SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
ลักษณะของภาษาไทย โดย ครูภิญญดา  อินทรสุริยะ โรงเรียนราชดำริ
ลักษณะสำคัญของ ภาษาไทย
ภาษาไทยมีอักษรเป็นของตนเอง พ่อขุนรามคำแหงได้บัญญัติตัวอักษรไทยขึ้นโดยดัดแปลงแบบที่ใช้กันอยู่ก่อนบ้างนั้น ก็ได้บัญญัติขึ้นเพื่อให้เหมาะสมแก่ภาษาไทยเป็นส่วนมาก แต่แล้วก็ได้มีอักษรเพิ่มขึ้นมา เพื่อถ่ายตัวอักษรภาษาบาลีสันสกฤตซึ่งเขียนต่างกันแต่ออกเสียงเหมือนกัน พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
ภาษาไทยมีอักษรเป็นของตนเอง ตัวอักษรของไทยที่ใช้ในปัจจุบันมีดังนี้ 1.  สระ 2.  พยัญชนะ 3.  วรรณยุกต์ 4.  ตัวเลข
ภาษาไทยแท้เป็นภาษาที่มีพยางค์เดียว คำกริยา  ไป มา เดิน นั่ง นอน พูด ปีน คำเรียกชื่อสัตว์  เป็ด ไก่ งู ควาย เสือ ลิง ปลา คำเรียกชื่อสิ่งของ  ถ้วย ชาม มีด ผ้า ไร่ นา เสื้อ
ภาษาไทยแท้มีตัวสะกดตามมาตรา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง ก .  วางไว้หน้าพยัญชนะ  ไป เสแสร้ง แม่ ข .  วางไว้หลังพยัญชนะ  จะ มา มากมาย ค .  วางไว้บนพยัญชนะ  ริ  ดิถี  ปิติ  ศรี  มี
ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง ง .  วางไว้ข้างล่างพยัญชนะ  ครู  ปู่  หมู  สุข จ .  วางไว้ทั้งหน้าและหลังพยัญชนะ  เขา  เธอ  เกาะ ฉ .  วางไว้ทั้งข้างหน้าและข้างบนพยัญชนะ  เป็น  เสียง  เชิญ
คำเดียวมีความหมายหลายอย่าง สังเกตได้จาก ปริบท  , หน้าที่ของคำ  เขาสนุกสนาน กัน ในห้อง แต่ทำไมเขา กัน ไม่ให้ กัน เข้าไปในห้อง
ภาษาไทยมีความประณีต การทำให้ขาดจากกัน  ตัด  หั่น  แล่  เชือด  เฉือน  สับ  ซอย การทำให้อาหารสุก  ปิ้ง ย่าง  ต้ม  ตุ๋น  นึ่ง  ผัด  ทอด  คั่ว
ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำ 1.  ไม่มีการเปลี่ยนแปลงภายในศัพท์หรือ   ท้ายศัพท์ ต่อไปนี้เธอต้อง อดทน ให้มาก ไม่ใช่รู้จักแต่ ทนอด อย่างเดียว
ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำ 2.  ระเบียบการเรียงประโยคในภาษาไทย 2.1  ตามปกติเรียงลำดับ ประธาน กริย กรรม  2.2  คำหรือวลี หรือประโยคขยายคำใดจะอยู่หลังคำนั้น  2.3  ประโยคคำถามไม่เปลี่ยนรูปประโยค  2.4  คำกริยาอาจจะซ้อนกันในประโยคเดียวกันตั้งแต่สองคำขึ้นไป
คำในภาษาไทยมีเสียงสัมพันธ์กับความหมาย ก .  คำที่ประสมด้วยสระ เอ  เก  เข  โซเซ  รวนเร ข .  คำที่ประสมด้วยสระ ออ มี “ม” หรือ “ น” สะกด  งอนง้อ  อ้อมค้อม  น้อม  อ้อม
ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี 1. มีคำใช้มากขึ้น  มา  ม้า หมา ,  ขาว  ข่าว  ข้าว 2.  มีความไพเราะ ทำให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์หรือมองเห็นภาพได้ง่าย  ตะลึงเหลียวเปลี่ยวเปล่าให้เหงาหงิม  สุชลปริ่มเปี่ยมเหยาะเผาะเผาะผอย
ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี 3.  มีจังหวะและคำคล้องจองเป็นประโยชน์ในการเน้นความ และเกิดความกระทัดรัด 4.  สามารถเลียนเสียงธรรมชาติ และเลียนสำเนียงภาษาได้ทุกภาษา
ภาษาเขียนมีวรรคตอน ภาษาพูดมีจังหวะ ก .  พูดไปสองไพเบี้ย  นิ่งเสียตำลึงทอง พูดไปสองไพเบี้ย  นิ่ง  เสียตำลึงทอง ข .  ราคาข้าวตกลงเกวียนละ  450  บาท ราคาข้าวตก  ลงเกวียนละ  450  บาท
ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีลักษณนาม 1.  ใช้ตามหลังจำนวนนับ  ผ้า  2  ผืน  ผ้า  2  ม้วน  ผ้า  2  พับ  ผ้า  2  ตั้ง 2.  ใช้ตามหลังนามเมื่อต้องการเน้นหนักและบอกให้รู้ลักษณะ
ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับของคำ 1.  ราชาศัพท์ 2.  คำบอกลักษณะโดยเฉพาะ 3.  ภาษาธรรมดากับภาษากวี อาทิตย์   -  ตะวัน  ทินกร  ทิพากร  ภาณุมาศ  สุรีย์ รวิ  อาภากร  สุริยา  สุริโย  สุริยัน
ภาษาไทยมีคำพ้องเสียงพ้องรูป คำพ้องเสียง   กาฬ  กาล  การ  กานต์  กานท์ คำพ้องรูป เรือนรก  ตากลม  เพลา  ขอบอกขอบใจ
ภาษาไทยมักจะละคำบางคำ ฉันไปที่ทำงานเวลา  8.00  น .
ภาษาพูดมีคำเสริมแสดงความสุภาพ ก .  แสดงความสุภาพ  เถิด  ซิ  จ๊ะ  คะ  ครับ ข .  แสดงความไม่สุภาพ  โว้ย  วะ  ค .  แสดงความรู้สึก  นะจ๊ะ  สิคะ
การลงเสียงหนักเบาทำให้หน้าที่ของคำเปลี่ยนไป ก .  ถ้าคำนั้นมีความหมายชัดแจ้งต้องลงเสียงหนักทุกพยางค์  สะสม  สะสาง ข .  ถ้าออกเสียงหนักเบาอาจแยกให้เห็นความหมายที่แตกต่างกัน  ถ้าเสียก็แก้เสียให้ดี  ข้าวเย็นหมดแล้ว
ภาษาไทยมีการสร้างคำ 1.  การแปรเสียง  ชุ่ม - ชอุ่ม  ตรอก - กรอก 2.  การเปลี่ยนเสียง  ฐาน - ฐานะ  สีมา - เสมา 3.  การประสมคำ  คนใช้  พ่อตา  นักศึกษา 4.  การเปลี่ยนตำแหน่งคำ ไข่ไก่ -  ไก่ไข่
ภาษาไทยมีการสร้างคำ 5.  การแปรความ  เดินตลาด  เดินสะพัด 6.  การเปลี่ยนความ  นิยาย  กระโถน  แห้ว 7.  การนำคำ ภาษาอื่นมาใช้  เสวย  กุหลาบ 8.  การคิดตั้งคำขึ้นใหม่ โทรทัศน์  พฤติกรรม กิจกรรม  ประยุกต์
ขอขอบคุณ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑panjit
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษาkingkarn somchit
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำchatchaisukhum1
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 

Was ist angesagt? (19)

ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำ
คำคำ
คำ
 

Andere mochten auch

Blog[1]
Blog[1]Blog[1]
Blog[1]porpia
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2สุทัศน์ อินปา
 
Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431vanichar
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
คำไวพจน์
คำไวพจน์คำไวพจน์
คำไวพจน์Jean Arjarasiri
 
ข้อสอบโอเน็ต (onet eng)
ข้อสอบโอเน็ต (onet eng)ข้อสอบโอเน็ต (onet eng)
ข้อสอบโอเน็ต (onet eng)tangmottmm
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นkruthai40
 

Andere mochten auch (9)

Blog[1]
Blog[1]Blog[1]
Blog[1]
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
 
Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
คำไวพจน์
คำไวพจน์คำไวพจน์
คำไวพจน์
 
ข้อสอบโอเน็ต (onet eng)
ข้อสอบโอเน็ต (onet eng)ข้อสอบโอเน็ต (onet eng)
ข้อสอบโอเน็ต (onet eng)
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 

Ähnlich wie ลักษณะภาษาไทย

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยvinvin cocokurt
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2DisneyP
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 

Ähnlich wie ลักษณะภาษาไทย (20)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทย
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลีประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 

ลักษณะภาษาไทย