรมการฯนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากสำาหรับ
     อนาคตการทำาธุรกิจการเกษตรที่ต้องการการอ้างอิงรหัสและมาตรฐานต่างๆ ตลอดจนเป็นการ
     ทำาให้ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลของกระทรวงเกษตรฯมีความเป็นไปได้มากขึ้น ซึงกระทรวง
                                                                           ่
     เกษตรฯได้เริ่มดำาเนินงานเรื่องนี้อย่างเป็นรูปธรรมอีกครั้งหนึ่งในปี 2556 โดยมีสำานักงาน
     รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นผู้รับผิดชอบ

  12. คณะทำางานด้าน Geo spatial engines ซึงเกิดจากเวทีสัมมนา Smart Services เมื่อวันที่ 8
                                          ่
     พฤษภาคม 2553 โดยมีเป้าหมายที่จะทำาระบบกลางสำาหรับการให้บริการข้อมูลเชิงพื้นที่ใน
     ประเทศ หรือ Location based services และคณะกรรมการมาตรฐานข้อมูล Geo spatial
     ที่ทาง สทอภ.ได้ดำาเนินการอยู่ก่อนแล้ว

  13. การร่วมงานในโครงการ TH e-GIF 4 ปี 2553 ที่กลุ่มความร่วมมือด้านคุณภาพมาตรฐานการ
     ผลิตและสินค้า มาร่วมทำา business scenario เรื่อง Traceability โดยใช้ปลานำ้าจืดเป็นกรณี
     ศึกษา นอกจากนี้กลุ่มการผลิตและกลุ่มการจัดการความเสี่ยง ยังช่วยทำา business scenario
     เรื่องเพลี้ยกระโดดสีนำ้าตาล โดยมีนักวิจัยกรมการข้าวเป็นแกนหลักในการให้ข้อมูล

  14. เอกสาร White Paper การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตร ที่บอกความเป็น
     มา ความสำาคัญ ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในระยะต่อไป (เอกสารฉบับนี้)




                                             - 27 -

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt? (13)

Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart2 pisuth
Ag smart2 pisuthAg smart2 pisuth
Ag smart2 pisuth
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
Smart Thai Rice
Smart Thai RiceSmart Thai Rice
Smart Thai Rice
 
Smart farm smart family
Smart farm smart familySmart farm smart family
Smart farm smart family
 
Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Ku01
Ku01Ku01
Ku01
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Modern agriculture
Modern agricultureModern agriculture
Modern agriculture
 

Ähnlich wie 20100905 wp ch3-smart farm

การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดินการประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดินTotorokung
 
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560nok Piyaporn
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5Tonkaow Jb
 
Smart farm white paper chapter 1
Smart farm white paper chapter 1Smart farm white paper chapter 1
Smart farm white paper chapter 1Pisuth paiboonrat
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกันยายน 2559
 	รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกันยายน 2559  	รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกันยายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกันยายน 2559 Ministry of Agriculture and Cooperatives
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2559รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2559Ministry of Agriculture and Cooperatives
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยวราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง
 

Ähnlich wie 20100905 wp ch3-smart farm (20)

Smart Farm
Smart FarmSmart Farm
Smart Farm
 
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดินการประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
 
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
 
20120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-220120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-2
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
E news-january-2018-final
E news-january-2018-finalE news-january-2018-final
E news-january-2018-final
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5
 
Smart farm white paper chapter 1
Smart farm white paper chapter 1Smart farm white paper chapter 1
Smart farm white paper chapter 1
 
1
11
1
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกันยายน 2559
 	รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกันยายน 2559  	รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกันยายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกันยายน 2559
 
สถิติการเกษตร
สถิติการเกษตรสถิติการเกษตร
สถิติการเกษตร
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2559รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2559
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
 

Mehr von Pisuth paiboonrat

Mehr von Pisuth paiboonrat (11)

E agriculture-thailand
E agriculture-thailandE agriculture-thailand
E agriculture-thailand
 
Icdt for community
Icdt for communityIcdt for community
Icdt for community
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Smart farm concept ait
Smart farm concept aitSmart farm concept ait
Smart farm concept ait
 
RSPG social business model
RSPG social business modelRSPG social business model
RSPG social business model
 
Smart farm initiative2
Smart farm initiative2Smart farm initiative2
Smart farm initiative2
 
Fao final2
Fao final2Fao final2
Fao final2
 
E-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiencesE-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiences
 
Sf roiet
Sf roietSf roiet
Sf roiet
 
รู้รับปรับตัวเมื่อ
รู้รับปรับตัวเมื่อรู้รับปรับตัวเมื่อ
รู้รับปรับตัวเมื่อ
 
Ku 56
Ku 56Ku 56
Ku 56
 

20100905 wp ch3-smart farm

  • 1. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 3 Smart Farm Flagship สารสนเทศกับ การเกษตรในประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(เนคเทค) ได้ตระหนักถึงภาระบทบาทที่จะต้อง ตอบสนองต่อความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศทีจำาเป็นต่อการพัฒนาภาคการผลิต การขนส่ง และ ่ การบริการของประเทศ เป็นลำาดับต้น จึงได้นำาเสนอ Flagship 3+1 ประกอบด้วย Smart Health, Smart Farm, Digitized Thailand และ Smart Services ขึ้นเพื่อสนับสนุนต่อทิศทางของนโยบาย และยุทธศาสตร์การบริหารประเทศของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 นโยบายและยุทธศาสตร์งานวิจัย (วช.) ตลอดจนการคาดการณ์แนวโน้มของภาคเกษตรของโลกทาง ด้าน ความมั่นคงและปลอดภัยอาหารในอีก 20 ปีขางหน้า เพื่อให้เทคโนโลยีของเนคเทคมีการปรับตัว ้ ด้านงานวิจัยให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงต่อสภาพแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบจาก Climate change ความต้องการของผู้บริโภค กฏระเบียบระหว่างประเทศที่เป็น Non-tariff barriers และนำา เทคโนโลยีลงสู่ชมชนเกษตรเพื่อร่วมสร้างสังคมเกษตรรุ่นใหม่ที่อยู่ในธุรกิจเกษตรได้อย่างยั่งยืนโดยมี ุ สารสนเทศเป็นหนึ่งในเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Quality of Life) ในช่วงที่ 1 ของการนำา ร่องโครงการ Flagship Smart Farm นี้ ผลลัพท์ที่คาดหวังประกอบด้วย Road map ที่จะนำาไปสู่การ จัดทำา White Paper เชิงนโยบาย เครือข่ายภาคีร่วมทางพร้อมฐานข้อมูลและโครงการนำาร่องเพื่อเรียน รู้และปรับฐานไปสู่การขยายผลในระยะต่อไป ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกอาหารในรูปแบบวัตถุดิบและแปรรูปทีสำาคัญแห่งหนึ่ง ่ ของโลก ทั่วโลกยังมีสถิติผขาดแคลนอาหารอยู่ถึง 1,000 ล้านคน ในปี 2009 ในขณะที่ภาคเกษตร ู้ สร้างงานให้กับประชากรกว่าร้อยละ 53 (2548) โดยมีสัดส่วน GDP อยู่ที่ร้อยละ 8.9 (2551) และ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรชี้ให้เห็นถึงการใช้แรงงานกับผลผลิตที่ได้รับ ซึงมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ่ หลายด้าน เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพลังงาน ค่าจ้างในภาคเกษตร ค่าปัจจัยการผลิตทีสำาคัญสูงขึ้นตาม ่ การพลังงานที่เพิ่มขึ้น เหล่านี้สะท้อนออกมาให้เห็นจากตัวเลขรายได้สุทธิของเกษตรกรต่อรายได้ภาค เกษตรที่ลดลง สวนทางกับรายได้รวมต่อครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น และถึงแม้ว่าสถิติการส่งออกสินค้าเกษตร -1-
  • 2. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 และสินค้าเกษตรแปรรูปของไทยที่สำาคัญ เช่น ข้าว ไก่แปรรูป กุ้ง ทูน่ากระป๋องและทูน่าแปรรูป สัปรด กระป๋องและสัปรดแปรรูป ยังมีการส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก (2551) เกษตรกรส่วนใหญ่ก็ยงอยู่ใน ั สภาพที่ยากจน และเป็นผู้ได้รับส่วนแบ่งจากมูลค่าส่งออกเหล่านี้น้อยที่สดในห่วงโซ่การผลิต ุ เป็นที่ทราบกันดีว่าเกษตรกรต้องแบกรับภาระด้านต้นทุนการผลิตที่สงขึ้นทำาให้ส่วนต่างรายได้ ู ลดลง ในขณะที่สัดส่วนประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 13.48 ภายในปี 2558 อายุเฉลี่ยของ ประชากรในภาคเกษตรอยู่ที่ 40-60 ปี นั่นแสดงถึงปัญหาใหม่ที่ประเทศต้องเผชิญกับแรงงานคุณภาพ ในภาคนี้ และปัจจัยอุบติใหม่เกี่ยวกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศทีมีความชัดเจนและส่ง ั ่ ผลกระทบโดยตรงต่อการผลิตทางการเกษตร โจทย์ปัญหาเหล่านี้คงต้องอาศัยการป้องกันและลดความ รุนแรงในระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว โดยการมีการจัดการที่ชัดเจนในเชิงนโยบายและ ยุทธศาสตร์ทยึดหยุ่น การบูรณาการภาครัฐและชุมชนเกษตรที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม การเร่งรัดเพื่อ ี่ ให้มีโครงสร้างพื้นฐานรองรับภาคเกษตรที่ช่วยลดต้นทุนการผลิตได้ ต่อประเด็นปัญหาเหล่านี้ศูนย์คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ ได้นำาเสนอ Flagship งานวิจยเพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศออกเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย Smart Health, Smart ั Farm, Smart Services และ Digitized Thailand ทังนี้ในส่วนของ Smart Farm เป็นการนำา ้ เทคโนโลยีใหม่ผนวกกับเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับหน่วยงานหลักในการพัฒนาเครื่องมือ อุปกรณ์ และ application สำาหรับสนับสนุนภาคการผลิตในระดับเกษตรกร อุตสาหกรรมเกษตร การแปรรูป การขนส่ง ตลอดจนแนวนโยบายภาครัฐ โดยมองการพัฒนาด้านเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับสภาพความ เป็นจริงในห่วงโซ่การผลิต ให้สอดรับการเพิ่มมาตรฐานด้านความปลอดภัยทางอาหารที่มากับการ แข่งขันทางการค้าทีมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น ่ ทังนี้ Smart Farm flagship จะเป็นการร่วมกันทำางานในลักษณะของ social network ที่ใช้ ้ เทคโนโลยี องค์ความรู้ ที่เนคเทค หน่วยงานร่วมทาง ปราชญ์ชุมชน ผสมผสานความรู้ในการสนับสนุน การแก้โจทย์ดานต้นทุนการผลิต ระบบมาตรฐานคุณภาพ ระบบการลดความเสียงในการผลิต และที่ ้ ่ สำาคัญทีสุดคือการพัฒนาศักยภาพคน เพื่อช่วยกันสร้างสังคมเกษตรใหม่บนฐานความรูและการใช้ ่ ้ เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมในการผลิตที่พอเพียงและกลมกลืนกับสิงแวดล้อม ่ พัน ธกิจ ของ Smart Farm เพื่อ ให้ก ารดำา เนิน งานสอดคล้อ งกับ ยุท ธศาสตร์ก ารเกษตรหลัก ของประเทศ และแผน แม่บ ทการพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คมแห่ง ชาติ เนคเทคได้ก ำา หนดนโยบายทีจ ะสนับ สนุน ่ การขับ เคลื่อ นยุท ธศาสตร์ด ง กล่า ว ด้ว ยการใช้ Smart Farm Flagship เป็น กลไกใน ั การนำา เทคโนโลยีส ารสนเทศไปสู่ก ารพัฒ นาภาคเกษตร เพื่อ ให้เ กิด การเปลี่ย นแปลงด้า น -2-
  • 3. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 แนวคิด และการปฏิบ ัต ิท ี่อ ยู่บ นฐานของเทคโนโลยี นวัต กรรม และการจัด การและการ บริก ารความรู้ ในการนี้ไ ด้แ บ่ง พัน ธกิจ ออกเป็น 5 พัน ธกิจ เพื่อ ตอบโจทย์ก ารปฏิบ ัต ิง าน ภายในและภายนอกองค์ก ร ดัง ต่อ ไปนี้ -3-
  • 4. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 รูปที่ 1 พันธกิจ Smart Farm พัน ธกิจ ที่ 1 ด้า นนโยบาย ได้วางแผนนำาผลงานวิจัยของเนคเทคและหน่วยงานภาคีมาจัดทำา Technology Package สำาหรับเป็นเครื่องมือสนับสนุนห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain) ของสินค้า เกษตรหลัก เพื่อให้สอดคล้องกับแนวนโยบายและยุทธศาสตร์ที่สำาคัญทางการเกษตรของประเทศ ใน การดำาเนิงานมาถึงปัจจุบัน( มกราคม 2556) ประกอบด้วย 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 2. นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยปี 2556-2560 ของ สำานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ ั 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตร ตามแผน 11 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -4-
  • 5. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 รูปที่ 2 การเชื่อมโยงนโยบายและยุทธศาสตร์วิจัย วช. แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเฉพาะการประสานการสนับสนุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศต่อหน่วยงานภายใต้กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ภาคเอกชนที่ประกอบธุรกิจเกษตร ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่มีส่วนร่วมในการ สนับสนุนให้ภาคการเกษตรไทยเติบโตด้วยความมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การ พัฒนาการเกษตรของชาติ 4 ด้าน คือ 1. ยุทธศาสตร์สร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกรและองค์การเกษตรกร(Smart Farmers/Smart Officers) ที่ Smart Farm จะนำาเทคโนโลยีดานการจัดการความรู้ (Knowledge ้ Engineering) และนวัตกรรมบริการการเกษตร (Knowledge as a Services) เป็นเครื่องมือ ช่วยให้มีการรวบรวม จัดการและให้บริการข้อมูลอย่างทั่วถึง 2. ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนาสินค้าเกษตร ที่ Smart Farm สามารถใช้เทคโนโลยีที่พัฒนา โดยเนคเทคช่วยในการจัดการด้าน Supply/Value Chain ของสินค้าเกษตรหลัก ในส่วนของ ต้นนำ้า ถึงปลายนำ้า อันเป็นการทำาใหเกิดมาตรฐานข้อมูล เกิดระบบการเชื่อมและใช้ข้อมูลให้ เกิดประโยชน์ร่วมกัน การลดต้นทุนการผลิต และการทำาให้เกิดพื้นฐานของ Smart Farm หรือ -5-
  • 6. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 Precision Farming ในประเทศในอนาคต 3. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรเกษตร สิ่งที่ Smart Farm เข้าไปสนับสนุน ได้แก่ การทำาหน้าที่เป็น super coordinator ในการประสานกลุ่มนักวิจยทางด้านการเปลี่ยนแปลง ั สภาพอากาศมาทำาการศึกษาเรื่องผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่อการผลิต ทางการเกษตรของประเทศ ตลอดจนการร่วมมือระหว่างเครือข่ายเพื่อศึกษาเรื่อง Phenomics เชิงลึกเพื่อการเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบัน 4. ยุทธศาสตร์ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การนำาระบบมาตรฐานข้อมูลและการ เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายใน เพื่อให้เกิดเอกภาพของข้อมูลในกระทรวงฯที่ใช้เป็น ฐานของการพัฒนาการเกษตรอย่างยังยืน บนทิศทางทีจะเกิดประโยชน์ทั้งผู้ให้และผู้รับ ่ ่ (Value in Context) 4. กรอบยุท ธศาสตร์ข องกลุ่ม อาหารและเกษตร ตามแผนยุท ธศาสตร์ข อง สวทช . นอกจากนี้ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ยังมีแผนร่วมทำางานกับ Cluster อาหารและเกษตรของ สวทช.เพื่อ align แผนงานวิจัยเทคโนโลยีสารสนเทศของเนคเทค เข้ากับกรอบนโยบาย Flagship ของ สวทช. ในส่วนของข้าว มันสำาปะหลัง ยางพารา และกุ้ง ตามเป้าหมาย ดังนี้ -6-
  • 7. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 รูปที่ 3 เป้าหมายของ Cluster อาหารและเกษตร เป้าหมายระดับประเทศของ Cluster อาหารและเกษตร สวทช. 1. ประเทศไทยเป็นครัวของโลก 2. เป็น 1 ใน 5 ของการส่งออกอาหารของโลก ด้าน ประมง ธัญพืช ผักผลไม้ และเนื้อสัตว์ 3. ประเทศไทยเป็นผูนำาในการผลิตและส่งออกยาจากธรรมชาติคุณภาพสูง ติด 1 ใน 5 ของโลก ้ ในส่วนของ Strategic Planning Alliance นั้นด้านแผนงานวิจัยและพัฒนาภาคการเกษตรและ เกษตรอุตสาหกรรมอย่างยังยืน มีโปรแกรมสนับสนุน ประกอบด้วย ่ • Smart material • Sensor and Diagnostic -7-
  • 8. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 • Traceability/food safety, risk management • Mechatronics • Logistics จะเห็นได้ว่าในส่วนของโปรแกรมสนับสนุนนั้น Smart Farm Flagship สามารถ align เข้ากับแผน SPA-2 ได้เป็นอย่างดี ในข้อ 2-5 และจะมีส่วนช่วยให้การทำางานตามแผนของ Cluster อาหารและ เกษตรเป็นไปตามเป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์ โดยเฉพาะโครงการ Smart Thai Rice ที่เนคเทคร่วม ดำาเนินการกับกรมการข้าวนั้น ก็ align กับ Flagship ข้าว ของ Cluster โดยตรง 5. COST Foresight 2030 (EU) แนวทางการพัฒนางานวิจัยของเนคเทคยังสอดรับกับ ยุทธศาสตร์ดาน Food security และ Food safety ใน World Food Program ของ องค์การอาหาร ้ และเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และ COST Foresight 2030 ของสหภาพยุโรป ที่มองถึงการใช้ เทคโนโลยีในการพัฒนาการเกษตรด้านความมั่นคงและความปลอดภัยอาหาร ซึ่งเป็นอีกทิศทางหนึ่ง ของการเตรียมการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถตอบสนองต่อการ ใช้งานในภาคเกษตรได้ไปสู่การปฏิบัตจริง ิ ผลที่ได้จากการที่ Flagship ได้จดสัมมนาและนำาข้อมูลที่ได้นำามาประมวลเป็น ข้อเสนอแนะ ั มุมมอง ทางด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตรของประเทศ โดยยังคงเน้นความ สำาคัญของของการเกษตร 4 ส่วนหลัก คือ การผลิต คุณ ภาพมาตรฐาน การจัด การความเสี่ย ง และการจัด การความรู้ ซึง key drivers ที่ได้จะนำาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อตอบโจทย์ ่ Food Security ของสหภาพยุโรป(COST Foresight 2030) และของโลก ตามข้อเสนอแนะของ FAO (Food and Agriculture Organization) ดังต่อไปนี้ • Food Availability (การผลิตให้ม ีอาหารเพียงพอต่อการบริโภคของประชากร) ที่การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถนำามาใช้เพื่อพัฒนาองค์ประกอบดังต่อไปนี้ ◦ การผลิตทีมีมาตรฐานการผลิตและมีประสิทธิภาพ(Food production), ่ ◦ มีผลผลิตเพียวพอและการกระจายของอาหารอย่างทั่วถึง(Food distribution) และ -8-
  • 9. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ◦ การแลกเปลี่ยนสินค้าอาหารทีผลิตจากภูมิภาคทีแตกต่าง(Food exchange) ่ ่ • Accessibility (การมีอาหารพอเพียงและประชากรสามารถเข้า ถึง แหล่งอาหารได้โดยง่าย) สามารถนำามาใช้เพื่อพัฒนาองค์ประกอบดังต่อไปนี้ ◦ Food affordability: ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลเพื่อหาซื้ออาหารเพื่อการบริโภค ◦ Allocation of food, และ ความสามารถในการระบุ สถานที่ผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่มี ลักษณะเฉพาะประจำาถิ่น ◦ Food preference รสนิยมและความชอบในการบริโภค ทีทำาให้เกิดการเลือกบริโภคและ ่ การผลิตทีตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค ่ • Utilization ทีต้องมองการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ตอบโจทย์ ่ ◦ การให้ความสำาคัญต่อคุณค่าทางอาหารของสินค้าเกษรไทย(Nutrition value of food), ◦ การเน้นเรื่องราวเฉพาะประกอบสินค้าเกษตรจากผู้ผลิต การสร้างเครือข่ายสังคมระหว่างผู้ ผลิตและผู้บริโภค(Social value of food) และ ◦ การเน้นความปลอดภัยในการบริโภคของสินค้าเกษตรไทย(Food Safety) • Stability ความมั่นคงของการผลิตอาหาร และการปรับตัวของภาคการผลิตต่อสภาพภูมิ อากาศที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่เกิดการขาดแคลนอาหาร (Food shortage)ปัญหาของการเกิด Food shortage นั้นมีมาจากหลายสาเหตุจากข้อมูลในบทที่ 3 ยกตัวอย่างเช่น ◦ Global warming หรือผลกระทบจากสภาวะโลกร้อนต่อการผลิตทางการเกษตร ◦ การเติบโตของการพัฒนาพลังงานทดแทน (Biofuel) ที่เกิดจากความต้องการพลังงาน ทดแทนที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบถึงความขาดแคลนหรือการเพิ่มขึ้นของราคาพืชอาหารที่ใช้ เป็นวัตุดิบร่วมกับการผลิตพลังงาน -9-
  • 10. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ◦ ผลกระทบจากการระบาดของโรคและแมลง ◦ ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ ◦ การลดลงของพื้นที่การเกษตรที่เหมาะสม ◦ ปัญหาวิกฤติแรงงานคุณภาพในภาคเกษตร ตาราง matrix ของทิศทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตร ภายใต้ความหมายของ Food Security ของ European Cooperation in the Field of Scientific and Technical Research(COST)ได้วางแผนการใช้ ICT กับการเกษตรภายในปี 2573 ไว้ประกอบด้วย Food Availability - 10 -
  • 11. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 Food Accessibility - 11 -
  • 12. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 Food Utilization จะเห็นได้ว่ากรอบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตรของกลุ่มสหภาพยุโรป เมือมองในด้าน ่ เทคโนโลยีแล้วมีความคล้ายกับงานวิจัยที่ทางเนคเทคดำาเนินการอยู่ และหากสามารถใช้ตาราง matrix นี้มองในมุมของ supply chain management และในมุมองค์ประกอบของ Food Security ของพืชใด - 12 -
  • 13. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 พืชหนึ่งแล้วแล้ว จะสามารถวางแผนการพัฒนาและการใช้งานของเทคโนโลยีได้ชัดเจนและตรงกับ โจทย์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น 6. Mobile Technologies for Food Security, Agriculture and Rural Development ร่วมกับ FAO RAP กรุงเทพฯในการทำา Workshop ระหว่างวันที่ 4-5 เมษายน 2555 ซึงมีผู้แทนหน่วยงานด้านการเกษตรของประเทศสมาชิกของ FAO ในภูมิภาคประมาณ 12 ่ ประเทศ เข้าร่วมในการสัมมนาเพื่อวางกรอบนโยบายดังกล่าว ผลจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สามารถสรุปได้ดงนี้ ั ผลของการสัมมนาจำานวน 2 วัน ของตัวแทนระดับสูงจากกระทรวงเกษตรของประเทศสมาชิก FAO จำานวน 12 ประเทศ ตัวแทนภาคเอกชนทางด้านสารสนเทศการเกษตร และผู้เชียวชาญด้าน ่ Management Agricultural Information System(MAIS) เป็นการเน้นที่จะศึกษารูปแบบความสำาเร็จ จากภาคเอกชนและองค์กร ทางด้าน MAIS ในการให้บริการข้อมูลผ่าน Mobile Technologies และ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน สิ่งที่ได้รับจากการสัมมนา ปรกอบด้วย • Mobile-based Information Delivery ที่เป็นที่เห็นพ้องในการประชุมว่ามีความสำาคัญต่อการ เข้าถึงความรู้และการส่งข่าวสาร ข้อมูล ระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับเกษตรกร ทำาอย่างไรจึงจะ มีนวัตกรรมบริการข้อมูล ความรู้ทางการเกษตรที่ยึดหยุ่น เข้าถึงง่าย และเกิดการยอมรับในวง กว้าง - 13 -
  • 14. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 • Clear policies นโยบายสนับสนุนที่ชัดเจนจากรัฐ เป็นสิ่งสำาคัญและจำาเป็น ที่จะทำาให้ผู้ ประกอบการด้านการพัฒนาโปรแกรม ผู้ที่ประกอบการด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร สนใจที่เข้า ร่วมพัฒนา MAIS อย่างจริงจัง ต้องหาร value proposition ร่วมกัน • Partnership with the private sector ปัจจัยของความสำาเร็จประการหนึ่งคือการใช้ Public- private-partnerships (PPP) model ในการร่วมกันพัฒนา MAIS บน mobile-based ทำา อย่างไรจึงจะเกิด value in context • Trustworthiness/Reliability/Accountability ความเชื่อถือและการยอมรับ ในข้อมูลและความ รู้ที่เกษตรกรได้รับ เป็นสิ่งที่สำาคัญที่จะทำาให้ระบบเกิดการยอมรับและมีการพัฒนาการใช้งาน ต่อเนื่องและยั้งยืน ต้องมีแนวนโยบายกำากับที่ชัดเจน มีรูปแบบการดำาเนินการที่เป็นขั้นตอน มี การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลและการบริการระหว่างกัน • Accountability สรางข้อตกลงร่วมกันในการพัฒนาระบบที่สามารถตอบสนองต่อนโยบายและ กิจกรรมของผู้ร่วมในโครงการ ที่ตรวจวัดได้ • Lessons learnt and good practices ต้องมีการถอดบทเรียนจากกรณีศึกษาที่ประสบความ สำาเร็จในภูมิภาค ไม่ว่าจะใช้เทคโนโลยีใดเป็นเครื่องมือในการจัดการ MAIS • agricultural information services should be platform-independent เพื่อให้เกิดการ บริการที่ทั่วถึง รูปแบบของเทคโนโลยี (SMS, Mobile, TV, Radio) และการจัดการต้องเปิดรับ การใช้ภาษาที่แตกต่าง ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานในแต่ละพื้นที่ และปัจจัยเชิงสิ่ง แวดล้อมอื่นที่จะเข้าถึงกลุ่มคนเป้าหมาย • voice-based advisory services ด้วยประชาการเกษตรส่วนใหญ่มีระดับการศึกษษไม่สง และ ู ในบางส่วนไม่สามารถอ่านหนังสือได้ ดังนั้นการใช้เสียงและเทคโนโลยีการ voice-based จึงมี ความจำาเป็นอย่างยิงสำาหรับคนในกลุ่มนี้ ่ 7. เวที ICT 2020-Stronger Economy ร่า งวิส ัย ทัศ น์ ICT 2020 - 14 -
  • 15. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ICT เป็นฐานรากที่สำาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน [มุ่งสู่การเป็น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำาคัญของ ASEAN] สร้างสรรค์สงคมที่ [ให้โอกาสทุกคนอย่าง] เป็นธรรม ั [และเอื้ออาทร] นำาพาให้คนไทยมีสุข(แท้ด้วยปัญญา) ในเวทีของ ICT 2020: Stronger Economy มีวตถุประสงค์เพื่อ ั • เพื่อกำาหนดทิศทางและยุทธศาสตร์ การพัฒนา ICT ของประเทศในอีก 10 ปีข้างหน้า • เพื่อให้การพัฒนา ICT ของไทย มีทิศทางที่ชัดเจนและมีความต่อเนื่องของกรอบนโยบายใน ภาพรวม • เพื่อกำาหนดแนวทางในการสร้างฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนา ICT ของประเทศ • เพื่อศึกษา วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงด้าน ICT ที่มผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ ี สิ่งแวดล้อม หลักการสำาคัญของกรอบนโยบาย ICT 2020 • ใช้แนวคิดกระแสหลักของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่ต้องคำานึงถึงความยั่งยืนใน 3 มิติ คือ มิติ สังคม มิติเศรษฐกิจ และมิติสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในการกำาหนดเป้าหมายการพัฒนา ICT ใน กรอบนโยบายนี้ จึงได้บูรณาการและพยายามสร้างสมดุลของทัง 3 มิตินี้ไปด้วยกัน นอกจากนี้ ้ ยังให้ความสำาคัญกับการพัฒนาทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ และความเป็นธรรมในสังคมควบคู่ กันไปอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ • ให้ความสำาคัญกับการใช้ประโยชน์จาก ICT ในการลดความเหลื่อมลำ้าและสร้างโอกาสให้กับ ประชาชนในการรับประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน โดยเครื่องมือทางนโยบายที่ให้ ความสำาคัญได้แก่ การศึกษา การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเข้าถึงข้อมูล /สารสนเทศ/ - 15 -
  • 16. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ความรู้/บริการของรัฐ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบบการเมืองการปกครอง รวมทั้งการจัดการทรัพยากร ทังของประเทศและท้องถิ่น ้ • ใช้แนวคิดในการพัฒนาโดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือมุ่งเน้นพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ ก้าวทันต่อโลกยุคปัจจุบัน ความพอเพียงหรือพอประมาณ ความมีเหตุผล และความจำาเป็นที่จะ ต้องมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดีเพื่อรองรับผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและ ภายนอก • ความเชื่อมโยงและต่อเนื่องทางนโยบายและยุทธศาสตร์กับกรอบนโยบายฯ และแผนแม่บทฯ ที่ มีมาก่อนหน้านี้ เพื่อให้เกิดแรงผลักดันอย่างจริงจัง • สมมุติฐานคืองบประมาณของรัฐเพียงอย่างเดียวจะไม่มีเพียงพอที่จะตอบสนองความต้องการ ทั้งหมดได้ เพราะรัฐยังต้องใช้งบประมาณในการลงทุนด้านอื่นและการจัดสวัสดิการสังคม ดัง นั้น ด้าน ICT ควรจะให้เอกชนเข้ามามีบทบาทมากขึ้น โดยรัฐทำาหน้าที่จัดระเบียบ ออกกฎ เกณฑ์กติกา รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน เป้าหมายหลัก • โครงสร้างพื้นฐาน ICT (broadband) กระจายอย่างทั่วถึง ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่าง เท่าเทียมกัน • พัฒนาบุคลากรให้เป็น “smart” ICT user และพัฒนาบุคลากร ICT ที่มีความเชี่ยวชาญ ความ สามารถและทักษะในระดับสากล • เพิ่มบทบาทและความสำาคัญของอุตสาหกรรม ICT (โดยเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์) ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ - 16 -
  • 17. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 • ยกระดับความพร้อมด้าน ICT โดยรวมของประเทศ • ความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐ ICT contribution to green economy and society - 17 -
  • 18. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 - 18 -
  • 19. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 จากกรอบใหญ่ของ ICT 2020, Smart Farm ได้ดำาเนินการร่วมกับคณะทำางาน SRI ทีทำานโยบายดัง ่ กล่าว โดยนำาประเด็นข้อคิดเห็นจากเวทีในส่วนของ Smart Farm เป็นข้อมูลที่จะประกอบอยู่ในเสา Stronger Economy ที่ประกอบด้วย Smart Agriculture และ Smart services เพื่อการนำาแผนยุทธ ศาสตร์ลงส่การปฏิบัติที่ชดเจนมากขึ้น โดยมีโครงการนำาร่องของ Smart Farm เป็นการสร้างโมเดล ั ของการใช้ ICT เพื่อการเกษตรและ Services ทางการเกษตรควบคู่กันไป 8. เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารกับ การพัฒ นาการเกษตร ในระยะปี 2554- 2563 - 19 -
  • 20. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 Is u s se IC f cu To s Ts s ak Po u n r d ctio V e o p e o oig , Pr d civ y alu n lac f r in o u t it IC f rf m an g en (U iq it u s s r T o ar m a em t b u o s en os M d l กา ระบา องศัตรู ช o e ร ดข พื , m s r m t Pr d cio mn oin ea ue en, o u t n o it r g n t ok Far r b t s G s aia e g e ew r , m o oic , eo p t l n in ), ค ะทำา ยุทธศาสตร์ อมูล วิจั า ณ งาน ข้ งาน ยข้ ว s sem yt , IC f rG P, Pr d cio md Pr c io f r in , ข T o A o u t n o el, e is n a m g องประเทศ Emed eds semFa ma t mt n b d y t , r uo aio Sta d r a d V e pep sit n Targ o ban & D t st d d at n D t inegat n IC f r คณ มการมาตรฐาน อมูลการเกษตร n ad n alu r o io , et n r d aa an ar iz io , aa t r io , T o ะกรร ข้ qa u lity m k , Q alit b s dc meit n ar et u y a e o p t io , Ta ea ilit , G , N io al A D a St n ar (ID แ งช , Ge s aia san ar iz t n r c b y LN at n G at a d d ), ห่ าติ o p t l t d d aio , e-C t ic io erif at n T e IF 4 H -G RFIDt f rlo isic &s p lyc ain Se s r f r Ta e ilit กล้ ม้ ปล ลไ ล ag o g t s u p h , n os o r c ab y วยไ านิ หมแ ะ soag c n it n Sen o f rfe n s m s r ข้ วห t r e o d io , s r o r sh es ea ue, า อมมะลิ ทรี อิน ย์ Smr p c ag gf rs o g id t ic io a t a k in o p ila e enif at n R kmn g mn C at variab yan ad pat nf r is a a e e t lim e ilit d a t io o G s at l en in , Pr iciv A aly is eo p ia g es ed t e n s ค ะทำา ณ งานG osp ia e g e e at l n in agic lt r Pr icio md f rp t r u ue, ed t n o el o es, ค ะทำา ด้ กา ดต ล ดกา ณ งาน าน รติ ามแ ะคา รณ์ กา ะบาดข ร ล มล รร องโ คแ ะแ ง KM C -ce io (f r e s piv e s t r o r at n a mr , r at eco, O t lo y M b d ic , Inomt no -d m d Far in Inomt nN w r (A r no g , o ile ev es f r aio n e an , m g f r aio et ok go g v r m t V e ad edlo al c nens So ial n w r , Se anicw b W o e n en), alu d c o t t , c et ok m t e , eb C b Br in y er a ) Far d a in u s semPr d cio soy c n e t it :po u er &c n u e s m at p t y t , o u t n t r , o n civ y r d c s o s mr Sev s r ice E-Se v e : Sin le w d wf ragic lt r e p r, Sin le w d wf ragic lt r lo isic , Far Inom io Ser ic s, Lo aio b ed r ic s g in o o r u ue x ot g in o o r u ue g t s m f r at n v e c t n as s r ic s A r c b bain e-C m er e T &c p o e ad eris g e v e , go y er r , o m c , V ell h n v t in ในช่วงแรกของการดำาเนินงาน Smart Farm Flagship ได้จดสัมมนา Smart Farm Workshop และ ั ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรจัดสัมมนาในหัวข้อ สารสนเทศกับการเกษตร หลายครัง ทำาให้ได้ประเด็น ้ ปัญหาและจากความเห็นของผู้เชียวชาญภาคเกษตรในแง่มุมต่างๆ ที่นำามาสู่การกำาหนดเครื่องมือใน ่ การแก้ไขปัญหา เนคเทคจึงได้จัดการระดมความคิดเห็นต่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับ การพัฒนาการเกษตร ในระยะปี 2554-2563 หรือ IT for Agriculture Foresight ในวันที่ 10 พฤษภาคม และ 9 มิถุนายน 2553 โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ 1. เพื่อเป็นข้อมูลสำาหรับการจัดทำา White Paper เกี่ยวกับแนวทาง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับการพัฒนา ่ การเกษตร ใน 10 ปีขางหน้า (พ.ศ. 2554-2563) ้ 2. เพื่อรวบรวมข้อมูลประกอบการจัดทำา Technology Roadmap ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารสำาหรับภาคการเกษตร ่ ของประเทศ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2554-2556) 3. เพื่อรวบรวมข้อมูลประกอบการจัดทำากรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ประเทศไทย ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ผู้เข้าร่วมเวทีระดมสมองประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทางการเกษตร (คัดเลือกจากกลุ่ม SIG ทางการ เกษตร) และผู้มีประสบการณ์ดานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตร จำานวนประมาณ 40 ท่าน ้ - 20 -
  • 21. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 โดยแบ่งหัวข้อในการระดมความคิดเห็นออกเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) การผลิต 2) คุณภาพ มาตรฐานการผลิตและสินค้า 3) การบริหารจัดการความเสี่ยงทางการเกษตร และ 4) การบริหาร จัดการความรู้ทางการเกษตร ในการระดมความคิดเห็นครั้งนี้ นายยุคล ลิ้มแหลมทอง ดำารงตำาแหน่งปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ณ ขณะนั้น ได้เข้าร่วมเพื่อรับฟังและให้นโยบาย ตลอดจนข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาด้าน การเกษตร ทั้งนี้ ปกษ. ได้มอบหมายให้กลุ่มสัมมนาทำาการยกร่างคณะกรรมการมาตรฐานข้อมูล การเกษตรแห่งชาติ เพื่อให้ ลงนามแต่งตั้งและช่วยผลักดันให้เกิดการปฏิบัติจริงต่อไป ซึ่งต่อมาได้มี การแต่งตังคณะกรรมการมาตรฐานข้อมูลการเกษตรแห่งชาติขึ้น โดยมีเนคเทคทำาหน้าที่เป็นเลขาคณะ ้ กรรมการ มีปลัดกระทรวงเกษตรเป็นประธาน มีการประชุมเป็นทางการ 1 ครังในปี 2553 ้ ประเด็นที่ได้จากการประชุม สรุปประเด็นสำาคัญจากการระดมความคิดเห็นจากผู้เชียวชาญในประเด็นปัญหาภาคเกษตรที่มองตาม ่ กรอบนโยบายของ Smart Farm ดังนี้ การผลิต ทางการเกษตร • ภาครัฐควรสนับสนุนนโยบายที่ชดเจนและต่อเนื่อง อาจใช้กลไกของสภาเกษตรกรที่จะเกิดใน ั อนาคต ซึงเกษตรกรสามารถเข้ามามีส่วนในการกำาหนดนโยบายมากขึ้นได้โดยใช้ IT เป็น ่ เครื่องมือ การวิจัยและพัฒนาเป็นเรื่องสำาคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ในด้าน IT ประเทศไทยควรทุ่มเทในการทำาวิจัยและพัฒนาแบบก้าวกระโดดเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงใน อนาคตไม่ควรไล่ตามพัฒนาเทคโนโลยีของต่างประเทศในปัจจุบันเพราะกว่าประเทศไทยจะ ทำาได้ ก็มีเทคโนโลยีใหม่ๆ เกิดขึ้นอีก อย่างไรก็ตาม การพัฒนา IT ให้กับเกษตรกรใช้ ต้อง เน้นในเรื่องของการใช้งานง่าย สะดวก ควรมีการทำาวิจัยตลาด/ลูกค้าก่อนพัฒนาสินค้า นักวิจัย ต้องเป็น economist และ marketer มุ่งเน้น “user centric” การสื่อข้อมูลหรือการสร้างองค์ ความรู้ให้กับเกษตรกรเป็นเรื่องสำาคัญ ช่องทางการสื่อสารต้องแพร่หลาย สะดวกและใช้งาน ง่าย องค์ความรู้เพื่อการแข่งขันในอนาคตต้องมีพลวัตรที่เหมาะสมกับเวลา/ สถานการณ์ มิ ฉะนั้นอาจล้าสมัยได้ ดังนั้น องค์ความรูต้องผ่านการวิจัยและพัฒนาจึงจะสามารถได้ความรู้ที่ ้ เหมาะกับอนาคต และประเทศไทยอาจต้องหันมาทบทวนเรื่องการทดลองพืช GMOs เพื่อหาก มีการยอมรับจากทั่วโลก ประเทศไทยจะได้ไม่ตกขบวนรถ ในอนาคตจากอิทธิผลของ climate change ที่ทำาให้ฤดูกาลผันแปร กระทบโดยตรงต่อการทำาเกษตรของประเทศไทย เพราะเราอิง ธรรมชาติมากเกินไป การบริหารจัดการนำ้ารวมถึงการใช้นำ้าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเป็นเรื่อง ที่มีความสำาคัญเร่งด่วน นอกจากนี้ประเทศไทยกำาลังเข้าสู่สังคมสูงวัย แรงงานเกษตรมีผู้สูงอายุ - 21 -
  • 22. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 มากขึ้น ต้องเน้นที่การสร้างยุวเกษตรกร ต้องเพิ่มความรูด้าน ICT เกษตรกรรุ่นใหม่ต้องเป็น ้ เจ้าของกิจการได้เอง และเครือข่ายสถาบันการศึกษาต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ คุณ ภาพมาตรฐานการผลิต และสิน ค้า • ในประเด็นนี้ผู้เชียวชาญต่างให้ความสำาคัญกับการสร้างตราสินค้าไทย (brand) และความน่า ่ เชื่อถือ (trust) มากที่สุด โดยใช้มาตรฐานสากลเป็นตัวกำาหนดคุณภาพสินค้า การทำา traceability เป็นสิ่งจำาเป็น นำา IT มาช่วยในการสร้าง story เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและ บริการ การใช้เป็นประโยชน์จาก social network เป็นสื่อโฆษณาอันทรงพลังในการสร้าง Brand และสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า และเมื่อนำา technology มาช่วยในการสืบย้อนกลับก็ ช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับลูกค้าได้ การผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานต้องเริ่มตั้งแต่ กระบวนการผลิต ซึ่งต้องการ Automation system/ robotic (องค์ความรู้ทางการผลิต, ระบบ monitoring/ warning, ระบบควบคุม) เพื่อแก้ปัญหาเรื่องคน และ Automate farming system การจัดการผลผลิต ต้องทำาให้ผลผลิตมีคุณสมบัติสมำ่าเสมอทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ดัง นั้น weather warning system (เช่น การวัดความชื้น อุณหภูมิ) ก็มีความสำาคัญเช่นกัน ใน ส่วนของกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ บทบาทของภาครัฐ 1) ดูแลความปลอดภัยผู้บริโภค require ability to identity problem, route, safety 2) ระบบกลางทีมีข้อมูลตาม value ่ chain 3) ช่วยเหลือ SMEs ให้สามารถทำา traceability ได้ ทังนี้ ข้อมูลเป็นปัจจัยสำาคัญ ต้องมี ้ มาตรฐานและเชื่อมโยงกันได้ ต้องเร่งให้เกิด center of information และต้องมีการเก็บบันทึก ข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย การจัด การความเสี่ย งทางการเกษตร • ผู้เชียวชาญเห็นพ้องกันว่าความเสี่ยงในภาคเกษตรมีหลายประเภท ทังที่ควบคุมได้ เช่น ่ ้ แรงงาน ราคาสินค้า หรือความเสี่ยงทีควบคุมไม่ได้ เช่น ภัยธรรมชาติ และโรคระบาด ซึงการ ่ ่ ติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศไม่เพียงแต่ให้ความสำาคัญกับภาพใหญ่ใน scale ระดับภาค แต่ควรต้องติดตามถึงระดับชุมชน สำาหรับความเสี่ยงด้านแรงงานเนื่องจาก เกษตรกรส่วนใหญ่มีผู้สูงอายุมากขึ้น จะเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงและใช้ IT ของเกษตรกร ทำาให้เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาศักยภาพของแรงงานภาคเกษตรให้เป็นแรงงานทักษะสูง อย่างไรก็ตามต้องเร่งสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ต้องใช้การศึกษาขับเคลื่อนการพัฒนาคน นอกจากนี้ ในปี 2015 เมื่อประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงงาน ราคาถูกจากประเทศเพื่อนบ้านจะไหลบ่าเข้ามาทดแทนแรงงานไทยที่ไหลออกจากภาคเกษตร - 22 -
  • 23. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ขณะเดียวกันประเทศไทยจะพัฒนาเกษตรกร เยาวชน เข้าไปในประชาคมอาเซียนได้อย่างไร การเฝ้าระวังและพัฒนาพันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์พื้นเมืองที่ดของไทยเป็นสิ่งที่ต้องกระทำาอย่างจริงจัง ี และเร่งด่วน การจัด การความรู้ท างการเกษตร • องค์ความรู้ดานเกษตรของไทยมีกระจายอยูในหลายแหล่ง มีต้นแบบมากมายทั้งในปราชญ์ ้ ่ ชาวบ้าน และชุมชนต้นแบบในหลายพื้นที่ องค์ความรู้เหล่านี้เป็น mindset ของชุมชน และ เป็นของคนคนนั้น เมื่อเกษตรกรนำาวิธีของปราชญ์ชาวบ้านไปทำา มักไม่ได้ผลสำาเร็จแบบ เดียวกัน ดังนั้น ต้องมีคนถอดรหัสองค์ความรู้ ตรรก วิธีคดของปราชญ์ชาวบ้าน แปลงเป็น ิ model และต้องแปลความ เพราะเรื่องของประสบการณ์ และความชำานาญ ถ่ายทอดออกมา เป็นตัวอักษรไม่ได้ ต้องหาวิธีการให้เกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนตัวเองให้เท่าทันสิ่งรอบตัวที่ เปลี่ยนแปลงจะเป็นการดีที่สุด ต้องทำาให้เกษตรกรเข้าถึงข้อมูลและองค์ความรู้ตางๆ ได้โดย ่ ง่าย สามารถค้นหาและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ในระดับชุมชน มีการจัดหมวดหมู่ความรู้ เน้นการ เชื่อมต่อข้อมูลใน supply chain ภาคเกษตร และต้องจัดทำามาตรฐานข้อมูลการเกษตรแห่งชาติ เทคโนโลยีสำาหรับเกษตรกรต้องเข้าถึง last mile ได้ ใช้ IT ลด Information literacy และเพิ่ม โอกาสในการเรียนรู้ผ่าน mobile devices ใช้ IT สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ เพิ่มพูนทักษะ การจ้างงานในชุมชน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับกลุ่มเกษตรกร 9. ยุทธศาสตร์งานวิจัยข้าวของประเทศ เนื่องจากข้าวเป็นทั้งพืชอาหารและพืชเศรษฐกิจหลักของ ประเทศมีประชากรที่ต้องเกี่ยวข้องในห่วงโซ่การผลิตข้าวมากที่สุดเมื่อเทียบกับพืชเศรษฐกิจ อื่นๆ Smart Farm จึงได้หารือร่วมกับ สกว.เพื่อหาแนวทางทำางานร่วมกันและเป็นที่มาของการ ตังกลุ่มทำางานยุทธศาสตร์งานวิจัยข้าวของประเทศ( ปี 2554 ) โดย สวก. วช. กรมการข้าว ้ และ Smart Farm Flagship ร่วมกันเพื่อทำาระบบ stock taking งานวิจยข้าวของประเทศบน ั supply chain เพื่อวิเคราะห์จุดอ่อนและความจำาเป็นที่จะต้องพัฒนาข้าวไทยให้ตรงกับความ ต้องการของผู้บริโภคและสามารถสู้กับตลาดโลกได้อย่างมั่นคง โดยที่หน่วยงานที่ให้ทุน สนับสนุนการวิจยพร้อมที่จะให้ทุนเป็นลำาดับต้น ถ้าหากในอนาคตมีนักวิจัยเสนอโครงการใน ั ทิศทางที่สอดคล้อง ทั้งนี้เนคเทคได้ใช้เทคโนโลยีระบบฐานข้อมูล Ontology เป็นเครื่องมือใน การเชื่อมโยงข้อมูลและทำารายงาน อนึ่งจากผลการทำายุทธศาสตร์และระบบดังกล่าว นำาไปสู่ การปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมและประกาศใช้เป็นยุทธศาสตร์ขาวของประเทศ โดยมีการลงนาม ้ ในสัตยาบันร่วมกัน 4 หน่วยงาน คือ กรมการข้าว วช. สวก. และ สวทช. เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม - 23 -
  • 24. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 2555 10. การร่วมทำายุทธศาสตร์นวัตกรรมบริการด้านการเกษตรร่วมกับ สวก. เพื่อนำาแนวคิด ของ Services Science มาปรับใช้ในภาคเกษตร ที่เน้นความพร้อมด้าน Platform as a Services, Information as a Services และ Knowledge as a Services โดยเริ่มทำาแผนใน วันที่ 4 มกราคม 2556 กับนวัตกรรมบริการการเกษตรของไม้ผล 5 ชนิด ได้แก่ มะม่วง ส้มโอ ทุเรียน ลำาไย และมังคุด การร่วมทำายุทธศาสตร์นวัตกรรมบริการด้านการเกษตร กับ สวก. โดย ขยายงานจากโครงการนำาร่องนวัตกรรมบริการปุ๋ยสังตัดข้าว ไปสู่ไม้ผล 5 ชนิด โดยเน้นการ ่ สร้าง Platform as a services และ Knowledge as a services ในกรอบเวลา 5 ปี (2013- 2017) (รายละเอียดในบทที่ 4) - 24 -
  • 25. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 - 25 -
  • 26. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ภาพนี้แสดงถึงแนวทางการสร้าง Services in Agriculture: Policy Guideline and Action Plan (2013-2017) เพื่อวางฐานรากให้กับนวัตกรรมบริการการเกษตรของประเทศ โดยคาดหวังที่จะมี เกษตรกรที่เป็น Smart Farmers (เกษตรกรที่สามารถใช้ข้อมูลและสารสนเทศในการบริหารจัดการ ผลผลิต และคุณภาพ) เพิ่มขึ้น 10% ของแต่ละกลุ่มพืช เพื่อเป็นฐานในการขยายผลให้เกิด critical mass ต่อไป อย่างไรก็ตามหากปฏิบัติได้ตามแนวทางดังกล่าว เป้าหมายที่ต้องการเห็นคือการมี คุณภาพชีวิตทีดีขึ้นของเกษตรกรในที่สุด ่ - 26 -
  • 27. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 11. ผลักดันให้เกิดคณะกรรมการมาตรฐานข้อมูลการเกษตรแห่งชาติ ภายใต้กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ในปี 2552 ทีทำาหน้าที่จัดทำามาตรฐานข้อมูลการเกษตร และรหัสมาตรฐานสินค้า ่ เกษตร ที่มีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นประธาน และเนคเทคทำาหน้าที่เป็นเลขานุการ คณะกรรมการมาตรฐานข้อมูลการเกษตรแห่งชาตินี้ เกิดจากเวทีสัมมนา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารกับการพัฒนาการเกษตร ในระยะปี 2554-2563 เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2553 ซึ่งปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับให้ที่ประชุมจัดตังคณะกรรมการดังกล่าว เพื่อดำาเนิน ้ งานจัดทำามาตรฐานข้อมูลสินค้าเกษตรของประเทศและสามารถอ้างอิงกับสากล โดยท่านปลัด กระทรวงเกษตรฯจะเป็นประธาน การเกิดคณะกรรมการฯนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากสำาหรับ อนาคตการทำาธุรกิจการเกษตรที่ต้องการการอ้างอิงรหัสและมาตรฐานต่างๆ ตลอดจนเป็นการ ทำาให้ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลของกระทรวงเกษตรฯมีความเป็นไปได้มากขึ้น ซึงกระทรวง ่ เกษตรฯได้เริ่มดำาเนินงานเรื่องนี้อย่างเป็นรูปธรรมอีกครั้งหนึ่งในปี 2556 โดยมีสำานักงาน รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นผู้รับผิดชอบ 12. คณะทำางานด้าน Geo spatial engines ซึงเกิดจากเวทีสัมมนา Smart Services เมื่อวันที่ 8 ่ พฤษภาคม 2553 โดยมีเป้าหมายที่จะทำาระบบกลางสำาหรับการให้บริการข้อมูลเชิงพื้นที่ใน ประเทศ หรือ Location based services และคณะกรรมการมาตรฐานข้อมูล Geo spatial ที่ทาง สทอภ.ได้ดำาเนินการอยู่ก่อนแล้ว 13. การร่วมงานในโครงการ TH e-GIF 4 ปี 2553 ที่กลุ่มความร่วมมือด้านคุณภาพมาตรฐานการ ผลิตและสินค้า มาร่วมทำา business scenario เรื่อง Traceability โดยใช้ปลานำ้าจืดเป็นกรณี ศึกษา นอกจากนี้กลุ่มการผลิตและกลุ่มการจัดการความเสี่ยง ยังช่วยทำา business scenario เรื่องเพลี้ยกระโดดสีนำ้าตาล โดยมีนักวิจัยกรมการข้าวเป็นแกนหลักในการให้ข้อมูล 14. เอกสาร White Paper การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเกษตร ที่บอกความเป็น มา ความสำาคัญ ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในระยะต่อไป (เอกสารฉบับนี้) - 27 -