SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 29
Downloaden Sie, um offline zu lesen
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
สค 30229
กฎหมายลิขสิทธิ์ในครั้งแรกโดยมีผลบังคับใช้
เมื่อปี พ.ศ. 2537
ลิขสิทธิ์ (CopyRight) หมายถึง สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรอง
ให้ผู้สร้างสรรค์กระทําการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทําขึ้น อัน
ได้แก่ สิทธิที่จะทําซ้ํา ดัดแปลง หรือนําออกโฆษณา ไม่ว่าใน
รูปลักษณะอย่าง ใดหรือวิธีใด ลิขสิทธิ์เป็นผลงานที่เกิดจากการใช้
สติปัญญาความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะ
ของตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น ซึ่งถือ
ว่าเป็น “ทรัพย์สินทางปัญญา”
กฎหมายลิขสิทธิ์ให้
คุ้มครอง โดยผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองทันทีที่
สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียน
กฎหมายลิขสิทธิ์มี 9 ประเภท
1. งานวรรณกรรม (หนังสือ จุลสาร สิ่งพิมพ์ คําปราศรัย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ)
2. งานนาฏกรรม (ท่ารํา ท่าเต้นฯลฯ)
3. งานศิลปกรรม (จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ศิลปประยุกต์ฯลฯ)
4. งานดนตรีกรรม (ทํานอง ทํานองและเนื้อร้อง ฯลฯ)
5. งานสิ่งบันทึกเสียง ( เทป ซีดี)
6. งานโสตทัศนวัสดุ (วีซีดี ดีวีดี ที่มีภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง)
7. งานภาพยนตร์
8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ ( เช่น ฝนเทียม แก้มลิง)
การโอนสิทธิ์ในลิขสิทธิ์ ผู้มีลิขสิทธิ์ จะเป็นบุคคล
หรือกลุ่มบุคคลมีสิทธิ์เป็นเจ้าของ ต่อไปนี้
1. ผู้สร้างสรรค์งานขึ้นใหม่ ทั้งที่สร้างสรรค์งานด้วยตนเองเพียงผู้เดียว หรือผู้
สร้างสรรค์งาน ร่วมกัน
2. ผู้สร้างสรรค์ในฐานะพนักงาน หรือลูกจ้าง
3. ผู้ว่าจ้าง
4. ผู้รวบรวมหรือประกอบกันเข้า
5. กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่น
6. ผู้รับโอนลิขสิทธิ์
7. ผู้สร้างสรรค์ซึ่งเป็นคนชาติภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศ เช่น
อนุสัญญากรุงเบอร์น และ ประเทศในภาคีสมาชิกโองการค้าโลก
8. ผู้พิมพ์โฆษณางานที่ใช้นามแฝงหรือนามปากกาที่ไม่ปรากฏชื่อผู้
สร้างสรรค์
การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์
กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์
ได้รับทําให้มีการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์เพื่อใช้เป็น
ฐานข้อมูลและรวบรวมข้อมูลการแจ้งข้อมูล
ลิขสิทธิ์ ไม่ได้หมายความว่าจะทําให้ผู้แจ้งได้รับ
สิทธิ์ในผลงานนั้น หรือเป็นเจ้าของ ลิขสิทธิ์
ความเป็นมาของกฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
พ.ศ.2445 ในรัชกาลที่ 5 เพื่อป้ องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ใน
งานวรรณกรรม (Literary) เรื่อง “วัชิรญาณวิเศษ”
รัชกาลที่ 6 โดยยังคงเน้น งานด้านวรรณกรรม พ.ศ. 2474
สมัยรัชกาลที่ 7 ได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายฉบับนี้มีความ
สมบรูณ์ครอบคลุมงานอื่น ๆ ปีพ.ศ.2537 รัฐบาลได้ตรา
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ และกฎหมายฉบับนี้ถูกใช้มาจนถึง
ปัจจุบัน
จงตอบคําถามต่อไปนี้
1. จงบอกความหมายของคําว่า “ลิขสิทธิ์”
2. ในฐานะที่นักศึกษาเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์จงบอกวิธีการ
ปกป้ องคุ้มครองสิทธิ์ในงานสร้างสรรค์ของตนเอง อธิบาย
พอสังเขป
3. จงบอกประโยชน์ของกฎหมายลิขสิทธิ์มา 1 ข้อ
4. ท่านคิดว่าปัจจัยใดสามารนําไปสู่การคุ้มครองทรัพย์สิน
ทางปัญญาได้อย่างดีที่สุด
ผลงานที่ได้รับลิขสิทธิ์ด้านต่างๆ
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
ผู้สร้างสรรค์ หมายความว่า ผู้ทําหรือผู้ก่อให้เกิด
งานสร้างสรรค์อย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นงานอันมี
ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้
ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 ได้
กําหนดงานอันมีลิขสิทธิ์ ดังนี้
1. งานวรรณกรรม
2. งานนาฏกรรม
3. งานศิลปกรรม
4. งานดนตรีกรรม
5. งานโสตทัศนวัสดุ
6. งานภาพยนตร์
7. งานสิ่งบันทึกเสียง
8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนก
ศิลปะ
ฝนเทียม หรือฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนําน้ําจากฟ้ า ใช้
เครื่องบินบรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้ า โดยดูจากความชื้นของ
เมฆและสภาพทิศทางลมประกอบกัน ปัจจัยสําคัญที่ทําให้เกิดฝนคือ
ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพใน
ปริมาณที่เหมาะสม
แก้มลิง เป็นแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอ
ดุลยเดช ปัจจุบันมีพื้นที่ แก้มลิงขนาดใหญ่อยู่ทางฝั่งตะวันออกของ
กรุงเทพ เหนือท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ โดยกําหนดในผังการใช้ที่ดิน
เป็นพื้นที่เขียวลาย ไม่เหมาะกับการพัฒนา นอกจากนี้ยังมีแก้มลิง
เล็กใหญ่กระจายอยู่ทั่ว กทม. กว่า 20 จุด
กิจกรรมท้ายบท
1. จงยกตัวอย่างผลงานที่ได้รับลิขสิทธิ์ประเภท
นาฏกรรม มา 1 อย่าง
2. ในฐานะพลเมืองไทย ท่านมีวิธีการใดที่จะส่งเสริมให้
บุคคลอื่นเกิดความตระหนักและไม่กระทําการใด ๆ อัน
เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
ขอบเขตคุ้มครองงานสร้างสรรค์
การให้ความคุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เป็นการให้ความคุ้มครองแก่ งาน
สร้างสรรค์ อันมีลิขสิทธิ์ทันทีที่สร้างงานนั้นเสร็จ หรือ เป็น
การให้ ความคุ้มครองโดยอัตโนมัติ (automatic
protection) ไม่มีแบบพิธี (non-Formality) ไม่ต้อง
นํางานอันมีลิขสิทธิ์ไปขอจดทะเบียนแต่อย่างใด
1. ทําซ้ําหรือว่าดัดแปลง
2. เผยแพร่ต่อสาธารณชน
3. ให้เช่าต้นฉบับหรือทํางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์
และสิ่งบันทึกเสียง
4. ให้ประโยชน์อันเกิดจาก ลิขสิทธิ์ แก่ผู้อื่น
5. อนุญาตให้ผู้อื่นให้สิทธิ์ดังกล่าวข้างต้น โดยจะกําหนดเงื่อนไงอย่างใดอย่าง
หนึ่ง
ทําซํ้า หมายความรวมถึง คัดลอกไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ
เลียนแบบ ทําสําเนา ทําแม่พิมพ์ บันทึกเสียง บันทึกภาพ
หรือบันทึกเสียงและภาพ จากต้นฉบับ
ดัดแปลง หมายความว่า ทําซํ้าโดยเปลี่ยนรูปใหม่
ปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติม หรือจําลองงานต้นฉบับ
ในส่วนอันเป็นสาระสําคัญโดยไม่มีลักษณะเป็นการจัด
ทํางานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน
(1) ในส่วนที่เกี่ยวกับวรรณกรรม ให้หมายความรวมถึง แปลวรรณกรรม เปลี่ยนรูปวรรณกรรม
หรือรวบรวมวรรณกรรมโดยคัดเลือกและจัดลําดับใหม่
(2) ในส่วนที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้หมายความรวมถึง ทําซ้ําโดยเปลี่ยนรูปใหม่
ปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในส่วนอันเป็นสาระสําคัญ โดยไม่มีลักษณะเป็นการจัดทํา
ขึ้นใหม่
(3) ในส่วนที่เกี่ยวกับนาฏกรรม ให้หมายความรวมถึง เปลี่ยนงานที่มิใช่นาฏกรรมให้เป็น นาฏกรรม
หรือเปลี่ยนนาฏกรรมให้เป็นงานที่มิใช่นาฏกรรม ทั้งนี้ ไม่ว่าในภาษาเดิมหรือต่างภาษากัน
(4) ในส่วนที่เกี่ยวกับศิลปกรรม ให้หมายความรวมถึง เปลี่ยนงานที่เป็นรูปสองมิติหรือสามมิติ ให้
เป็นรูปสามมิติหรือสองมิติ หรือทําหุ่นจําลองจากงานต้นฉบับ
(5) ในส่วนที่เกี่ยวกับดนตรีกรรม ให้หมายความรวมถึง จัดลําดับเรียบเรียงเสียงประสาน หรือ
เปลี่ยนคําร้องหรือทํานองใหม่
เผยแพร่ต่อสาธารณชน หมายความว่า ทําให้ปรากฏต่อ
สาธารณชน โดยการแสดง การบรรยาย การสวด การ
บรรเลง การทําให้ปรากฏด้วยเสียงและหรือภาพ การ
ก่อสร้าง การจําหน่าย
การโฆษณา หมายความว่า การนําสําเนาจําลองของงานไม่ว่า
ในรูปหรือลักษณะอย่างใดที่ทําขึ้นโดยความยินยอมของผู้
สร้างสรรค์ออกจําหน่าย
กิจกรรมท้ายบท
ให้นักศึกษายกตัวอย่างการทําซํ้า
หรือดัดแปลง ว่าสามารถกระทําได้
ในลักษณะใดบ้างให้ยกตัวอย่างมา
1 ตัวอย่าง
ลิขสิทธิ์ของลูกจ้าง
กรณีเมื่อลูกจ้างรับทราบสิทธิในงานสร้างสรรค์ของตนซึ่งทําเพื่อสถาน
ประกอบการได้ ชัดเจน ถ้านายจ้างต้องการให้งานสร้างสรรค์อันเป็น
ประโยชน์ต่อหน่วยงานสามารถนําไปใช้ได้ยาวนาน แม้
ลูกจ้างคนนั้นจักลาออกไป ย่อมมีวิธีแก้ไขโดยการทําหนังสือข้อตกลง
โอนลิขสิทธิ์ในงานชิ้นนั้นระหว่าง นายจ้างและลูกจ้างให้ชัดเจน
ระยะเวลาในการใช้งานซึ่งลูกจ้างสร้างสรรค์ขึ้น นายจ้างย่อมมีสิทธิใ ช้
ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์แห่งการจ้างแรงงานโดยอํานาจของ
กฎหมายเพียงเท่าที่ผู้สร้างสรรค์ยังคงเป็นลูกจ้างอยู่
งานที่ไม่มีลิขสิทธิ์
หมายความว่า ทุกคนสามารถนําชิ้นงาน ทั้งหมดหรือบางส่วนไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือ
ส่วนรวมได้โดยไม่ต้องขออนุญาตหรือจ่ายค่าตอบแทนก่อน อันได้แก่
(1) ข่าวประจําวัน และข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารอันมิใช่งานในแผนก
วรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ
(2) รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
(3) ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คําสั่ง คําชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม
หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น
(4) คําพิพากษา คําสั่ง คําวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
(5) คําแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงาน
อื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่นจัดทําขึ้น
การละเมิดลิขสิทธิ์
การละเมิดลิขสิทธิ์ มี 2 ประเภท ได้แก่
1.การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง การทําซํ้า
ดัดแปลง เผยแพร่โปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม กระทําทาง
การค้า
มาตรา 32 การกระทําแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่น
ตามพระราชบัญญัตินี้ไม่ถือว่าเป็นการละเมิด
1) วิจัยหรือศึกษางานนั้น อันมิใช่การกระทําเพื่อหากําไร
(2) ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือเพื่อประโยชน์ของตนเองและบุคคลอื่นในครอบครัว
หรือ ญาติสนิท
(3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนําผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น
(4) เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น
(5) ทําซ้ํา ดัดแปลง นําออกแสดง หรือทําให้ปรากฏ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาของศาล
หรือ เจ้าพนักงานซึ่งมีอํานาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว
(6) ทําซ้ํา ดัดแปลง นําออกแสดง หรือทําให้ปรากฏโดยผู้สอน เพื่อประโยชน์ในการสอนของ
ตน อันมิใช่การกระทําเพื่อหากําไร
มาตรา 33 การกล่าว คัด ลอก เลียน หรืออ้างอิงงานบางตอน
ตามสมควรจากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยมี
การรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น มิให้ถือว่าเป็น
การละเมิดลิขสิทธิ์
มาตรา 34 การทําซํ้าโดยบรรณารักษ์ของห้องสมุดซึ่งงาน
อันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ มิให้
ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์หากการทําซํ้านั้นมิได้มี
วัตถุประสงค์เพื่อหากําไร
35 การกระทําแก่โปรแกรมคอมพิวเตอร์อันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ มิให้ถือว่า
เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ หากไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อหากําไร
(1) วิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(2) ใช้เพื่อประโยชน์ของเจ้าของสําเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนําผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(4) เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(5) ทําสําเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในจํานวนที่สมควรโดยบุคคลผู้ซึ่งได้ซื้อหรือได้รับโปรแกรม
นั้นมาจากบุคคลอื่นโดยถูกต้อง เพื่อเก็บไว้ใช้ประโยชน์ในการบํารุงรักษาหรือป้ องกันการสูญหาย
(6) ทําซ้ํา ดัดแปลง นําออกแสดง หรือทําให้ปรากฏเพื่อประโยชน์ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานซึ่งมี
อํานาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว
(7) นําโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ
(8) ดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในกรณีที่จําเป็นแก่การใช้
(9) จัดทําสําเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเก็บรักษาไว้สําหรับการอ้างอิง หรือค้นคว้าเพื่อ
ประโยชน์ของสาธารณชน
มาตรา 37 การวาดเขียน การเขียนระบายสี การก่อสร้าง การแกะ
ลายเส้น การปั้น การแกะสลักการพิมพ์ภาพ การถ่ายภาพ การถ่ายภาพ
ยนตร์ การแพร่ภาพ หรือการกระทําใดๆ ทํานองเดียวกันนี้ซึ่ง
ศิลปกรรมใดอันตั้งเปิดเผยประจําอยู่ในที่สาธารณะ นอกจากงาน
สถาปัตยกรรม มิให้ถือว่าเป็นการละเมิด
มาตรา 40 ในกรณีที่ลิขสิทธิ์ในศิลปกรรมใดมีบุคคลอื่นนอกจากผู้
สร้างสรรค์เป็นเจ้าของอยู่ด้วยการที่ผู้สร้างสรรค์คนเดียวกันได้ทํา
ศิลปกรรมนั้นอีกในภายหลังในลักษณะที่เป็นการทําซํ้าบางส่วนกับ
ศิลปกรรมเดิม หรือใช้แบบพิมพ์ ภาพร่าง แผนผัง แบบจําลอง
มาตรา 42 ในกรณีที่อายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์ในภาพยนตร์
ใดสิ้นสุดลงแล้ว มิให้ถือว่าการนําภาพยนตร์นั้นเผยแพร่ต่อ
สาธารณชนเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ในวรรณกรรม นาฏกรรม
ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานที่
ใช้จัดทําภาพยนตร์
มาตรา 43 การทําซ้ํา เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการโดย
เจ้าพนักงาน ซึ่งมีอํานาจตามกฎหมายหรือตามคําสั่งของเจ้า
พนักงานดังกล่าวซึ่งงานอันมีลิขสิทธิ์ไม่ถือว่าเป็นการละเมิด
โทษการละเมิดลิขสิทธิ์
1. การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง : มีโทษปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง
200,000 บาท หากเป็นการกระทําเพื่อการค้า มีโทษจําคุกตั้งแต่
6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับตั้งแต่ 100,000 บาท ถึง 800,000 บาท
หรือทั้งจําทั้งปรับ
2.การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม : มีโทษปรับตั้งแต่ 10,000 บาท ถึง
100,000 บาท หากเป็นการกระทําเพื่อการค้า มีโทษจําคุกตั้งแต่ 3
เดือน ถึง 2 ปี หรือปรับตั้งแต่ 50,000 บาท ถึง 400,000 บาท
หรือทั้งจําทั้งปรับ
กิจกรรมท้ายบท
1. การละเมิดลิขสิทธิ์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง จง
อธิบายและยกตัวอย่างประกอบให้เห็นอย่าง
ชัดเจน
2. โทษสูงสุดของการละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง
กําหนดโทษไว้อย่างไรบ้าง
เวลาคุ้มครองงาน
มาตรา 19 ภายใต้บังคับมาตรา 21 และมาตรา 22
พระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่
ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่
ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้า
สิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
มาตรา 22 ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้า
ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์
มาตรา 25 เมื่ออายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์ครบกําหนดในปี
ใด ถ้าวันครบกําหนดอายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์ไม่ตรงกับ
วันสิ้นปีปฏิทิน หรือในกรณีที่ไม่อาจทราบวันครบกําหนดอายุ
แห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่แน่นอน ให้ลิขสิทธิ์ยังคงมีอยู่ต่อไป
จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีนั้น
กิจกรรมท้ายบท
1.กฎหมายคุ้มครองงานงานลิขสิทธิ์
กําหนดเวลาคุ้มครองครองงานไว้อย่างไรบ้าง
อธิบายพอสังเขป
2.งานไม่มีลิขสิทธิ์อธิบายมาพอเข้าใจ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์Nichapa Paktanadechanon
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตpeter dontoom
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาบทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาTeetut Tresirichod
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ Por Oraya
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 

Was ist angesagt? (20)

โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาบทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 

Andere mochten auch

กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยกฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยPanda Jing
 
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ petchmanee kongkachad
 
ชุดที่30
ชุดที่30ชุดที่30
ชุดที่30peter dontoom
 
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.peter dontoom
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 

Andere mochten auch (6)

กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยกฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
 
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ชุดที่30
ชุดที่30ชุดที่30
ชุดที่30
 
02พรบ.คอมฯ
02พรบ.คอมฯ02พรบ.คอมฯ
02พรบ.คอมฯ
 
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 

Ähnlich wie กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยภาคใหม่ (กศน) จบ

พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537Satapon Yosakonkun
 
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537patiphan anuphan
 
พรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญ
พรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญพรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญ
พรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญBoonchai Panjarattanakorn
 
Presentation 13 604
Presentation 13 604Presentation 13 604
Presentation 13 604tanfish3
 
Presentation 13 604
Presentation 13 604Presentation 13 604
Presentation 13 604tanfish3
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์hawais ben
 
พรบ.
พรบ.พรบ.
พรบ.skwtngps
 

Ähnlich wie กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยภาคใหม่ (กศน) จบ (8)

Copyright2537
Copyright2537Copyright2537
Copyright2537
 
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
 
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
 
พรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญ
พรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญพรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญ
พรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญ
 
Presentation 13 604
Presentation 13 604Presentation 13 604
Presentation 13 604
 
Presentation 13 604
Presentation 13 604Presentation 13 604
Presentation 13 604
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
 
พรบ.
พรบ.พรบ.
พรบ.
 

Mehr von peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

Mehr von peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยภาคใหม่ (กศน) จบ