SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 32
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
 เรื่อง เซลล์
  กัลวานิก
เซลล์ไฟฟ้า
                เคมี
ไฟฟ้าเคมี (Electrochemistry) หมาย
ถึง การใช้ไฟฟ้าทำาให้เกิดการ
เปลียนแปลงทางเคมีและการเปลี่ยนแปลง
    ่
ทางเคมีทำาให้เกิดไฟฟ้า
              Galvanic
    พลังงาน                 พลังงาน
      เคมี
                 cell        ไฟฟ้า

  (ปฏิกรยา
       ิ ิ   Electrolytic   (กระแส
    เคมี)                   ไฟฟ้า)
                 cell
การทดลอง 9.2 การถ่ายโอน
     อิเล็กตรอนในเซลล์กัลวานิก

 Zn(s)                                   Cu(s)
Anode (-)         Salt bridge      Cathode (+)



         2
         e-
         Zn2+ +                 Cu2+ +
          SO42-                  SO42-
  Zn(s) → Zn2+         Cu2+(aq) + 2e-
  (aq) + 2e-           → Cu(s)
      Net: Zn(s) + Cu2+(aq) →
      Zn2+(aq) + Cu(s)
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
 anode                        cathode
oxidation                    reduction
การเขียนแผนภาพของ
           เซลล์กัลวานิก
• 1) เขียนครึ่งเซลล์ออกซิเดชันอยูทางซ้าย คั่นด้วย || แล้วเขียนครึ่ง
                                    ่
  เซลล์รีดักชันทางขวา ให้สารละลายอยูติดกับสะพานไอออน
                                          ่
• 2) | กั้นสถานะทีต่างกัน และ , กั้นสถานะเดียวกัน ระบุสถานะของสาร
                  ่
  โดยใช้ (s) (l) (g) (aq)
• 3) เซลล์แก๊สหรือเซลล์ทประกอบด้วยสารละลายอิเล็กโทไลต์มากกว่า
                            ี่
  1 ชนิด ใช้คั่วไฟฟ้าเฉื่อย เช่น Pt หรือ C และระบุความดันแก๊สใน
  วงเล็บเดียวกับสถานะทีเป็นแก๊ส ใช้ , คั่น เช่น
                          ่
   – Pt(s)|H2(g, 1 atm) |H+(aq)
   – C(s)|Fe3+(aq), Fe2+(aq)
• 4) การระบุความเข้มข้นของไอออนในสารละลายให้เขียนไว้ในวงเล็บ
แรงเคลือนไฟฟ้าของ
                 ่
                   เซลล์
• แรงเคลื่อนไฟฟ้า (electromotive force
  หรือ emf)
• ภาวะมาตรฐาน : ที่ 25๐C ความเข้มข้นของ
  สารละลาย 1 M และความดันของแก๊สเป็น 1
  atm
• ภายใต้ภาวะมาตรฐานแรงเคลื่อนไฟฟ้า →
                  Zn(s) + Cu2+(aq, 1M)
  มาตรฐาน หรือศักย์2+ฟฟ้าของเซลล์มาตรฐาน
                  Zn ไ (aq, 1 M) + Cu(s)
  ใช้สัญลักษณ์เป็น E๐cell
                    E๐cell = 1.10 v
ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจน
                    มาตรฐานมีศักย์ไฟฟ้า
      หรือ ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน
   มาตรฐาน 0.00 โวลต์ และใช้ในการเปรียบเทียบหา
   ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ชนิดต่างๆ
          Standard Hydrogen Electrode (

           Pt(s)|H2(g,1 atm)|H+(aq,1 M)



2H (1 M)
  +
              บนแพลทินัม
              แบลก          H2 (g,1Eatm)0 V
                                     0=
ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของ
         ครึ่งเซลล์



      ศักย์ไฟฟ้ารีดักชันมาตรฐาน
Standard reduction potential (E0) เป็น
ศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยารีดักชันที่ขั้วอิ
เล็กโทรด ณ ความเข้มข้นสารเป็น 1 M ที่
อุณหภูมิ 25๐ C ถ้าเป็นแก๊สกำาหนดให้ความ
ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของ
           0ครึ่งเซลล์
        E = 0.34 V
               cell




H2(g,1 atm) | H+(aq,1 M) || Cu2+(aq,1 M)
                      0        0        0
          Ecell = Ecathode – Eanode
         0.34 = ECu /Cu – 0.00
                    0              2+


           ECu 0/Cu = 0.34 V
                          2+


Cu2+(aq,1 M) + 2e-           Cu (s)         E0 = +
ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของ
       ครึ่งเซลล์

                    0          0
 E   0    =
         cell   Ered,(cathode) – Ered,(anode)
ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่ง
               0
                 =เซลล์
             E cell 0.76 V




) | Zn2+ (1 M) || H+ (1 M) | H2 (1 atm) |
            E0 cellEH0/H2 - 02+ /Zn
                = + EZn
            0.76 V = 0 -02+ /Zn
                             Ezn
 Zn2+ (1 M) + 2e-      Zn   E0 = -0.76 V
ศักย์ไฟฟ้า
      มาตรฐาน
• E0 เป็นค่าเฉพาะปฏิกิริยา
  ตามที่เขียน
• ค่า E0 เป็นบวกมากแสดง
  ว่าปฏิกิริยารีดักชันนั้นเกิด
  ได้ง่าย
• ครึ่งปฏิกิริยาเหล่านี้ผัน
  กลับได้
• สำาหรับปฏิกิริยาย้อนกลับ
  ให้ กลับ เครื่องหมายหน้า
  ค่า E0
การนำาข้อมูลในตาราง
  ไปใช้ประโยชน์
       1.ใช้เปรียบเทียบ
 ความสามารถในการเป็น
 ตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิ
 ไดส์
      2.ใช้คำานวณหาค่า
 ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของ
 เซลล์
      3.ใช้ทำานายได้ส่า
 ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เขียน
 แสดงไว้เกิดขึนได้จริง
               ้
เซลล์ไฟฟ้าเคมีทประกอบด้วย Cd electrode
                      ี่
     ในสารละลาย 1.0 M Cd(NO3)2 และ Cr
     electrode ในสารละลาย 1.0 M Cr(NO3)3 มี
     ค่าศั-กย์ไฟฟ้ามาตรฐานเป็นเท่าไร?
aq) + 2e       Cd (s) E = -0.40 V
                           0

 q) + 3e-      Cr (s) E0 = -0.74 V
ode (oxidation):
             Cr (s)      Cr3+ (1 M) + 3e-
                                     x2
 hode (reduction):2+ (1 M)
          2e- + Cd              Cd 3
                                 x (s)
 (s) + 3Cd2+ (1 M)          3Cd (s) + 2Cr3+ (
            E0 cellEcathode - Eanode
                = 0         0

           E0 = -0.40 – (-0.74)
                cell
             E0 cell 0.34 V
                 =
การเกิดขึ้นได้เองของปฏิกิริยา
            รีดอกซ์
E๐cell = E๐red(ปฏิกิริยารีดักชัน) – E๐r
ed(ปฏิกิริยาออกซิเดชัน)
  • ค่า E → เป็นบวก หมายถึง ปฏิกิริยา
  เกิดขึ้นได้เอง
  • ค่า E → เป็นลบ หมายถึง ปฏิกิริยาที่
  เกิดขึ้นเองไม่ได้
เซลล์ความเข้มข้น
     เป็นเซลล์กัลวานิกที่มีครึงเซลล์ทั้งสองเหมือนกัน
                              ่
แต่ตางกันที่ความเข้มข้น เมื่อต่อครบวงจร
      ่
อิเล็กตรอนจะไหลจากครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นน้อยไป
ยังครึงเซลล์ที่มีความเข้มข้นมาก แต่ปฏิกิริยาจะเกิดจาก
        ่
              e-                     e-
สารละลายที่มีความเข้ม0.0296 V
                        ข้นมากไปยังสารละลายที่มี
ความเข้มข้นน้อย         Na SO
Cu (s)                   2   4                       Cu (s)




     Cu2+(0.1 mol/dm3)           Cu2+(1.0 mol/dm3)
                รูปเซลล์ความเข้มข้น
ประเภทของเซลล์กัลวา
                     นิก
       เซลล์ปฐมภู                   เซลล์ทุติยภู
            มิ
-เซลล์ถ่านไฟฉาย                          มิ
                                 -เซลล์สะสมไฟฟ้า
                                 แบบตะกั่ว
-เซลล์แอลคาไลน์
                                 -เซลล์นิเกิล-
-เซลล์ปรอท
                                 แคดเมียม
-เซลล์เงิน
                                 -เซลล์โซเดียม-
-เซลล์เชือเพลิงไฮโดรเจน-
         ้                       ซัลเฟอร์
ออกซิเจน
-เซลล์เชือเพลิงไฮโดรเจน-
         ้
ออกซิเจนที่ไม่มี Na2CO3 เป็นอิ
เซลล์ปฐมภูมิ ห้งหรือเซลล์
   เซลล์ถ่ายไฟฉายหรือเซลล์แ
เลอคลังเช
ปฏิกิริยาที่เกิด                           ขั้วบวก
1. Anode (Oxidation)   Zn --> Zn2+ + 2e-
2. Cathode (Reduction)
2MnO2 + 2NH4 + + 2e- ---> Mnแท่3 + H2O + 2NH3
                               2O ง

                         ZnCl2 + NH4อน
                                คาร์บ Cl
ปฏิกิริยารวม (Redox)     + MnO2 + แป้งเปียก
Zn + 2MnO2 + 2NH4 + --->     กล่อง
                 Zn2+ + Mn2O3สั+กะสีO + 2NH3
                               ง H2

    Zn2+ รวมกับ NH3 เกิดสารประกอบเชิงซ้ขั้วลบ
                                          อน
[Zn(NH3)4]2+ และ [Zn(NH3)2(H2O)]2+] เพื่อรักษาความ
เข้มข้นของ Zn2+ & NH3 เซลล์แห้งชนิดนี้มีศักย์ไฟฟ้า
ประมาณ 1.5 Volts
เซลล์แอลคา
หลักการเหมือนกับถ่านไฟฉายแต่ใช้ด่าง KOH เป็นอิเล็กโทร
ไลต์แทน NH4Cl
           ไรด์
   ปฏิกิริยาที่เกิด
1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O +
2e-
2. Cathode (Reduction) 2MnO2 + H2O + + 2e- --->
Mn2O3 + 2OH-
ปฏิกิริยารวม (Redox)  Zn + 2MnO2 ---> ZnO +
Mn2O3

    เซลล์อัลคาไลน์มีศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 V แต่ใช้ได้
นานกว่าเซลล์แห้ง เพราะนำ้าและไฮดรอกไซด์ (OH-) ที่เกิด
ขึ้นในปฏิกิริยาหมุนเวียนกลับไปเป็นสารตั้งต้นของปฏิกิริยา
ได้อีก จึงทำาให้ศักย์คงที่ตลอดการใช้งานและใช้ได้นานกว่า
เซลล์ปรอท
     หลักการเหมือนกับเซลล์อัลคาไลน์ แต่ใช้เมอร์คิวรี (II)
ออกไซด์ ( HgO) แทนแมงกานีส (IV) ออกไซด์ (MnO2) และ
ใช้แผ่นเหล็กเป็นขั้วแคโทดส่วนอิเล็กโทรไลต์คือ KOH หรือ
NaOH ผสมกับ Zn(OH)2

   ปฏิกิริยาที่เกิด
1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O + 2e-
2. Cathode (Reduction) HgO + H2O + 2e- ---> Hg +
2OH-

   ปฏิกิริยารวม (Redox)    Zn + HgO ---> ZnO + Hg

     เซลล์ปรอทให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.3 Volts ให้กระแสไฟฟ้า
ตำ่า แต่มีข้อดีที่สามารถให้ศักย์ไฟฟ้าเกือบคงที่ตลอดอายุการใช้
งาน นิยมใช้กันมากในเครื่องฟังเสียงสำาหรับคนหูพิการ เครื่องคิด
เลข นาฬิกา กล้องถ่ายรูป เครื่องตรวจการเต้นของหัวใจ
เซลล์เงิปฏิกิริยาคล้ายกับเซลล์แอลคา
   มีส่วนประกอบและหลักการเกิด
                              น
ไลน์ คือใช้สังกะสีเป็นแอโนดและแผ่นเหล็กที่มีสัมผัสกับซิลเวอร์
ออกไซด์เป็นแคโทด

   ปฏิกิริยาที่เกิด
1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O + 2e-
2. Cathode (Reduction) Ag2O + H2O + + 2e- ---> 2Ag +
2OH-

ปฏิกิริยารวม (Redox) Zn + Ag2O ---> ZnO + 2Ag

   เซลล์เงินให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 Volts มีขนาดเล็กและ
มีอายุการใช้งานได้นานมากแต่มีราคาแพง จึงใช้กับอุปกรณ์หรือ
เครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด เช่น เครื่องคิดเลข นาฬิกา
กล้องถ่ายรูป เครื่องตรวจการเต้นของหัวใจ เครื่องช่วยฟัง
เซลล์เชื้อเพลิง
เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน

       ไฮโดรเจน-ออกซิเจน
   ประกอบด้วยแท่งคาร์บอนที่มรูพรุน 2 แท่งทำาหน้าที่เป็นขั้ว
                            ี
ไฟฟ้าที่ผิวของแท่งคาร์บอนมีผงแพลทินัมหรือแพลเลเดียม
ผสมยูเพื่อทำาหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ขั้วไฟฟ้าทั้งสองจุมอยู่
      ่                                                    ่
ในอิเล็กโทรไลต์ซึ่งอาจเป็นสารละลาย NaOH หรือ KOH

    ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
ที่แอโนด O2 (g) + 2H2O (l) + 4e- ------> 4OH-(aq)
ที่แคโทด 2H2(g) + 4OH-(aq) -----> 4H2O(l) + 4e-(s)
ปฏิกิริยารวม O2(g) + 2H2(g) -----> 2H2O(l)

   เนื่องจากปฏิกิรยาที่เกิดขึ้นมีการรับและการให้อิเล็กตรอน
                   ิ
จึงทำาให้มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น เซลล์นี้มศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.2
                                        ี
V เป็นเซลล์ที่มีราคาแพง จึงถูกนำาไปใช้ในเรือดำานำ้า
ยานอวกาศ ยานพาหนะ ที่ใช้ทางการทหารและกระสวยอวกาศ
เพราะนอกจากจะได้พลังงานไฟฟ้าแล้วยังได้นำ้าเป็นนำ้าดื่ม
เซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน-
    เซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้ใช้แก๊สโพรเพนผ่านไปในช่อง
แอโนด แก๊สออกซิเจนผ่านไปในช่องแคโทด และใช้สาร
 ออกซิเจน
ละลายกรดซัลฟิวริกเป็นอิเล็กโทรไลต์
    ปฏิกิริยาทีเกิดขึ้น
ที่แอโนด 5O2 (g) + 20H+ (aq) + 20e- ------>
10H2O(l)
ที่แคโทด C3H8(g) + 6H2O(l) -----> 3CO2(g) + 20H+
(aq)+ 20e-(s)
ปฏิกิริยารวม 5O2 (g) + C3H8(g) -----> 3CO2(g) + 4H
2
  O(l)




   ปฏิกิริยาในเซลล์เชือเพลิงโพรเพน-ออกซิเจนนี้
                      ้
เซลล์ทุตยภูมิ (เซลล์สะสมไฟฟ้า
            ิ
                แบบตะกั่ว)
   เซลล์นี้ใช้เป็นแหล่งพลังงานในรถยนต์หรือ
จักรยานยนต์เรียกชือว่า แบตเตอรี่ เซลล์สะสมไฟฟ้า
                    ่
แบบตะกั่ว เมื่อกระแสไฟฟ้าหมดสามารถประจุไฟนำา
กลับมาใช้ใหม่ได้อกแต่มีอายุการใช้งานระยะเวลาหนึ่ง
การทำางานมี 3     ี
เท่านั้น
ขั้น คือ                ขั้วแอโนด
 1) ประจุไฟครั้งแรก
                      (l) 2H2O ---->4H+(aq)
                      +O2(g)+4e-
                      Pb(s)+O2(g)---->PbO2(s)
                      ขั้วแคโทด
                                            2H +(aq)
                      +2e ----->H 2(g)
2) การจ่าย
ไฟ
             ขั้วแอโนด
              Pb(s)+SO42-(aq)---->PbSO4(s)+2e-
             ขั้วแคโทด
             PbO2(s)+4H+(aq)+SO42-(aq)+2e- ---
             >PbSO4(s)+2H2O(l)
             ปฏิกิรยาของเซลล์
                   ิ
             Pb(s)+PbO2(s)+4H+(aq)+2SO42-
             (aq)---->2PbSO4(s)+2H2O(l)
3) ประจุไฟครั้ง
ต่อ ๆ ไป
              ขั้วแคโทด
              PbSO4(s)+2e- ----->Pb(s)+SO42- (aq)
              ขั้วแอโนด
              PbSO4 (s)+2H2O(l)----> PbO2(s)+SO42-
              (aq) +4H +(aq) +2e-
              ปฏิกิรยาของเซลล์
                    ิ
              2PbSO4 (s)+2H2O(l)----> Pb(s)+PbO2(s
              +4H+(aq)+2SO42- (aq)
4.เซลล์ชนิดนี้ให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ
2 โวลต์ เมื่อนำาหลายๆเซลล์มาต่อกันแบบ
อนุกรมจะได้ศักย์ไฟฟ้าเพิมขึ้น เซลล์
                          ่
สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วนี้แม้วาเมื่อใช้กระแส
                            ่
ไฟฟ้าหมดแล้วจะสามารถประจุไฟเพือนำา ่
กลับมาใช้ใหม่ได้แต่ก็มีอายุการใช้งาน
ระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น เพราะแผ่นตะกั่วจะ
สึกกร่อนไปเรื่อยๆจนหมดสภาพการใช้งาน
หรือเซลล์นิแคด
      (Nickel-Cadmium
                  Cell)
    มีโลหะเมียมเป็นแอโนด นิกเกิล (IV)
ออกไซด์เป็นแคโทด และมีสารละลายเบสเป็นอิ
เล็กโทรไลต์ เซลล์นแคดให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ
                      ิ
1.4 โวลต์ เมื่อใช้งานจนศักย์ไฟฟ้าลดตำ่าลงแล้ว
สามารถนำามาประจุไฟได้ใหม่
          ปฏิกิริยาในระหว่างการประจุไฟจะเกิด
ย้อนกลับ กับปฏิกิริยาการจ่ายไฟ
                   เซลล์นแคดจึงมีข้อดีที่สามารถ
                         ิ
ใช้ได้เป็นระยะเวลานาน
ที่ขั้วแอโนด: Cd(s) + 2OH-(aq) Cd(OH)2(s) +
เซลล์โซเดียม–ซัลเฟอร์
       ใช้โซเดียมเหลวเป็นแอโนด และกำามะถันเหลว (
ผสมผงแกรไฟต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการนำาไฟฟ้า)
เป็นแคโทด มีบีตาอะลูมินาของผสมของออกไซด์ของ
โลหะ(Al , Mg , Na) ที่ยอมให้ Na+ เคลื่อนที่ผ่านได้
เป็นอิเล็กโทรไลต์ ระหว่างครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันกับ
ครึ่งปฏิกิริยารีดกชันคั่นด้วยเซรามิกที่มีรูพรุนเล็ก ๆ เพื่อ
                 ั
ให้โซเดียมไอออนผ่าน ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขั้วไฟฟ้าเป็น
ดังนี้
    แอโนด : 2Na (l) → 2Na+(aq) + 2e–
        แคโทด : S8(l) + 2e– → n S2–(l)
เซลล์สะสมไฟฟ้าชนิดนีให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ
                              ้
2.1 V และสามารถเปลี่ยนผลิตภัณฑ์กลับมาเป็นสาร
ตั้งต้นได้โดยการประจุหรืออัดไฟเช่นเดียวกับ
เซลล์ทุติยภูมิชนิดอื่น มีอายุการใช้งานนานกว่าเซลล์
สะสมไฟฟ้าแบบ แต่ต้องควบคุมอุณหภูมิของเซลล์
ให้ได้ประมาณ 250OC เพื่อทำาให้สารตั้งต้นและ
ผลิตภัณฑ์อยู่ในสภาพหลอมเหลว
เอกสารอ้างอิง
http://en.wikipedia.org/wiki/Galvanic_c

http://www.absoluteastronomy.com/en
ขอบคุณค่ะ
 สำาหรับ
การติดตาม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
krupatcharee
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
crazygno
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
Phattarawan Wai
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
Sutisa Tantikulwijit
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
Manchai
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
Jariya Jaiyot
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Arocha Chaichana
 

Was ist angesagt? (20)

สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 

Andere mochten auch

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
10846
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
Jariya Jaiyot
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
Phasitta Chem
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
jirat266
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
krumanop
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
Nutsara Mukda
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
Napajit
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
Som Kechacupt
 

Andere mochten auch (20)

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Renewable energy sources
Renewable energy sourcesRenewable energy sources
Renewable energy sources
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
 
ปฏิบัติการเคมี4 2.1
ปฏิบัติการเคมี4 2.1ปฏิบัติการเคมี4 2.1
ปฏิบัติการเคมี4 2.1
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
Electric chem8
Electric chem8Electric chem8
Electric chem8
 
เซลล์ไฟฟ้า
เซลล์ไฟฟ้าเซลล์ไฟฟ้า
เซลล์ไฟฟ้า
 
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 

Ähnlich wie ไฟฟ้าเคมี

Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
nantita
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
ssuserb3caf5
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
kruannchem
 
Chem
ChemChem
Chem
aom08
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
Wirun
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
3cha_sp
 

Ähnlich wie ไฟฟ้าเคมี (20)

Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Chem
ChemChem
Chem
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 

ไฟฟ้าเคมี

  • 2. เซลล์ไฟฟ้า เคมี ไฟฟ้าเคมี (Electrochemistry) หมาย ถึง การใช้ไฟฟ้าทำาให้เกิดการ เปลียนแปลงทางเคมีและการเปลี่ยนแปลง ่ ทางเคมีทำาให้เกิดไฟฟ้า Galvanic พลังงาน พลังงาน เคมี cell ไฟฟ้า (ปฏิกรยา ิ ิ Electrolytic (กระแส เคมี) ไฟฟ้า) cell
  • 3. การทดลอง 9.2 การถ่ายโอน อิเล็กตรอนในเซลล์กัลวานิก Zn(s) Cu(s) Anode (-) Salt bridge Cathode (+) 2 e- Zn2+ + Cu2+ + SO42- SO42- Zn(s) → Zn2+ Cu2+(aq) + 2e- (aq) + 2e- → Cu(s) Net: Zn(s) + Cu2+(aq) → Zn2+(aq) + Cu(s)
  • 5. การเขียนแผนภาพของ เซลล์กัลวานิก • 1) เขียนครึ่งเซลล์ออกซิเดชันอยูทางซ้าย คั่นด้วย || แล้วเขียนครึ่ง ่ เซลล์รีดักชันทางขวา ให้สารละลายอยูติดกับสะพานไอออน ่ • 2) | กั้นสถานะทีต่างกัน และ , กั้นสถานะเดียวกัน ระบุสถานะของสาร ่ โดยใช้ (s) (l) (g) (aq) • 3) เซลล์แก๊สหรือเซลล์ทประกอบด้วยสารละลายอิเล็กโทไลต์มากกว่า ี่ 1 ชนิด ใช้คั่วไฟฟ้าเฉื่อย เช่น Pt หรือ C และระบุความดันแก๊สใน วงเล็บเดียวกับสถานะทีเป็นแก๊ส ใช้ , คั่น เช่น ่ – Pt(s)|H2(g, 1 atm) |H+(aq) – C(s)|Fe3+(aq), Fe2+(aq) • 4) การระบุความเข้มข้นของไอออนในสารละลายให้เขียนไว้ในวงเล็บ
  • 6. แรงเคลือนไฟฟ้าของ ่ เซลล์ • แรงเคลื่อนไฟฟ้า (electromotive force หรือ emf) • ภาวะมาตรฐาน : ที่ 25๐C ความเข้มข้นของ สารละลาย 1 M และความดันของแก๊สเป็น 1 atm • ภายใต้ภาวะมาตรฐานแรงเคลื่อนไฟฟ้า → Zn(s) + Cu2+(aq, 1M) มาตรฐาน หรือศักย์2+ฟฟ้าของเซลล์มาตรฐาน Zn ไ (aq, 1 M) + Cu(s) ใช้สัญลักษณ์เป็น E๐cell E๐cell = 1.10 v
  • 7. ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจน มาตรฐานมีศักย์ไฟฟ้า หรือ ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน มาตรฐาน 0.00 โวลต์ และใช้ในการเปรียบเทียบหา ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ชนิดต่างๆ Standard Hydrogen Electrode ( Pt(s)|H2(g,1 atm)|H+(aq,1 M) 2H (1 M) + บนแพลทินัม แบลก H2 (g,1Eatm)0 V 0=
  • 8. ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของ ครึ่งเซลล์ ศักย์ไฟฟ้ารีดักชันมาตรฐาน Standard reduction potential (E0) เป็น ศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยารีดักชันที่ขั้วอิ เล็กโทรด ณ ความเข้มข้นสารเป็น 1 M ที่ อุณหภูมิ 25๐ C ถ้าเป็นแก๊สกำาหนดให้ความ
  • 9. ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของ 0ครึ่งเซลล์ E = 0.34 V cell H2(g,1 atm) | H+(aq,1 M) || Cu2+(aq,1 M) 0 0 0 Ecell = Ecathode – Eanode 0.34 = ECu /Cu – 0.00 0 2+ ECu 0/Cu = 0.34 V 2+ Cu2+(aq,1 M) + 2e- Cu (s) E0 = +
  • 10. ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของ ครึ่งเซลล์ 0 0 E 0 = cell Ered,(cathode) – Ered,(anode)
  • 11. ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่ง 0 =เซลล์ E cell 0.76 V ) | Zn2+ (1 M) || H+ (1 M) | H2 (1 atm) | E0 cellEH0/H2 - 02+ /Zn = + EZn 0.76 V = 0 -02+ /Zn Ezn Zn2+ (1 M) + 2e- Zn E0 = -0.76 V
  • 12. ศักย์ไฟฟ้า มาตรฐาน • E0 เป็นค่าเฉพาะปฏิกิริยา ตามที่เขียน • ค่า E0 เป็นบวกมากแสดง ว่าปฏิกิริยารีดักชันนั้นเกิด ได้ง่าย • ครึ่งปฏิกิริยาเหล่านี้ผัน กลับได้ • สำาหรับปฏิกิริยาย้อนกลับ ให้ กลับ เครื่องหมายหน้า ค่า E0
  • 13. การนำาข้อมูลในตาราง ไปใช้ประโยชน์ 1.ใช้เปรียบเทียบ ความสามารถในการเป็น ตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิ ไดส์ 2.ใช้คำานวณหาค่า ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของ เซลล์ 3.ใช้ทำานายได้ส่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เขียน แสดงไว้เกิดขึนได้จริง ้
  • 14. เซลล์ไฟฟ้าเคมีทประกอบด้วย Cd electrode ี่ ในสารละลาย 1.0 M Cd(NO3)2 และ Cr electrode ในสารละลาย 1.0 M Cr(NO3)3 มี ค่าศั-กย์ไฟฟ้ามาตรฐานเป็นเท่าไร? aq) + 2e Cd (s) E = -0.40 V 0 q) + 3e- Cr (s) E0 = -0.74 V ode (oxidation): Cr (s) Cr3+ (1 M) + 3e- x2 hode (reduction):2+ (1 M) 2e- + Cd Cd 3 x (s) (s) + 3Cd2+ (1 M) 3Cd (s) + 2Cr3+ ( E0 cellEcathode - Eanode = 0 0 E0 = -0.40 – (-0.74) cell E0 cell 0.34 V =
  • 15. การเกิดขึ้นได้เองของปฏิกิริยา รีดอกซ์ E๐cell = E๐red(ปฏิกิริยารีดักชัน) – E๐r ed(ปฏิกิริยาออกซิเดชัน) • ค่า E → เป็นบวก หมายถึง ปฏิกิริยา เกิดขึ้นได้เอง • ค่า E → เป็นลบ หมายถึง ปฏิกิริยาที่ เกิดขึ้นเองไม่ได้
  • 16. เซลล์ความเข้มข้น เป็นเซลล์กัลวานิกที่มีครึงเซลล์ทั้งสองเหมือนกัน ่ แต่ตางกันที่ความเข้มข้น เมื่อต่อครบวงจร ่ อิเล็กตรอนจะไหลจากครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นน้อยไป ยังครึงเซลล์ที่มีความเข้มข้นมาก แต่ปฏิกิริยาจะเกิดจาก ่ e- e- สารละลายที่มีความเข้ม0.0296 V ข้นมากไปยังสารละลายที่มี ความเข้มข้นน้อย Na SO Cu (s) 2 4 Cu (s) Cu2+(0.1 mol/dm3) Cu2+(1.0 mol/dm3) รูปเซลล์ความเข้มข้น
  • 17. ประเภทของเซลล์กัลวา นิก เซลล์ปฐมภู เซลล์ทุติยภู มิ -เซลล์ถ่านไฟฉาย มิ -เซลล์สะสมไฟฟ้า แบบตะกั่ว -เซลล์แอลคาไลน์ -เซลล์นิเกิล- -เซลล์ปรอท แคดเมียม -เซลล์เงิน -เซลล์โซเดียม- -เซลล์เชือเพลิงไฮโดรเจน- ้ ซัลเฟอร์ ออกซิเจน -เซลล์เชือเพลิงไฮโดรเจน- ้ ออกซิเจนที่ไม่มี Na2CO3 เป็นอิ
  • 18. เซลล์ปฐมภูมิ ห้งหรือเซลล์ เซลล์ถ่ายไฟฉายหรือเซลล์แ เลอคลังเช ปฏิกิริยาที่เกิด ขั้วบวก 1. Anode (Oxidation) Zn --> Zn2+ + 2e- 2. Cathode (Reduction) 2MnO2 + 2NH4 + + 2e- ---> Mnแท่3 + H2O + 2NH3 2O ง ZnCl2 + NH4อน คาร์บ Cl ปฏิกิริยารวม (Redox) + MnO2 + แป้งเปียก Zn + 2MnO2 + 2NH4 + ---> กล่อง Zn2+ + Mn2O3สั+กะสีO + 2NH3 ง H2 Zn2+ รวมกับ NH3 เกิดสารประกอบเชิงซ้ขั้วลบ อน [Zn(NH3)4]2+ และ [Zn(NH3)2(H2O)]2+] เพื่อรักษาความ เข้มข้นของ Zn2+ & NH3 เซลล์แห้งชนิดนี้มีศักย์ไฟฟ้า ประมาณ 1.5 Volts
  • 19. เซลล์แอลคา หลักการเหมือนกับถ่านไฟฉายแต่ใช้ด่าง KOH เป็นอิเล็กโทร ไลต์แทน NH4Cl ไรด์ ปฏิกิริยาที่เกิด 1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O + 2e- 2. Cathode (Reduction) 2MnO2 + H2O + + 2e- ---> Mn2O3 + 2OH- ปฏิกิริยารวม (Redox) Zn + 2MnO2 ---> ZnO + Mn2O3 เซลล์อัลคาไลน์มีศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 V แต่ใช้ได้ นานกว่าเซลล์แห้ง เพราะนำ้าและไฮดรอกไซด์ (OH-) ที่เกิด ขึ้นในปฏิกิริยาหมุนเวียนกลับไปเป็นสารตั้งต้นของปฏิกิริยา ได้อีก จึงทำาให้ศักย์คงที่ตลอดการใช้งานและใช้ได้นานกว่า
  • 20. เซลล์ปรอท หลักการเหมือนกับเซลล์อัลคาไลน์ แต่ใช้เมอร์คิวรี (II) ออกไซด์ ( HgO) แทนแมงกานีส (IV) ออกไซด์ (MnO2) และ ใช้แผ่นเหล็กเป็นขั้วแคโทดส่วนอิเล็กโทรไลต์คือ KOH หรือ NaOH ผสมกับ Zn(OH)2 ปฏิกิริยาที่เกิด 1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O + 2e- 2. Cathode (Reduction) HgO + H2O + 2e- ---> Hg + 2OH- ปฏิกิริยารวม (Redox) Zn + HgO ---> ZnO + Hg เซลล์ปรอทให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.3 Volts ให้กระแสไฟฟ้า ตำ่า แต่มีข้อดีที่สามารถให้ศักย์ไฟฟ้าเกือบคงที่ตลอดอายุการใช้ งาน นิยมใช้กันมากในเครื่องฟังเสียงสำาหรับคนหูพิการ เครื่องคิด เลข นาฬิกา กล้องถ่ายรูป เครื่องตรวจการเต้นของหัวใจ
  • 21. เซลล์เงิปฏิกิริยาคล้ายกับเซลล์แอลคา มีส่วนประกอบและหลักการเกิด น ไลน์ คือใช้สังกะสีเป็นแอโนดและแผ่นเหล็กที่มีสัมผัสกับซิลเวอร์ ออกไซด์เป็นแคโทด ปฏิกิริยาที่เกิด 1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O + 2e- 2. Cathode (Reduction) Ag2O + H2O + + 2e- ---> 2Ag + 2OH- ปฏิกิริยารวม (Redox) Zn + Ag2O ---> ZnO + 2Ag เซลล์เงินให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 Volts มีขนาดเล็กและ มีอายุการใช้งานได้นานมากแต่มีราคาแพง จึงใช้กับอุปกรณ์หรือ เครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด เช่น เครื่องคิดเลข นาฬิกา กล้องถ่ายรูป เครื่องตรวจการเต้นของหัวใจ เครื่องช่วยฟัง
  • 22. เซลล์เชื้อเพลิง เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน ไฮโดรเจน-ออกซิเจน ประกอบด้วยแท่งคาร์บอนที่มรูพรุน 2 แท่งทำาหน้าที่เป็นขั้ว ี ไฟฟ้าที่ผิวของแท่งคาร์บอนมีผงแพลทินัมหรือแพลเลเดียม ผสมยูเพื่อทำาหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ขั้วไฟฟ้าทั้งสองจุมอยู่ ่ ่ ในอิเล็กโทรไลต์ซึ่งอาจเป็นสารละลาย NaOH หรือ KOH ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ที่แอโนด O2 (g) + 2H2O (l) + 4e- ------> 4OH-(aq) ที่แคโทด 2H2(g) + 4OH-(aq) -----> 4H2O(l) + 4e-(s) ปฏิกิริยารวม O2(g) + 2H2(g) -----> 2H2O(l) เนื่องจากปฏิกิรยาที่เกิดขึ้นมีการรับและการให้อิเล็กตรอน ิ จึงทำาให้มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น เซลล์นี้มศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.2 ี V เป็นเซลล์ที่มีราคาแพง จึงถูกนำาไปใช้ในเรือดำานำ้า ยานอวกาศ ยานพาหนะ ที่ใช้ทางการทหารและกระสวยอวกาศ เพราะนอกจากจะได้พลังงานไฟฟ้าแล้วยังได้นำ้าเป็นนำ้าดื่ม
  • 23. เซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน- เซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้ใช้แก๊สโพรเพนผ่านไปในช่อง แอโนด แก๊สออกซิเจนผ่านไปในช่องแคโทด และใช้สาร ออกซิเจน ละลายกรดซัลฟิวริกเป็นอิเล็กโทรไลต์ ปฏิกิริยาทีเกิดขึ้น ที่แอโนด 5O2 (g) + 20H+ (aq) + 20e- ------> 10H2O(l) ที่แคโทด C3H8(g) + 6H2O(l) -----> 3CO2(g) + 20H+ (aq)+ 20e-(s) ปฏิกิริยารวม 5O2 (g) + C3H8(g) -----> 3CO2(g) + 4H 2 O(l) ปฏิกิริยาในเซลล์เชือเพลิงโพรเพน-ออกซิเจนนี้ ้
  • 24. เซลล์ทุตยภูมิ (เซลล์สะสมไฟฟ้า ิ แบบตะกั่ว) เซลล์นี้ใช้เป็นแหล่งพลังงานในรถยนต์หรือ จักรยานยนต์เรียกชือว่า แบตเตอรี่ เซลล์สะสมไฟฟ้า ่ แบบตะกั่ว เมื่อกระแสไฟฟ้าหมดสามารถประจุไฟนำา กลับมาใช้ใหม่ได้อกแต่มีอายุการใช้งานระยะเวลาหนึ่ง การทำางานมี 3 ี เท่านั้น ขั้น คือ ขั้วแอโนด 1) ประจุไฟครั้งแรก (l) 2H2O ---->4H+(aq) +O2(g)+4e- Pb(s)+O2(g)---->PbO2(s) ขั้วแคโทด 2H +(aq) +2e ----->H 2(g)
  • 25. 2) การจ่าย ไฟ ขั้วแอโนด Pb(s)+SO42-(aq)---->PbSO4(s)+2e- ขั้วแคโทด PbO2(s)+4H+(aq)+SO42-(aq)+2e- --- >PbSO4(s)+2H2O(l) ปฏิกิรยาของเซลล์ ิ Pb(s)+PbO2(s)+4H+(aq)+2SO42- (aq)---->2PbSO4(s)+2H2O(l)
  • 26. 3) ประจุไฟครั้ง ต่อ ๆ ไป ขั้วแคโทด PbSO4(s)+2e- ----->Pb(s)+SO42- (aq) ขั้วแอโนด PbSO4 (s)+2H2O(l)----> PbO2(s)+SO42- (aq) +4H +(aq) +2e- ปฏิกิรยาของเซลล์ ิ 2PbSO4 (s)+2H2O(l)----> Pb(s)+PbO2(s +4H+(aq)+2SO42- (aq)
  • 27. 4.เซลล์ชนิดนี้ให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 2 โวลต์ เมื่อนำาหลายๆเซลล์มาต่อกันแบบ อนุกรมจะได้ศักย์ไฟฟ้าเพิมขึ้น เซลล์ ่ สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วนี้แม้วาเมื่อใช้กระแส ่ ไฟฟ้าหมดแล้วจะสามารถประจุไฟเพือนำา ่ กลับมาใช้ใหม่ได้แต่ก็มีอายุการใช้งาน ระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น เพราะแผ่นตะกั่วจะ สึกกร่อนไปเรื่อยๆจนหมดสภาพการใช้งาน
  • 28. หรือเซลล์นิแคด (Nickel-Cadmium Cell) มีโลหะเมียมเป็นแอโนด นิกเกิล (IV) ออกไซด์เป็นแคโทด และมีสารละลายเบสเป็นอิ เล็กโทรไลต์ เซลล์นแคดให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ ิ 1.4 โวลต์ เมื่อใช้งานจนศักย์ไฟฟ้าลดตำ่าลงแล้ว สามารถนำามาประจุไฟได้ใหม่ ปฏิกิริยาในระหว่างการประจุไฟจะเกิด ย้อนกลับ กับปฏิกิริยาการจ่ายไฟ เซลล์นแคดจึงมีข้อดีที่สามารถ ิ ใช้ได้เป็นระยะเวลานาน ที่ขั้วแอโนด: Cd(s) + 2OH-(aq) Cd(OH)2(s) +
  • 29. เซลล์โซเดียม–ซัลเฟอร์ ใช้โซเดียมเหลวเป็นแอโนด และกำามะถันเหลว ( ผสมผงแกรไฟต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการนำาไฟฟ้า) เป็นแคโทด มีบีตาอะลูมินาของผสมของออกไซด์ของ โลหะ(Al , Mg , Na) ที่ยอมให้ Na+ เคลื่อนที่ผ่านได้ เป็นอิเล็กโทรไลต์ ระหว่างครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันกับ ครึ่งปฏิกิริยารีดกชันคั่นด้วยเซรามิกที่มีรูพรุนเล็ก ๆ เพื่อ ั ให้โซเดียมไอออนผ่าน ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขั้วไฟฟ้าเป็น ดังนี้ แอโนด : 2Na (l) → 2Na+(aq) + 2e– แคโทด : S8(l) + 2e– → n S2–(l)
  • 30. เซลล์สะสมไฟฟ้าชนิดนีให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ ้ 2.1 V และสามารถเปลี่ยนผลิตภัณฑ์กลับมาเป็นสาร ตั้งต้นได้โดยการประจุหรืออัดไฟเช่นเดียวกับ เซลล์ทุติยภูมิชนิดอื่น มีอายุการใช้งานนานกว่าเซลล์ สะสมไฟฟ้าแบบ แต่ต้องควบคุมอุณหภูมิของเซลล์ ให้ได้ประมาณ 250OC เพื่อทำาให้สารตั้งต้นและ ผลิตภัณฑ์อยู่ในสภาพหลอมเหลว