SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 1
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
2. ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
ส่วนประกอบหลักของกล้องถ่ายภาพ
กล้องถ่ายรูปในปัจจุบัน แม้จะมีความสามารถและคุณลักษณะแตกต่างกันบ้าง แต่ส่วนใหญ่
จะมีส่วนประกอบที่สาคัญหลัก ๆ คล้ายคลึงกัน คือ
1) ตัวกล้อง (Camera Body)
2) เลนส์ (Lens)
3) รูรับแสง (Aperture)
4) ช่องมองภาพ (View Finder)
5) ชัตเตอร์ (Shutter)
1. ตัวกล้อง (Camera Body)
ตัวกล้องทาหน้าที่เป็นห้องมืด ป้องกันแสงภายนอกเข้าไปถูกฟิล์มที่บรรจุอยู่ภายในและเป็น
ที่ยึดส่วนประกอบ ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ช่วยในการถ่ายรูป ภายในกล้องจะฉาบเอาไว้ด้วยสีดา
เพื่อป้องกันการสะท้อนของแสง
ตัวกล้องถ่ายภาพ Canon รุ่น 60D
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 2
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
2. เลนส์ (Lens)
เลนส์ทาหน้าที่รับแสงสะท้อนจากวัตถุส่งไปยังฟิล์ม (หรือตัวเซนเซอร์รับภาพ) ที่บรรจุอยู่ใน
ตัวกล้อง ตัวเซนเซอร์รับภาพจะบันทึกภาพเอาไว้ หรือกล้องบางชนิดสามารถถอดเปลี่ยนเลนส์ได้ตาม
ความต้องการ เช่น กล้องประเภท SLR (Single lens Reflex) หรือเรียกว่ากล้องสะท้อนเลนส์เดี่ยว
เลนส์จะผนึกอยู่ข้างหน้าตัวกล้อง ซึ่งมีขนาดความยาวโฟกัสแตกต่างกัน เช่น 50 มม . 35 มม . 105
มม . เป็นต้น
เลนส์มาตรฐาน (Standard Lens) เป็นเลนส์ที่มีความยาวโฟกัส 50 มม.เป็นเลนส์ที่
เหมาะสาหรับการถ่ายภาพทั่วไป เนื่องจากเมื่อเรามองผ่านเลนส์จะมองเห็นภาพของวัตถุมีขนาดคงที่
ไม่เล็กไม่ใหญ่ไปจากการมองวัตถุนั้นด้วยตาเปล่า ภาพที่ได้เหมือนกับที่ตาคนมองดูทั่วไป
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 3
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
เลนส์มุมกว้าง ( Wide angle lens) เป็นเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสสั้นกว่าเลนส์ธรรมดา
จึงทาให้มุมของการถ่ายภาพได้กว้างกว่าเลนส์ธรรมดาถ่ายมาก มีความชัดมากสิ่งที่อยู่ใกล้จะเห็นว่าโต
และไม่ได้กับส่วนที่อยู่ไกล ใช้ถ่ายในสถานที่อันจากัดไม่สามารถตั้งกล้องให้ห่างจากวัตถุที่ถ่ายได้มาก
เช่น การถ่ายภาพสิ่งก่อสร้างสูงๆหรือยาวมาก ๆ ซึ่งต้องการถ่ายอยู่ในภาพทั้งหมด เบื้องหลังของผู้
ถ่ายมีสิ่งกีดขวางไม่สามารถถอยไปได้อีก เช่น ติดกาแพง แม่น้า ในกรณีนี้จาเป็นต้องใช้เลนส์ขนาด
ความยาวโฟกัส 16 มม. 18 มม. , 24 มม. , 35 มม.
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 4
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
เลนส์ถ่ายไกล (Telephoto Lens) เป็นเลนส์เหมือนกล้องส่องทางไกล เป็นเลนส์ที่มี
ความยาวของโฟกัสยาวกว่าเลนส์ธรรมดามาก ทาให้มุมการถ่ายภาพแคบลงคือ ทาหน้าที่ขยายภาพที่
อยู่ไกลให้โตขึ้น เสมือนหนึ่งที่ไปตั้งอยู่ใกล้ ๆ กับวัตถุที่ถ่าย สะดวกในการถ่ายภาพสิ่งที่อยู่ไกล ซึ่ง
ขณะนั้นผู้ถ่ายไม่สามารเข้าไปตั้งกล่องในระยะใกล้ ๆ กับวัตถุนั้นได้ เช่น การถ่ายภาพสงคราม การ
แข่งกีฬา การถ่ายภาพสัตว์น้า เช่น เลนส์ที่ขนาดความยาวโฟกัส 135 มม. , 500 มม. , 1000 มม.
เลนส์ซูม ( Zoom lens ) เป็นเลนส์ที่มีหลายชนิดรวมอยู่ในตัวเดียว เลนส์มีราคา
ค่อนข้างสูง นิยมใช้มากในปัจจุบัน ทั้งในการถ่ายภาพนิ่งและถ่ายภาพยนตร์ตลอดจนกล้องโทรทัศน์
เลนส์ทาหน้าที่เสมือนเป็นเลนส์ไกลและเลนส์ธรรมดาและเลนส์มุมกล้องอยู่ในตัว เดียวสามารถ
เลือกใช้ระยะโฟกัสเท่าใดก็ได้ตามที่เลนส์นั้นบอกไว้ ซึ่งเลนส์ทั่วไปไม่สามารถทาได้ เป็นเลนส์ที่ขนาด
ความยาวโฟกัส 70 -250 มม. , 85 - 300 มม. , 800 - 1200 มม.
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 5
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
เลนส์ตาปลา ( Fish eye lens) เป็นเลนส์ที่มีลักษณะคล้ายตาปลา มีมุมในการถ่ายภาพ
ได้กว้างกว่าเลนส์ทุกชนิด คือ กว้างถึง 180 องศา เพื่อให้เกิดภาพนั้นผิดแผกแตกต่างไปจากภาพถ่าย
ธรรมดา และต้องการให้ภาพสะดุดตาแก่ผู้ชมภาพ มุมของการถ่ายภาพจะกว้างกว่าธรรมดาประมาณ
3-4 เท่า สิ่งที่ต้องระมัดระวังในการถ่ายภาพชนิดนี้ คือเท้าของผู้ถ่ายจะติดอยู่ในภาพ ถ้าผู้ถ้ายืนใน
รัศมีของภาพนั้น วัตถุถ่ายด้านข้างในภาพจะดูใหญ่โตน่าเกรงขาม เลนส์ชนิดนี้จะให้ช่วงความชัดลึก
มาก ไม่มีเลนส์ชนิดใดทาได้ แม้ตั้งระยะถ่ายไกลสุดก็ตาม เช่น เลนส์ที่ขนาดความยาวโฟกัส 6 มม. , 8
มม.
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 6
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
เลนส์แมคโคร ( Macro Lens) คล้ายกับเลนส์ทั่วไป แต่ไม่สามารถใช้ถ่ายภาพระยะใกล้
มาก ๆ เป็นเลนส์ที่สามารถถ่ายภาพ โดยกล้องสามารถเข้าใกล้วัตถุได้เกินครึ่งฟุตได้ และสามารถปรับ
ระยะชัดได้ เลนส์แมคโครผลิตขึ้นเพื่อใช้กับกล้องขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ปัจจุบันมักทาออกมาเป็น
แบบของซูมเลนส์ เป็นเลนส์ที่ขนาดความยาวโฟกัส 55 มม. ขยายภาพได้ 1:2 เท่า
อ่านเพิ่มเติม : ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
http://www.zmos.net/howto/basic-photography/145-angle-of-view-and-focal-length-
of-lens
3. รูรับแสง (Aperture)
ในการถ่ายภาพทุกภาพ จะต้องควบคุมระยะเวลาในการรับแสงของฟิล์มหรืออิมเมจ
เซ็นเซอร์ เหมือนกับการเปิดน้าใส่ถัง โดยกลไกที่ใช้ควบคุมระยะเวลาก็คือ รูรับแสง (Aperture) กับ
ชัตเตอร์ (Shutter) นั่นเอง
รูรับแสง (Aperture) เป็นชิ้นส่วนที่อยู่ภายในเลนส์ ของกล้อง โดยรูรับแสงสามารถปรับให้
เปิดกว้างหรือเล็กลง ซึ่งจะมีผลทาให้แสงผ่านเข้ามาในเลนส์ได้มาก หรือน้อยตามไปด้วย
การปรับรูรับแสงนั้นทาได้จากปุ่มบนตัวกล้อง โดยเลือกโหมดการทางานของกล้องเป็น
โหมด Av หรือ M จากนั้น ก็ปรับปุ่มรูรับแสง บนตัวกล้อง ขนาดของรูรับแสงที่ปรับได้นั้นจะขึ้นอยู่กับ
เลนส์ โดยเลนส์แต่ละตัวจะมีค่ารูรับแสงกว้างสุดกับแคบสุด
รูรับแสง (Aperture)
http://www.fotodv.net/foto/basic/html/Aperture.html
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 7
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
การทาความเข้าใจในเรื่องนี้ มีอยู่ 3 เรื่องที่เกี่ยวพันกันอยู่ ได้แก่ รูรับแสง (Aperture)
แผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm) เอฟสตอป (F-Stop) หรือ เอฟนัมเบอร์ (F-Number)
รูรับแสง (Aperture) หมายถึง ช่องรับแสงของแผ่นไดอะแฟรมที่อยู่ภายในกระบอกเลนส์
เพื่อควบคุมปริมาณแสงให้มีปริมาณแสงมากน้อยตามต้องการ จะสามารถหรี่ให้เล็กหรือขยายให้ใหญ่
เพื่อเป็นการควบคุมปริมาณแสงสว่างที่ส่องผ่านมาจากเลนส์แล้วส่งต่อไปถึงฟิล์ม ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน
ระหว่างแผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm) รูรับแสง (Aperture) และเอฟสตอป (F-Stop)
ภายในกระบอกเลนส์จะมีม่าน(Diaphragm) ทาด้วยแผ่นโลหะบาง ๆ จัดเป็นชุดเรียงซ้อนประกอบกัน
เพื่อให้เกิดเป็นช่องว่างตรงศูนย์กลาง ม่านเลนส์หรือช่องว่างนี้ ม่านเลนส์ที่หรี่รูเล็กแสงจะผ่านได้น้อย
ถ้าขยายตัวให้เป็นรูขนาดใหญ่ปริมาณของแสงก็จะผ่านได้มาก การที่ม่านเลนส์หรี่หรือขยาย ตัวให้เกิด
เป็นรูหรือช่องขนาดต่าง ๆ นั้น เรียกว่า ขนาดรูรับแสง (Aperture)
แผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm) เป็นกลไกอย่างหนึ่งอยู่ในกระบอกเลนส์ มีลักษณะเป็น
แผ่นโลหะสีดาบางๆ หลายแผ่นเรียงซ้อนกันเป็นกลีบ มีช่องตรงกลางสามารถปรับขนาดให้กว้าง หรือ
แคบได้เรียกว่า รูรับแสง (Aperture) เพื่อควบคุมปริมาณแสงที่ส่งผ่านเลนส์ ไปยังฟิล์มหรือเซนเซอร์
รับภาพ (Image Sensor) ได้มากน้อยตามความต้องการ การปรับขนาดรูรับแสงใช้การปรับที่วงแหวน
รูรับแสงบนกระบอกเลนส์
ลักษณะแผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm)
(http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number)
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 8
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
ตาแน่งที่ตั้งของแผ่นไดอะแฟรม
ขนาดรูรับแสง (Aperture) เป็นรูเปิดของแผ่นไดอะแฟรมให้มีขนาดต่าง ๆ ตามต้องการ
เช่น เมื่อต้องการให้แสงเข้ามากก็เปิดรูรับแสงให้มีขนาดใหญ่ และทางตรงกันข้าม ถ้าต้องการปริมาณ
แสงเข้าไปถูกฟิล์มน้อยก็เปิดรูให้เล็กลง ขนาดของรูรับแสงแตกต่างกันนี้ รูรับแสงแต่ละขนาดจะมี
ตัวเลขกาหนดเอาไว้ ทุกขนาด เพื่อจะได้ใช้เป็นที่สังเกตได้สะดวกซึ่งตัวเลขนี้จะเป็นวงแหวน ติดอยู่ที่
ตัวเลนส์เรียกตัวเลขต่าง ๆ ว่า เอฟสตอป (F-Stop) หรือ เอฟนัมเบอร์ (F-Number)
ขนาดรูรับแสง f-2 และ f 1.2
http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 9
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
ขนาดรูรับแสง (Aperture)
(http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number)
ในเลนส์แต่ละตัวจะมีค่ารูรับแสงกว้างสุดและแคบสุดไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการ
ออกแบบ เลนส์ที่มีขนาดรูรับแสงกว้างมากจะมีราคาสูงกว่า เมื่อเทียบกับเลนส์ที่มีขนาดทางยาวโฟกัส
เท่ากันแต่ค่ารูรับแสงกว้างสุด แคบกว่า เนื่องจากเลนส์ที่มีค่ารูรับแสงกว้างมากจาเป็นต้องใช้ชิ้นเลนส์
ที่มีขนาด ใหญ่ขึ้น เพื่อการรวมแสงที่ดี ต้องได้รับการออกแบบเป็นพิเศษและแน่นอนขนาดและ
น้าหนักก็จะมากตามไปด้วย
ขนาดรูรับแสงที่กว้างกว่าหมายถึงโอกาสที่จะได้ภาพนั้นมีมากขึ้นด้วย เมื่อจาเป็นต้อง
ถ่ายภาพในสภาวะแสงน้อยเลนส์ที่สามารถเปิดรับแสงได้มากกว่า ย่อมมีโอกาสได้ภาพมากกว่า
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 10
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
การใช้งานและประโยชน์จากการปรับตั้งค่ารูรับแสง
ค่าเอฟสตอป หรือ ขนาดรูรับแสง คือค่าการเปิดรับแสงของเลนส์ โดยใช้กลีบม่านหรือ
ไดอะแฟรมที่อยู่ภายในกระบอกเลนส์เป็นตัวควบคุม ในยุคแรกๆของกล้องถ่ายภาพ ค่ารูรับแสงจะ
แบ่งเป็นขั้นละหนึ่งสตอป การควบคุมขนาดรูรับแสงทาได้ด้วยการหมุนวงแหวนปรับรูรับแสงที่ตัว
เลนส์โดยตรง เนื่องจากเลนส์ยุคก่อนเป็นระบบกลไกล้วน
การปรับขนาดรูรับแสง สาหรับเลนส์ของกล้องฟิล์ม จะมีวงแหวนปรับขนาดรูรับแสง ที่
แสดงค่าเอฟสตอป (F-Stop) ที่กระบอกเลนส์ และมีสัญลักษณ์บอกขอบเขตระยะชัดตามขนาดรูรับ
แสงไว้ด้วย
วงแหวนปรับขนาดรูรับแสงในกล้องที่ใช้ฟิล์ม (SLR)
ต่อมาได้มีการพัฒนาเลนส์สาหรับกล้องดิจิตอล โดยใช้ระบบอิเลคทรอนิคส์เป็นตัวควบคุม
และสั่งการได้โดยหมุนวงล้อปรับขนาดรูรับแสงที่ตัวกล้อง เราจึงไม่เห็นวงแหวนปรับรูรับแสงในเลนส์
รุ่นใหม่ๆ ที่ผลิตออกมา การเปลี่ยนแปลงนี้ทาให้เราสามารถปรับขนาดรูรับแสงได้อย่างละเอียดขึ้น
โดยแบ่งเป็นขั้นละ 1/3 สตอป หรือ 1/2 สตอป ต่างจากเลนส์แมคคานิค ที่เป็นกลไกล้วนโดยมากจะ
ปรับได้ขั้นละ 1 หรือ 1/2 สตอป
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 11
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
วงล้อปรับขนาดรูรับแสง
http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number
ตัวอย่างค่ารูรับแสงที่แบ่งเป็นขั้นละ 1 สตอป จะมีดังนี้ f1 / f1.4 / f2 / f2.8 / f4 / f5.6 /
f8 / f11 / f16 / f22 / f32 / f45 / f64
ตัวเลข แสดงค่ารูรับแสงจะให้ผลตรงกันข้ามกับปริมาณการเปิดรับแสงของเลนส์ เช่น ค่ารู
รับแสง f2 จะให้ปริมาณแสงมากกว่าขนาดรูรับแสง f2.8 อยู่ 1 สตอป มากกว่า f4 อยู่ 2 สตอป
หมายความว่ายิ่งเลือกใช้ค่ารูรับแสงมากขึ้น ม่านไดอะแฟรมในตัวเลนส์ก็จะยิ่งหรี่เล็กลง แสงจะผ่าน
ไปยังเซนเซอร์ได้น้อย เพื่อไม่ให้สับสนควรจาให้ได้ว่า ค่าตัวเลขน้อยขนาดรูรับแสงกว้าง ค่าตัวเลข
มากขนาดรูรับแสงแคบ
อย่างไรก็ตาม ยังมีเลนส์บางรุ่นของกล้องดิจิตอล ที่ยังคงมีวงแหวนปรับขนาดรูรับแสง ดัง
ภาพ
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 12
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
วงแหวนปรับขนาดรูรับแสงในกล้องดิจิตอล (DSL:R) บางรุ่น
http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number
ตารางแสดงค่ารูรับแสง
STANDARD FULL STOP F-NUMBER SCALE (ขนาดรูรับแสงมาตรฐาน ขั้นละ 1 สตอป)
f -stop 0.5 0.7 1.0 1.4 2 2.8 4 5.6 8 11 16 22 32 45 64 90 128
ONE-HALF-STOP F-NUMBER SCALE (ขนาดรูรับแสงขั้นละ ½ สตอป)
f-stop 1.0 1.2 1.4 1.7 2 2.4 2.8 3.3 4 4.8 5.6 6.7 8 9.5 11 13 16 19 22
ONE-THIRD-STOP F-NUMBER SCALE (ขนาดรูรับแสงขั้นละ 1/3 สตอป)
f-stop 1.0 1.1 1.2 1.4 1.6 1.8 2 2.2 2.5 2.8 3.3 3.5 4 4.5 5 5.6 6.3 7.1 8 9 10 11
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 13
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
ศึกษาเพิ่มเติม
รูรับแสง (F stop number)
http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number
ทำควำมเข้ำใจกับค่ำรูรับแสงและภำพชัดตื้น
http://www.photonovice.com/forum/index.php?topic=15.0
สื่อประกอบ : Video Clip Tip ถ่ายรูป1 ดีไซน์ภาพด้วยรูปรับแสง – YouTube
3. ช่องมองภาพ (View Finder)
ช่องมองภาพและ LCD Monitor
ช่องมองภาพ (View Fider) จะอยู่ด้านหลังของตัวกล้องเป็นจอมองภาพ เพื่อช่วยในการ
ปรับความคมชัด วัดแสง และจัดองค์ประกอบของภาพให้มีความสวยงามตามหลักของศิลปะการ
ถ่ายรูป ปัจจุบันกล้องถ่ายภาพดิจิตอล จะมีจอ LCD Monitor ทาหน้าที่เหมือนช่องมองภาพ และยัง
ใช้แสดงการตั้งค่าต่าง ๆ
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 14
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
ระบบการทางานของช่องมองภาพ
(http://www.sporcle.com/games/Mahmoud/dslr_cam)
เมื่อส่องกล้องไปยังที่สิ่งที่ต้องการถ่ายภาพ ภาพจะผ่านเลนส์ไปยังกระจกสะท้อนภาพที่
วางเอียง 45 องศา เพื่อสะท้อนไปมาภายในหัวกล้อง แล้วส่งไปยังช่องมองภาพ ช่างภาพจะมองเห็น
ภาพ เพื่อจัดองค์ประกอบ
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 15
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
4. ชัตเตอร์ (Shutter)
ทาหน้าที่เป็นตัวกาหนดระยะเวลาของการรับแสงในกล้อง ควบคุมเวลาฉายแสง
(Exposure Time) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ความไวของชัตเตอร์ (Shutter Speed)
ชัตเตอร์หรือความเร็วชัตเตอร์ (Shutter speed) เป็นกลไกอัตโนมัติที่ใช้สาหรับควบคุม
เวลาในการเปิดและปิด ให้แสงจะผ่านเข้าไปทาปฏิกิริยากับวัสดุไวแสงที่ใช้สาหรับบันทึกภาพตามเวลา
ที่กาหนด ความเร็วในการเปิดและปิดชัตเตอร์คือเวลาที่ฉายแสง (Exposure time) นั่นเอง ซึ่งคิดเป็น
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 16
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
เศษส่วนของวินาทีดังนี้ 1/1 , 1/2 , 1/4 , 1/8 , 1/15 , 1/30 , 1/60 , 1/125, 1/250 ,1/500 ,
1/1000 , 1/2000
แต่ตัวเลขที่ปรากฏในวงแหวนที่ขอบนอกของเลนส์ จะบอกค่าความเร็วของชัตเตอร์ไว้
เฉพาะตัวเลขที่เป็นส่วนคือ 1 , 2 , 4 , 8 , 15 , 30 , 60 , 125 , 250 , 500 , 1000 , 2000 ตัวเลขที่
มีค่าน้อยม่านชัตเตอร์จะเปิดเป็นเวลานานเพื่อปล่อยให้แสงจะเข้าไปในกล้องได้มาก ส่วนตัวเลขที่มีค่า
มากชัตเตอร์จะเปิดแล้วปิดเร็ว แสงจะเข้าไปในกล้องได้น้อย เช่น
- ถ้าตั้งความเร็วชัตเตอร์ที่ 1 แสงจะเข้าไปในทาปฏิกิริยากับฟิล์มนาน 1 วินาที
- ถ้าตั้งความเร็วชัตเตอร์ที่ 250 ชัตเตอร์จะเปิดให้แสงผ่านเป็นเวลา1/250 วินาที
หรือ 1 วินาทีแบ่งเป็น 250 ส่วนและม่านชัตเตอร์จะเปิดรับแสงให้ผ่านไปได้เพียง
1 ส่วนจาก 250 ส่วน ซึ่งชัตเตอร์จะเปิดและปิดเร็วมาก
การตั้งความเร็วชัตเตอร์ จะต้องตั้งให้พอดีกับตัวเลขที่กาหนดความเร็วชัตเตอร์ การเพิ่ม
หรือลดความเร็วชัตเตอร์ ของตัวเลขที่อยู่ใกล้กันจะมีผลต่อการเพิ่มหรือลดความเร็วของขัตเตอร์เป็น
2 เท่าของกันและกัน เช่น จากความ เร็วชัตเตอร์ 1/30 เป็น 1/15 ก็จะช้าลงเป็น 2 เท่าตัว
ในขณะที่ยังไม่มีการบันทึกภาพม่านชัตเตอร์จะปิด แสงไม่สามารถผ่านเข้าไปที่ตัวรับภาพ
ได้ แต่ทันทีที่เรากดชัตเตอร์เพื่อบันทึกภาพ ม่านชัตเตอร์จะเปิดเป็นระยะเวลาสั้นหรือยาวนาน
เพียงใดขึ้นอยู่กับการเลือกตั้งค่าความเร็วซัตเตอร์ของช่างภาพหรือโปรแกรมการบันทึกภาพของกล้อง
ที่จะสั่งงาน
กล้องดิจิตอลในรุ่นสาหรับผู้บริโภคทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้ electronic shutter ซึ่ง
หมายถึง การควบคุมการรับแสงจากแผงชิพอีเล็คทรอนิคของตัวรับภาพ
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 17
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
ระบบการทางานของการมองภาพและการบันทึกภาพ
1. เมื่อส่องกล้องไปยังที่สิ่งที่ต้องการถ่ายภาพ ภาพจะผ่านเลนส์ไปยังกระจกสะท้อนภาพที่
วางเอียง 45 องศา เพื่อสะท้อนไปมาภายในหัวกล้อง แล้วส่งไปยังช่องมองภาพ ช่างภาพจะมองเห็น
ภาพ เพื่อจัดองค์ประกอบ
2. กดปุ่มซัตเตอร์ครึ่งหนึ่ง เพื่อปรับความคมชัดและวัดแสง
3. เมื่อปุ่มซัตเตอร์อีกครึ่งหนึ่ง เพื่อบันทึกภาพ กระจกสะท้อนจะยกตัวขึ้น เพื่อให้แสงผ่าน
ไปยังตัวรับภาพ (Image Sensor) ในระยะเวลาหนึ่งตามที่ตั้งค่าความเร็วซัตเตอร์ไว้
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 18
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
5. แผ่นกระจกจะปิดลงมาตาแหน่งเดิม เมื่อครบเวลาทางานของซัตเตอร์ปิดลง ภาพจะถูก
บันทึกลงในตัวรับภาพ (Image Senser)
อ่านเพิ่มเติม
http://www.zmos.net/howto/87/142-speed-shutter
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 19
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
ส่วนประกอบอื่นๆ ของกล้องถ่ายภาพ
นอกจากส่วนประกอบที่สาคัญ ๆ ของกล้องถ่ายรูปดังกล่าวแล้ว ผู้ใช้ควรจะศึกษาปุ่มปรับ
และควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่บนกล้องถ่ายรูป กล้องทั่ว ๆ ไปจะมีปุ่มควบคุมดังนี้คือ (ในที่นี้จะยกตัวอย่าง
เป็นกล้อง Nikon D7000)
ส่วนประกอบและปุ่มควบคุม กล้อง Nikon D7000
(http://imaging.nikon.com/lineup/dslr/d7000/compatibility03.htm)
หมายเลข ชื่อปุ่ม ลักษณะการใช้งาน
1 Exposure compensation
button/Two-button reset
button
ปุ่มกด +/- ชดเชยแสงถ่ายภาพ
(กดร่วมกับปุ่ม AF เพื่อรีเซ็ทคาสั่งภายในกล้อง)
2 Shutter-release button ปุ่มซัตเตอร์ ปุ่มกดลั่นเปิดม่านชัตเตอร์
3 Power switch สวิทช์ปิด-เปิด และเปิดไฟส่องสว่างจอ LCD
4 Sub-command dial แป้นหมุนควบคุมการทางานรอง
5 Fn button ปุ่มกดเรียกคาสั่งใช้งานอเนกประสงค์ FUNC.
6 Depth-of-field preview button ปุ่มกดเช็คช่วงระยะชัดลึก
7 Eyelet for camera strap หูร้อยสายสะพายกล้อง
8 Focal plane mark
9 Metering button/Format button ปุ่มกดเลือกระบบวัดแสง และ ฟอร์แมทการ์ด
ความจา
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 20
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
หมายเลข ชื่อปุ่ม ลักษณะการใช้งาน
10 Control panel จอ LCD แสดงคาสั่ง
11 AF-assist illuminator/Selftimer
lamp/Red-eye reduction lamp
ไฟส่องช่วยระบบหาโฟกัส และ ช่วยลดตาแดง และ
เลือกลักษณะการถ่ายภาพด้วยแฟลช และแสดงนับ
เวลาถอยหลัง
12 Built-in flash แฟลชภายในกล้อง
13 Accessory shoe (for optional
flash unit)
ขั้วไฟฟ้าต่อเชื่อมกับแฟลชภายนอก
14 Mode dial แป้นหมุนโหมดระบบการถ่ายภาพอัตโนมัติ P, S,
A, M และระบบโปรแกรมดิจิตอลช่วยถ่ายภาพ
อัตโนมัติ
15 Release mode dial แหวนปรับอัตราความเร็วการถ่ายภาพ
หรือ ตั้งเวลาถ่ายภาพ
16 Eyelet for camera strap
17 Flash mode button/Flash
compensation button
่ปุ่มเลือกลักษณะการถ่ายภาพด้วยแฟลช
และ ปรับ +/- ชดเชยแสงแฟลช
18 Infrared receiver (front) หน้าต่างรับสัญญาณรีโมทอินฟราเรด (ด้านหน้า)
19 Bracketing button ปุ่มกดสาหรับถ่ายภาพแบบคร่อมแสง (BKT)
20 Meter coupling lever เดือยแหวนปรับค่ารูรับแสง
21 Built-in microphone ช่องไมโครโฟนบันทึกเสียง
22 Mounting mark จุดเครื่องหมายชี้ตาแหน่งสาหรับใส่เลนส์
23 Lens release button ุปุ่มกดคลายล็อคปลดเลนส
24 USB connector/A/V
connector/HDMI mini-pin
connector/Accessory
terminal/Connector for
external microphone
ฝาปิดช่องเสียบต่อพวงอุปกรณ์ภายนอก
25 AF-mode button สวิทช์ตั้งโหมดเลือกกรอบโฟกัสอัตโนมัติ
หรือด้วยออตโต้ AF (S-เดี่ยว / C-ต่อเนื่อง)
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 21
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
หมายเลข ชื่อปุ่ม ลักษณะการใช้งาน
26 Focus-mode selector สวิทช์เลือกระบบโฟกัส ด้วยมือ M
หรือด้วยออตโต้โฟกส AF
27 Lens mount
28 Mirror กระจกสะท้อนภาพปลั้ก 10 ขา ต่ออุปกรณ์
ภายนอก
29 Menu button ปุ่ม เรียกดูรายการคาสั่งต่างๆ
30 Help/protect button
White balance button
ปุ่ม ตั้งป้องกันการลบภาพที่บันทึกไว้
หรือ เมื่อต้องการให้กล้องช่วยเหลือ
หรือ เมื่อต้องการทราบข้อมูลคาอธิบาย-
-รายการคาสั่งในกล้อง
31 Thumbnail/playback zoom out
button
ISO sensitivity button
ปุ่ม เรียกดูกลุ่มภาพที่บันทึกไว้ในการ์ดความจาหรือ
ลดขนาดภาพที่กาลังแสดง
32 Playback zoom in button Image
quality/size button/Two-button
reset button
ปุ่ม กดสั่งขยายภาพในจอ LCD เพื่อดูรายละเอียด
ในภาพ
33 Release mode dial lock release
34 Playback button ปุ่ม เรียกดูภาพที่บันทึกไว้ในการ์ดความจา
35 Delete button/Format button ปุ่ม สั่งลบภาพที่บันทึกไว้ในการ์ดความจา และ ใช้
ฟอร์แมท การ์ดความจา ด้วย
36 Monitor จอ LCD แสดงภาพที่ถูกบันทึก
37 Viewfinder eyepiece ช่องมองภาพ
38 Diopter adjustment control
39 AE-L/AF-L button ปุ่ม กดล้อคค่าแสง AE-L
หรือ ล้อคจุดโฟกัส AF-L
40 Speaker ลาโพง
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 22
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
หมายเลข ชื่อปุ่ม ลักษณะการใช้งาน
41 Main command dial แหวน เลือกคาสั่งการทางานหลัก
Main Command Dial
42 Live View switch สวิทช์ระบบแสดงภาพสด LiveView
43 Movie-record button ปุ่มกดบันทึกภาพยนต์ Movie
44 Multi selector
45 OK button ปุ่มกดสั่งยืนยันคาสั่งที่แสดงในรายการ
46 Infrared receiver (rear) หน้าต่างรับสัญญาณรีโมทอินฟราเรด (ด้านหลัง)
47 Focus selector lock แหวน ล็อค แป้นกด 8 ทิศทาง
48 Memory card slot cover ฝาปิด ช่องใส่การ์ดความจา
49 Memory card access lamp ไฟ แสดงสถานะของการ์ดความจา
50 Info button
51 Contact cover for optional
Multi-Power Battery Pack MB-
D11
52 Battery-chamber cover latch ฝา ปิดช่องใส่ถ่าน
53 Battery-chamber cover ปุ่ม ปลดล็อคฝาปิดช่องใส่ถ่าน
54 Power connector cover ขั้วไฟฟ้าต่อเชื่อมกับกริป MB-D11
55 Tripod socket รูเกลียวใส่ยึดขาตั้งกล้อง
http://manual2u.blogspot.com/2012/04/nikon-d7000.html
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 23
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
เอกสารอ้างอิง :
k's Site. 1 มกราคม 2550. การทางานของกล้องถ่ายรูป และส่วนประกอบของกล้อง. [ออนไลน์].
รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี). เข้าถึงได้จาก / : /
http://krunoom.multiply.com/reviews/item/3. (วันที่ค้นข้อมูล : 19 มิถุนายน
2555).
LIVERTOON. ปีที่ผลิต. ส่วนประกอบของกล้อง 35 มม. SLR . [ออนไลน์]. รายละเอียดทางการ
พิมพ์ (ถ้ามี). เข้าถึงได้จาก : http://livertoon.multiply.com/journal/item/12/12.
(วันที่ค้นข้อมูล : 19 มิถุนยน 2555).
เอกสารอ้างอิง
ผู้แต่ง. / / ปีที่ผลิต. / / ชื่อเรื่อง. / / [ประเภทของสื่อ]. / / รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี). / /
/ / / / / / / เข้าถึงได้จาก / : / แหล่งสารนิเทศ./ / (วันที่ค้นข้อมูล / : / วัน / เดือน / ปี).

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดียสตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดียDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์Janchai Pokmoonphon
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไรอินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไรTewika Chanthong
 

Was ist angesagt? (20)

อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดียสตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไรอินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
 

Andere mochten auch

คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยNara Tuntratisthan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลAtiwat Patsarathorn
 
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพpatmalya
 
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...Atita Rmutsv
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
ถ่ายภาพ
ถ่ายภาพถ่ายภาพ
ถ่ายภาพJame555
 
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้นเทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้นJintana_may
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพApida Runvat
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นWorapon Masee
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Introducing documentary lesson
Introducing documentary lessonIntroducing documentary lesson
Introducing documentary lessonJaskirt Boora
 
การถ่ายภาพ และดวงดาว
การถ่ายภาพ และดวงดาวการถ่ายภาพ และดวงดาว
การถ่ายภาพ และดวงดาวnsumato
 

Andere mochten auch (20)

คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
 
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
 
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
ถ่ายภาพ
ถ่ายภาพถ่ายภาพ
ถ่ายภาพ
 
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้นเทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้น
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
Canon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d ThaiCanon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d Thai
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
Introducing documentary lesson
Introducing documentary lessonIntroducing documentary lesson
Introducing documentary lesson
 
การถ่ายภาพ และดวงดาว
การถ่ายภาพ และดวงดาวการถ่ายภาพ และดวงดาว
การถ่ายภาพ และดวงดาว
 

Ähnlich wie Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์warayut promrat
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพK'donuz Drumz
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2karuehanon
 
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2pattaya chantokul
 
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1pattaya chantokul
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
โครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนโครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนkanyaluk dornsanoi
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์Aiice Pimsupuk
 
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการAiice Pimsupuk
 
การถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyการถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyedtech29
 

Ähnlich wie Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ (18)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Eep time issue_2
Eep time issue_2Eep time issue_2
Eep time issue_2
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
 
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
 
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
โครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนโครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทน
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Eep time issue_6
Eep time issue_6Eep time issue_6
Eep time issue_6
 
แฟลช
แฟลชแฟลช
แฟลช
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
 
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
การถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyการถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copy
 

Mehr von Pipit Sitthisak

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7Pipit Sitthisak
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3Pipit Sitthisak
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก GooglePipit Sitthisak
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพPipit Sitthisak
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressPipit Sitthisak
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อกPipit Sitthisak
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slidesharePipit Sitthisak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2Pipit Sitthisak
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdfPipit Sitthisak
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdfPipit Sitthisak
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3Pipit Sitthisak
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionPipit Sitthisak
 

Mehr von Pipit Sitthisak (20)

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Google
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpress
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdf
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdf
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
 
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transition
 

Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ

  • 1. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 1 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 2. ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ ส่วนประกอบหลักของกล้องถ่ายภาพ กล้องถ่ายรูปในปัจจุบัน แม้จะมีความสามารถและคุณลักษณะแตกต่างกันบ้าง แต่ส่วนใหญ่ จะมีส่วนประกอบที่สาคัญหลัก ๆ คล้ายคลึงกัน คือ 1) ตัวกล้อง (Camera Body) 2) เลนส์ (Lens) 3) รูรับแสง (Aperture) 4) ช่องมองภาพ (View Finder) 5) ชัตเตอร์ (Shutter) 1. ตัวกล้อง (Camera Body) ตัวกล้องทาหน้าที่เป็นห้องมืด ป้องกันแสงภายนอกเข้าไปถูกฟิล์มที่บรรจุอยู่ภายในและเป็น ที่ยึดส่วนประกอบ ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ช่วยในการถ่ายรูป ภายในกล้องจะฉาบเอาไว้ด้วยสีดา เพื่อป้องกันการสะท้อนของแสง ตัวกล้องถ่ายภาพ Canon รุ่น 60D
  • 2. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 2 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 2. เลนส์ (Lens) เลนส์ทาหน้าที่รับแสงสะท้อนจากวัตถุส่งไปยังฟิล์ม (หรือตัวเซนเซอร์รับภาพ) ที่บรรจุอยู่ใน ตัวกล้อง ตัวเซนเซอร์รับภาพจะบันทึกภาพเอาไว้ หรือกล้องบางชนิดสามารถถอดเปลี่ยนเลนส์ได้ตาม ความต้องการ เช่น กล้องประเภท SLR (Single lens Reflex) หรือเรียกว่ากล้องสะท้อนเลนส์เดี่ยว เลนส์จะผนึกอยู่ข้างหน้าตัวกล้อง ซึ่งมีขนาดความยาวโฟกัสแตกต่างกัน เช่น 50 มม . 35 มม . 105 มม . เป็นต้น เลนส์มาตรฐาน (Standard Lens) เป็นเลนส์ที่มีความยาวโฟกัส 50 มม.เป็นเลนส์ที่ เหมาะสาหรับการถ่ายภาพทั่วไป เนื่องจากเมื่อเรามองผ่านเลนส์จะมองเห็นภาพของวัตถุมีขนาดคงที่ ไม่เล็กไม่ใหญ่ไปจากการมองวัตถุนั้นด้วยตาเปล่า ภาพที่ได้เหมือนกับที่ตาคนมองดูทั่วไป
  • 3. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 3 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 เลนส์มุมกว้าง ( Wide angle lens) เป็นเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสสั้นกว่าเลนส์ธรรมดา จึงทาให้มุมของการถ่ายภาพได้กว้างกว่าเลนส์ธรรมดาถ่ายมาก มีความชัดมากสิ่งที่อยู่ใกล้จะเห็นว่าโต และไม่ได้กับส่วนที่อยู่ไกล ใช้ถ่ายในสถานที่อันจากัดไม่สามารถตั้งกล้องให้ห่างจากวัตถุที่ถ่ายได้มาก เช่น การถ่ายภาพสิ่งก่อสร้างสูงๆหรือยาวมาก ๆ ซึ่งต้องการถ่ายอยู่ในภาพทั้งหมด เบื้องหลังของผู้ ถ่ายมีสิ่งกีดขวางไม่สามารถถอยไปได้อีก เช่น ติดกาแพง แม่น้า ในกรณีนี้จาเป็นต้องใช้เลนส์ขนาด ความยาวโฟกัส 16 มม. 18 มม. , 24 มม. , 35 มม.
  • 4. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 4 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 เลนส์ถ่ายไกล (Telephoto Lens) เป็นเลนส์เหมือนกล้องส่องทางไกล เป็นเลนส์ที่มี ความยาวของโฟกัสยาวกว่าเลนส์ธรรมดามาก ทาให้มุมการถ่ายภาพแคบลงคือ ทาหน้าที่ขยายภาพที่ อยู่ไกลให้โตขึ้น เสมือนหนึ่งที่ไปตั้งอยู่ใกล้ ๆ กับวัตถุที่ถ่าย สะดวกในการถ่ายภาพสิ่งที่อยู่ไกล ซึ่ง ขณะนั้นผู้ถ่ายไม่สามารเข้าไปตั้งกล่องในระยะใกล้ ๆ กับวัตถุนั้นได้ เช่น การถ่ายภาพสงคราม การ แข่งกีฬา การถ่ายภาพสัตว์น้า เช่น เลนส์ที่ขนาดความยาวโฟกัส 135 มม. , 500 มม. , 1000 มม. เลนส์ซูม ( Zoom lens ) เป็นเลนส์ที่มีหลายชนิดรวมอยู่ในตัวเดียว เลนส์มีราคา ค่อนข้างสูง นิยมใช้มากในปัจจุบัน ทั้งในการถ่ายภาพนิ่งและถ่ายภาพยนตร์ตลอดจนกล้องโทรทัศน์ เลนส์ทาหน้าที่เสมือนเป็นเลนส์ไกลและเลนส์ธรรมดาและเลนส์มุมกล้องอยู่ในตัว เดียวสามารถ เลือกใช้ระยะโฟกัสเท่าใดก็ได้ตามที่เลนส์นั้นบอกไว้ ซึ่งเลนส์ทั่วไปไม่สามารถทาได้ เป็นเลนส์ที่ขนาด ความยาวโฟกัส 70 -250 มม. , 85 - 300 มม. , 800 - 1200 มม.
  • 5. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 5 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 เลนส์ตาปลา ( Fish eye lens) เป็นเลนส์ที่มีลักษณะคล้ายตาปลา มีมุมในการถ่ายภาพ ได้กว้างกว่าเลนส์ทุกชนิด คือ กว้างถึง 180 องศา เพื่อให้เกิดภาพนั้นผิดแผกแตกต่างไปจากภาพถ่าย ธรรมดา และต้องการให้ภาพสะดุดตาแก่ผู้ชมภาพ มุมของการถ่ายภาพจะกว้างกว่าธรรมดาประมาณ 3-4 เท่า สิ่งที่ต้องระมัดระวังในการถ่ายภาพชนิดนี้ คือเท้าของผู้ถ่ายจะติดอยู่ในภาพ ถ้าผู้ถ้ายืนใน รัศมีของภาพนั้น วัตถุถ่ายด้านข้างในภาพจะดูใหญ่โตน่าเกรงขาม เลนส์ชนิดนี้จะให้ช่วงความชัดลึก มาก ไม่มีเลนส์ชนิดใดทาได้ แม้ตั้งระยะถ่ายไกลสุดก็ตาม เช่น เลนส์ที่ขนาดความยาวโฟกัส 6 มม. , 8 มม.
  • 6. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 6 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 เลนส์แมคโคร ( Macro Lens) คล้ายกับเลนส์ทั่วไป แต่ไม่สามารถใช้ถ่ายภาพระยะใกล้ มาก ๆ เป็นเลนส์ที่สามารถถ่ายภาพ โดยกล้องสามารถเข้าใกล้วัตถุได้เกินครึ่งฟุตได้ และสามารถปรับ ระยะชัดได้ เลนส์แมคโครผลิตขึ้นเพื่อใช้กับกล้องขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ปัจจุบันมักทาออกมาเป็น แบบของซูมเลนส์ เป็นเลนส์ที่ขนาดความยาวโฟกัส 55 มม. ขยายภาพได้ 1:2 เท่า อ่านเพิ่มเติม : ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ http://www.zmos.net/howto/basic-photography/145-angle-of-view-and-focal-length- of-lens 3. รูรับแสง (Aperture) ในการถ่ายภาพทุกภาพ จะต้องควบคุมระยะเวลาในการรับแสงของฟิล์มหรืออิมเมจ เซ็นเซอร์ เหมือนกับการเปิดน้าใส่ถัง โดยกลไกที่ใช้ควบคุมระยะเวลาก็คือ รูรับแสง (Aperture) กับ ชัตเตอร์ (Shutter) นั่นเอง รูรับแสง (Aperture) เป็นชิ้นส่วนที่อยู่ภายในเลนส์ ของกล้อง โดยรูรับแสงสามารถปรับให้ เปิดกว้างหรือเล็กลง ซึ่งจะมีผลทาให้แสงผ่านเข้ามาในเลนส์ได้มาก หรือน้อยตามไปด้วย การปรับรูรับแสงนั้นทาได้จากปุ่มบนตัวกล้อง โดยเลือกโหมดการทางานของกล้องเป็น โหมด Av หรือ M จากนั้น ก็ปรับปุ่มรูรับแสง บนตัวกล้อง ขนาดของรูรับแสงที่ปรับได้นั้นจะขึ้นอยู่กับ เลนส์ โดยเลนส์แต่ละตัวจะมีค่ารูรับแสงกว้างสุดกับแคบสุด รูรับแสง (Aperture) http://www.fotodv.net/foto/basic/html/Aperture.html
  • 7. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 7 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 การทาความเข้าใจในเรื่องนี้ มีอยู่ 3 เรื่องที่เกี่ยวพันกันอยู่ ได้แก่ รูรับแสง (Aperture) แผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm) เอฟสตอป (F-Stop) หรือ เอฟนัมเบอร์ (F-Number) รูรับแสง (Aperture) หมายถึง ช่องรับแสงของแผ่นไดอะแฟรมที่อยู่ภายในกระบอกเลนส์ เพื่อควบคุมปริมาณแสงให้มีปริมาณแสงมากน้อยตามต้องการ จะสามารถหรี่ให้เล็กหรือขยายให้ใหญ่ เพื่อเป็นการควบคุมปริมาณแสงสว่างที่ส่องผ่านมาจากเลนส์แล้วส่งต่อไปถึงฟิล์ม ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างแผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm) รูรับแสง (Aperture) และเอฟสตอป (F-Stop) ภายในกระบอกเลนส์จะมีม่าน(Diaphragm) ทาด้วยแผ่นโลหะบาง ๆ จัดเป็นชุดเรียงซ้อนประกอบกัน เพื่อให้เกิดเป็นช่องว่างตรงศูนย์กลาง ม่านเลนส์หรือช่องว่างนี้ ม่านเลนส์ที่หรี่รูเล็กแสงจะผ่านได้น้อย ถ้าขยายตัวให้เป็นรูขนาดใหญ่ปริมาณของแสงก็จะผ่านได้มาก การที่ม่านเลนส์หรี่หรือขยาย ตัวให้เกิด เป็นรูหรือช่องขนาดต่าง ๆ นั้น เรียกว่า ขนาดรูรับแสง (Aperture) แผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm) เป็นกลไกอย่างหนึ่งอยู่ในกระบอกเลนส์ มีลักษณะเป็น แผ่นโลหะสีดาบางๆ หลายแผ่นเรียงซ้อนกันเป็นกลีบ มีช่องตรงกลางสามารถปรับขนาดให้กว้าง หรือ แคบได้เรียกว่า รูรับแสง (Aperture) เพื่อควบคุมปริมาณแสงที่ส่งผ่านเลนส์ ไปยังฟิล์มหรือเซนเซอร์ รับภาพ (Image Sensor) ได้มากน้อยตามความต้องการ การปรับขนาดรูรับแสงใช้การปรับที่วงแหวน รูรับแสงบนกระบอกเลนส์ ลักษณะแผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm) (http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number)
  • 8. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 8 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 ตาแน่งที่ตั้งของแผ่นไดอะแฟรม ขนาดรูรับแสง (Aperture) เป็นรูเปิดของแผ่นไดอะแฟรมให้มีขนาดต่าง ๆ ตามต้องการ เช่น เมื่อต้องการให้แสงเข้ามากก็เปิดรูรับแสงให้มีขนาดใหญ่ และทางตรงกันข้าม ถ้าต้องการปริมาณ แสงเข้าไปถูกฟิล์มน้อยก็เปิดรูให้เล็กลง ขนาดของรูรับแสงแตกต่างกันนี้ รูรับแสงแต่ละขนาดจะมี ตัวเลขกาหนดเอาไว้ ทุกขนาด เพื่อจะได้ใช้เป็นที่สังเกตได้สะดวกซึ่งตัวเลขนี้จะเป็นวงแหวน ติดอยู่ที่ ตัวเลนส์เรียกตัวเลขต่าง ๆ ว่า เอฟสตอป (F-Stop) หรือ เอฟนัมเบอร์ (F-Number) ขนาดรูรับแสง f-2 และ f 1.2 http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number
  • 9. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 9 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 ขนาดรูรับแสง (Aperture) (http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number) ในเลนส์แต่ละตัวจะมีค่ารูรับแสงกว้างสุดและแคบสุดไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการ ออกแบบ เลนส์ที่มีขนาดรูรับแสงกว้างมากจะมีราคาสูงกว่า เมื่อเทียบกับเลนส์ที่มีขนาดทางยาวโฟกัส เท่ากันแต่ค่ารูรับแสงกว้างสุด แคบกว่า เนื่องจากเลนส์ที่มีค่ารูรับแสงกว้างมากจาเป็นต้องใช้ชิ้นเลนส์ ที่มีขนาด ใหญ่ขึ้น เพื่อการรวมแสงที่ดี ต้องได้รับการออกแบบเป็นพิเศษและแน่นอนขนาดและ น้าหนักก็จะมากตามไปด้วย ขนาดรูรับแสงที่กว้างกว่าหมายถึงโอกาสที่จะได้ภาพนั้นมีมากขึ้นด้วย เมื่อจาเป็นต้อง ถ่ายภาพในสภาวะแสงน้อยเลนส์ที่สามารถเปิดรับแสงได้มากกว่า ย่อมมีโอกาสได้ภาพมากกว่า
  • 10. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 10 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 การใช้งานและประโยชน์จากการปรับตั้งค่ารูรับแสง ค่าเอฟสตอป หรือ ขนาดรูรับแสง คือค่าการเปิดรับแสงของเลนส์ โดยใช้กลีบม่านหรือ ไดอะแฟรมที่อยู่ภายในกระบอกเลนส์เป็นตัวควบคุม ในยุคแรกๆของกล้องถ่ายภาพ ค่ารูรับแสงจะ แบ่งเป็นขั้นละหนึ่งสตอป การควบคุมขนาดรูรับแสงทาได้ด้วยการหมุนวงแหวนปรับรูรับแสงที่ตัว เลนส์โดยตรง เนื่องจากเลนส์ยุคก่อนเป็นระบบกลไกล้วน การปรับขนาดรูรับแสง สาหรับเลนส์ของกล้องฟิล์ม จะมีวงแหวนปรับขนาดรูรับแสง ที่ แสดงค่าเอฟสตอป (F-Stop) ที่กระบอกเลนส์ และมีสัญลักษณ์บอกขอบเขตระยะชัดตามขนาดรูรับ แสงไว้ด้วย วงแหวนปรับขนาดรูรับแสงในกล้องที่ใช้ฟิล์ม (SLR) ต่อมาได้มีการพัฒนาเลนส์สาหรับกล้องดิจิตอล โดยใช้ระบบอิเลคทรอนิคส์เป็นตัวควบคุม และสั่งการได้โดยหมุนวงล้อปรับขนาดรูรับแสงที่ตัวกล้อง เราจึงไม่เห็นวงแหวนปรับรูรับแสงในเลนส์ รุ่นใหม่ๆ ที่ผลิตออกมา การเปลี่ยนแปลงนี้ทาให้เราสามารถปรับขนาดรูรับแสงได้อย่างละเอียดขึ้น โดยแบ่งเป็นขั้นละ 1/3 สตอป หรือ 1/2 สตอป ต่างจากเลนส์แมคคานิค ที่เป็นกลไกล้วนโดยมากจะ ปรับได้ขั้นละ 1 หรือ 1/2 สตอป
  • 11. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 11 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 วงล้อปรับขนาดรูรับแสง http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number ตัวอย่างค่ารูรับแสงที่แบ่งเป็นขั้นละ 1 สตอป จะมีดังนี้ f1 / f1.4 / f2 / f2.8 / f4 / f5.6 / f8 / f11 / f16 / f22 / f32 / f45 / f64 ตัวเลข แสดงค่ารูรับแสงจะให้ผลตรงกันข้ามกับปริมาณการเปิดรับแสงของเลนส์ เช่น ค่ารู รับแสง f2 จะให้ปริมาณแสงมากกว่าขนาดรูรับแสง f2.8 อยู่ 1 สตอป มากกว่า f4 อยู่ 2 สตอป หมายความว่ายิ่งเลือกใช้ค่ารูรับแสงมากขึ้น ม่านไดอะแฟรมในตัวเลนส์ก็จะยิ่งหรี่เล็กลง แสงจะผ่าน ไปยังเซนเซอร์ได้น้อย เพื่อไม่ให้สับสนควรจาให้ได้ว่า ค่าตัวเลขน้อยขนาดรูรับแสงกว้าง ค่าตัวเลข มากขนาดรูรับแสงแคบ อย่างไรก็ตาม ยังมีเลนส์บางรุ่นของกล้องดิจิตอล ที่ยังคงมีวงแหวนปรับขนาดรูรับแสง ดัง ภาพ
  • 12. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 12 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 วงแหวนปรับขนาดรูรับแสงในกล้องดิจิตอล (DSL:R) บางรุ่น http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number ตารางแสดงค่ารูรับแสง STANDARD FULL STOP F-NUMBER SCALE (ขนาดรูรับแสงมาตรฐาน ขั้นละ 1 สตอป) f -stop 0.5 0.7 1.0 1.4 2 2.8 4 5.6 8 11 16 22 32 45 64 90 128 ONE-HALF-STOP F-NUMBER SCALE (ขนาดรูรับแสงขั้นละ ½ สตอป) f-stop 1.0 1.2 1.4 1.7 2 2.4 2.8 3.3 4 4.8 5.6 6.7 8 9.5 11 13 16 19 22 ONE-THIRD-STOP F-NUMBER SCALE (ขนาดรูรับแสงขั้นละ 1/3 สตอป) f-stop 1.0 1.1 1.2 1.4 1.6 1.8 2 2.2 2.5 2.8 3.3 3.5 4 4.5 5 5.6 6.3 7.1 8 9 10 11
  • 13. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 13 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 ศึกษาเพิ่มเติม รูรับแสง (F stop number) http://www.zmos.net/howto/87/143-f-stop-number ทำควำมเข้ำใจกับค่ำรูรับแสงและภำพชัดตื้น http://www.photonovice.com/forum/index.php?topic=15.0 สื่อประกอบ : Video Clip Tip ถ่ายรูป1 ดีไซน์ภาพด้วยรูปรับแสง – YouTube 3. ช่องมองภาพ (View Finder) ช่องมองภาพและ LCD Monitor ช่องมองภาพ (View Fider) จะอยู่ด้านหลังของตัวกล้องเป็นจอมองภาพ เพื่อช่วยในการ ปรับความคมชัด วัดแสง และจัดองค์ประกอบของภาพให้มีความสวยงามตามหลักของศิลปะการ ถ่ายรูป ปัจจุบันกล้องถ่ายภาพดิจิตอล จะมีจอ LCD Monitor ทาหน้าที่เหมือนช่องมองภาพ และยัง ใช้แสดงการตั้งค่าต่าง ๆ
  • 14. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 14 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 ระบบการทางานของช่องมองภาพ (http://www.sporcle.com/games/Mahmoud/dslr_cam) เมื่อส่องกล้องไปยังที่สิ่งที่ต้องการถ่ายภาพ ภาพจะผ่านเลนส์ไปยังกระจกสะท้อนภาพที่ วางเอียง 45 องศา เพื่อสะท้อนไปมาภายในหัวกล้อง แล้วส่งไปยังช่องมองภาพ ช่างภาพจะมองเห็น ภาพ เพื่อจัดองค์ประกอบ
  • 15. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 15 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 4. ชัตเตอร์ (Shutter) ทาหน้าที่เป็นตัวกาหนดระยะเวลาของการรับแสงในกล้อง ควบคุมเวลาฉายแสง (Exposure Time) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ความไวของชัตเตอร์ (Shutter Speed) ชัตเตอร์หรือความเร็วชัตเตอร์ (Shutter speed) เป็นกลไกอัตโนมัติที่ใช้สาหรับควบคุม เวลาในการเปิดและปิด ให้แสงจะผ่านเข้าไปทาปฏิกิริยากับวัสดุไวแสงที่ใช้สาหรับบันทึกภาพตามเวลา ที่กาหนด ความเร็วในการเปิดและปิดชัตเตอร์คือเวลาที่ฉายแสง (Exposure time) นั่นเอง ซึ่งคิดเป็น
  • 16. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 16 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 เศษส่วนของวินาทีดังนี้ 1/1 , 1/2 , 1/4 , 1/8 , 1/15 , 1/30 , 1/60 , 1/125, 1/250 ,1/500 , 1/1000 , 1/2000 แต่ตัวเลขที่ปรากฏในวงแหวนที่ขอบนอกของเลนส์ จะบอกค่าความเร็วของชัตเตอร์ไว้ เฉพาะตัวเลขที่เป็นส่วนคือ 1 , 2 , 4 , 8 , 15 , 30 , 60 , 125 , 250 , 500 , 1000 , 2000 ตัวเลขที่ มีค่าน้อยม่านชัตเตอร์จะเปิดเป็นเวลานานเพื่อปล่อยให้แสงจะเข้าไปในกล้องได้มาก ส่วนตัวเลขที่มีค่า มากชัตเตอร์จะเปิดแล้วปิดเร็ว แสงจะเข้าไปในกล้องได้น้อย เช่น - ถ้าตั้งความเร็วชัตเตอร์ที่ 1 แสงจะเข้าไปในทาปฏิกิริยากับฟิล์มนาน 1 วินาที - ถ้าตั้งความเร็วชัตเตอร์ที่ 250 ชัตเตอร์จะเปิดให้แสงผ่านเป็นเวลา1/250 วินาที หรือ 1 วินาทีแบ่งเป็น 250 ส่วนและม่านชัตเตอร์จะเปิดรับแสงให้ผ่านไปได้เพียง 1 ส่วนจาก 250 ส่วน ซึ่งชัตเตอร์จะเปิดและปิดเร็วมาก การตั้งความเร็วชัตเตอร์ จะต้องตั้งให้พอดีกับตัวเลขที่กาหนดความเร็วชัตเตอร์ การเพิ่ม หรือลดความเร็วชัตเตอร์ ของตัวเลขที่อยู่ใกล้กันจะมีผลต่อการเพิ่มหรือลดความเร็วของขัตเตอร์เป็น 2 เท่าของกันและกัน เช่น จากความ เร็วชัตเตอร์ 1/30 เป็น 1/15 ก็จะช้าลงเป็น 2 เท่าตัว ในขณะที่ยังไม่มีการบันทึกภาพม่านชัตเตอร์จะปิด แสงไม่สามารถผ่านเข้าไปที่ตัวรับภาพ ได้ แต่ทันทีที่เรากดชัตเตอร์เพื่อบันทึกภาพ ม่านชัตเตอร์จะเปิดเป็นระยะเวลาสั้นหรือยาวนาน เพียงใดขึ้นอยู่กับการเลือกตั้งค่าความเร็วซัตเตอร์ของช่างภาพหรือโปรแกรมการบันทึกภาพของกล้อง ที่จะสั่งงาน กล้องดิจิตอลในรุ่นสาหรับผู้บริโภคทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้ electronic shutter ซึ่ง หมายถึง การควบคุมการรับแสงจากแผงชิพอีเล็คทรอนิคของตัวรับภาพ
  • 17. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 17 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 ระบบการทางานของการมองภาพและการบันทึกภาพ 1. เมื่อส่องกล้องไปยังที่สิ่งที่ต้องการถ่ายภาพ ภาพจะผ่านเลนส์ไปยังกระจกสะท้อนภาพที่ วางเอียง 45 องศา เพื่อสะท้อนไปมาภายในหัวกล้อง แล้วส่งไปยังช่องมองภาพ ช่างภาพจะมองเห็น ภาพ เพื่อจัดองค์ประกอบ 2. กดปุ่มซัตเตอร์ครึ่งหนึ่ง เพื่อปรับความคมชัดและวัดแสง 3. เมื่อปุ่มซัตเตอร์อีกครึ่งหนึ่ง เพื่อบันทึกภาพ กระจกสะท้อนจะยกตัวขึ้น เพื่อให้แสงผ่าน ไปยังตัวรับภาพ (Image Sensor) ในระยะเวลาหนึ่งตามที่ตั้งค่าความเร็วซัตเตอร์ไว้
  • 18. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 18 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 5. แผ่นกระจกจะปิดลงมาตาแหน่งเดิม เมื่อครบเวลาทางานของซัตเตอร์ปิดลง ภาพจะถูก บันทึกลงในตัวรับภาพ (Image Senser) อ่านเพิ่มเติม http://www.zmos.net/howto/87/142-speed-shutter
  • 19. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 19 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 ส่วนประกอบอื่นๆ ของกล้องถ่ายภาพ นอกจากส่วนประกอบที่สาคัญ ๆ ของกล้องถ่ายรูปดังกล่าวแล้ว ผู้ใช้ควรจะศึกษาปุ่มปรับ และควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่บนกล้องถ่ายรูป กล้องทั่ว ๆ ไปจะมีปุ่มควบคุมดังนี้คือ (ในที่นี้จะยกตัวอย่าง เป็นกล้อง Nikon D7000) ส่วนประกอบและปุ่มควบคุม กล้อง Nikon D7000 (http://imaging.nikon.com/lineup/dslr/d7000/compatibility03.htm) หมายเลข ชื่อปุ่ม ลักษณะการใช้งาน 1 Exposure compensation button/Two-button reset button ปุ่มกด +/- ชดเชยแสงถ่ายภาพ (กดร่วมกับปุ่ม AF เพื่อรีเซ็ทคาสั่งภายในกล้อง) 2 Shutter-release button ปุ่มซัตเตอร์ ปุ่มกดลั่นเปิดม่านชัตเตอร์ 3 Power switch สวิทช์ปิด-เปิด และเปิดไฟส่องสว่างจอ LCD 4 Sub-command dial แป้นหมุนควบคุมการทางานรอง 5 Fn button ปุ่มกดเรียกคาสั่งใช้งานอเนกประสงค์ FUNC. 6 Depth-of-field preview button ปุ่มกดเช็คช่วงระยะชัดลึก 7 Eyelet for camera strap หูร้อยสายสะพายกล้อง 8 Focal plane mark 9 Metering button/Format button ปุ่มกดเลือกระบบวัดแสง และ ฟอร์แมทการ์ด ความจา
  • 20. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 20 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 หมายเลข ชื่อปุ่ม ลักษณะการใช้งาน 10 Control panel จอ LCD แสดงคาสั่ง 11 AF-assist illuminator/Selftimer lamp/Red-eye reduction lamp ไฟส่องช่วยระบบหาโฟกัส และ ช่วยลดตาแดง และ เลือกลักษณะการถ่ายภาพด้วยแฟลช และแสดงนับ เวลาถอยหลัง 12 Built-in flash แฟลชภายในกล้อง 13 Accessory shoe (for optional flash unit) ขั้วไฟฟ้าต่อเชื่อมกับแฟลชภายนอก 14 Mode dial แป้นหมุนโหมดระบบการถ่ายภาพอัตโนมัติ P, S, A, M และระบบโปรแกรมดิจิตอลช่วยถ่ายภาพ อัตโนมัติ 15 Release mode dial แหวนปรับอัตราความเร็วการถ่ายภาพ หรือ ตั้งเวลาถ่ายภาพ 16 Eyelet for camera strap 17 Flash mode button/Flash compensation button ่ปุ่มเลือกลักษณะการถ่ายภาพด้วยแฟลช และ ปรับ +/- ชดเชยแสงแฟลช 18 Infrared receiver (front) หน้าต่างรับสัญญาณรีโมทอินฟราเรด (ด้านหน้า) 19 Bracketing button ปุ่มกดสาหรับถ่ายภาพแบบคร่อมแสง (BKT) 20 Meter coupling lever เดือยแหวนปรับค่ารูรับแสง 21 Built-in microphone ช่องไมโครโฟนบันทึกเสียง 22 Mounting mark จุดเครื่องหมายชี้ตาแหน่งสาหรับใส่เลนส์ 23 Lens release button ุปุ่มกดคลายล็อคปลดเลนส 24 USB connector/A/V connector/HDMI mini-pin connector/Accessory terminal/Connector for external microphone ฝาปิดช่องเสียบต่อพวงอุปกรณ์ภายนอก 25 AF-mode button สวิทช์ตั้งโหมดเลือกกรอบโฟกัสอัตโนมัติ หรือด้วยออตโต้ AF (S-เดี่ยว / C-ต่อเนื่อง)
  • 21. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 21 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 หมายเลข ชื่อปุ่ม ลักษณะการใช้งาน 26 Focus-mode selector สวิทช์เลือกระบบโฟกัส ด้วยมือ M หรือด้วยออตโต้โฟกส AF 27 Lens mount 28 Mirror กระจกสะท้อนภาพปลั้ก 10 ขา ต่ออุปกรณ์ ภายนอก 29 Menu button ปุ่ม เรียกดูรายการคาสั่งต่างๆ 30 Help/protect button White balance button ปุ่ม ตั้งป้องกันการลบภาพที่บันทึกไว้ หรือ เมื่อต้องการให้กล้องช่วยเหลือ หรือ เมื่อต้องการทราบข้อมูลคาอธิบาย- -รายการคาสั่งในกล้อง 31 Thumbnail/playback zoom out button ISO sensitivity button ปุ่ม เรียกดูกลุ่มภาพที่บันทึกไว้ในการ์ดความจาหรือ ลดขนาดภาพที่กาลังแสดง 32 Playback zoom in button Image quality/size button/Two-button reset button ปุ่ม กดสั่งขยายภาพในจอ LCD เพื่อดูรายละเอียด ในภาพ 33 Release mode dial lock release 34 Playback button ปุ่ม เรียกดูภาพที่บันทึกไว้ในการ์ดความจา 35 Delete button/Format button ปุ่ม สั่งลบภาพที่บันทึกไว้ในการ์ดความจา และ ใช้ ฟอร์แมท การ์ดความจา ด้วย 36 Monitor จอ LCD แสดงภาพที่ถูกบันทึก 37 Viewfinder eyepiece ช่องมองภาพ 38 Diopter adjustment control 39 AE-L/AF-L button ปุ่ม กดล้อคค่าแสง AE-L หรือ ล้อคจุดโฟกัส AF-L 40 Speaker ลาโพง
  • 22. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 22 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 หมายเลข ชื่อปุ่ม ลักษณะการใช้งาน 41 Main command dial แหวน เลือกคาสั่งการทางานหลัก Main Command Dial 42 Live View switch สวิทช์ระบบแสดงภาพสด LiveView 43 Movie-record button ปุ่มกดบันทึกภาพยนต์ Movie 44 Multi selector 45 OK button ปุ่มกดสั่งยืนยันคาสั่งที่แสดงในรายการ 46 Infrared receiver (rear) หน้าต่างรับสัญญาณรีโมทอินฟราเรด (ด้านหลัง) 47 Focus selector lock แหวน ล็อค แป้นกด 8 ทิศทาง 48 Memory card slot cover ฝาปิด ช่องใส่การ์ดความจา 49 Memory card access lamp ไฟ แสดงสถานะของการ์ดความจา 50 Info button 51 Contact cover for optional Multi-Power Battery Pack MB- D11 52 Battery-chamber cover latch ฝา ปิดช่องใส่ถ่าน 53 Battery-chamber cover ปุ่ม ปลดล็อคฝาปิดช่องใส่ถ่าน 54 Power connector cover ขั้วไฟฟ้าต่อเชื่อมกับกริป MB-D11 55 Tripod socket รูเกลียวใส่ยึดขาตั้งกล้อง http://manual2u.blogspot.com/2012/04/nikon-d7000.html
  • 23. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 23 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 เอกสารอ้างอิง : k's Site. 1 มกราคม 2550. การทางานของกล้องถ่ายรูป และส่วนประกอบของกล้อง. [ออนไลน์]. รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี). เข้าถึงได้จาก / : / http://krunoom.multiply.com/reviews/item/3. (วันที่ค้นข้อมูล : 19 มิถุนายน 2555). LIVERTOON. ปีที่ผลิต. ส่วนประกอบของกล้อง 35 มม. SLR . [ออนไลน์]. รายละเอียดทางการ พิมพ์ (ถ้ามี). เข้าถึงได้จาก : http://livertoon.multiply.com/journal/item/12/12. (วันที่ค้นข้อมูล : 19 มิถุนยน 2555). เอกสารอ้างอิง ผู้แต่ง. / / ปีที่ผลิต. / / ชื่อเรื่อง. / / [ประเภทของสื่อ]. / / รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี). / / / / / / / / / เข้าถึงได้จาก / : / แหล่งสารนิเทศ./ / (วันที่ค้นข้อมูล / : / วัน / เดือน / ปี).