SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
๑


                    จริยปรัชญาการสร้ างอัตลักษณ์ ของคนเกาหลีสู่ การพัฒนาประเทศ
                                                                                       ผศ.ดร.จักรพรรณ วศ์ พรพวัณ
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความนํา

         เมือวันที ๒๔-๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ทีผ่านมา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัย
สงฆ์เลย พร้อมด้วยบุคลากรจากมหาวิทยาลัยส่วนกลางและวิทยาเขตขอนแก่น ได้จดโครงการทัศนะศึกษาดู
                                                                               ั
งานของบุคลากรทีประเทศเกาหลี ซึงผูเ้ ขียนเห็นว่าเป็ นโครงการทีดีมีประโยชน์อย่างมากต่อบุคลากรของ
มหาวิทยาลัยทีได้มีโอกาสไปศึกษาดูงานเปิ ดดูเปิ ดตายังต่างประเทศ เพือจะได้เล็งเห็นสิ งใหม่ๆ ทีแปลกหู
แปลกตาในเชิงของการพัฒนาทังทางกายภาพและจิตภาพ ผูเ้ ขียนเองมีความเชือว่าทุกชาติต้องตระหนักถึง
ประเทศเพือนบ้ านใกล้ เคียงและประเทศมหาอํานาจอืนๆ เพือความอยู่รอดของตนเอง การแสวงหาความรู้
เกียวกับต่ างชาติจงมีผลโดยตรงต่ อระบอบการเมืองและการปกครองของแต่ ละชาติ โดยเฉพาะการศึกษาดู
                   ึ
งานทีประเทศเกาหลีซึงมีความสัมพันธ์อนแนบแน่นกับประเทศไทยมาเป็ นเวลาช้านาน นับตังแต่ครังเริ มเกิด
                                         ั
สงครามเย็นระหว่างค่ายเสรี กบค่ายคอมนิวนิสต์ หลังสงครามโลกครังทีสองเสร็ จสินใหม่ๆ ครั งนันประเทศ
                                ั
ไทยได้ส่งทหารไปช่วยกองกําลังสหประชาชาติทาสงคราม “เกาหลี” อยู่หลายปี จนกระทังเกิดตํานานรั ก
                                                  ํ
ระหว่างทหารไทยกับสาวเกาหลี ดังมีประจักษ์พยานสําคัญคือ เพลงอมตะนิ รันดร์ ชุด “อารีดัง” ซึงหนึ งใน
นันได้แก่ “เสียงครวญจากอารีดัง” มีเนื อร้องสําแดงถึงความโหยหาอาลัยทีสาวเกาหลี (อารี ดง) มีต่อหนุ่ ม
                                                                                         ั
ไทยทีจากมา หรื อเป็ นบทเพลงทีแสดงให้เห็นถึงความรักความผูกพันระหว่างคนไทยกับคนเกาหลี
         ครันผ่านยุค “อารี ดัง” มาถึงยุคปัจจุบน คนไทยกลับรู้เรื องประเทศเกาหลีค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะ
                                              ั
ในเรื องของจริ ยปรัชญาในการพัฒนาประเทศ ทังๆ ทีประเทศนี มีความเจริ ญรุ่ งเรื องทางด้านเศรษฐกิจลําหน้า
ประเทศไทยไปหลายช่วงตัวทีเดียว จนถูกจัดอยูในกลุ่มประเทศ “นิค”๑ ของเอเชียไปแล้วเมือไม่กีปี ทีผ่านมา
                                                ่
มีสินค้าทีมีระดับหลายยีห้อหลายประเภทถูกส่ งมาขายจนเป็ นทีติดหูติดตาของคนไทย มิหนําซําในระดับ
โลกก็เคยแสดงความยิงใหญ่โดยเป็ นเจ้าภาพจัดแข่งขันกีฬาโอลิมปิ กมาหนหนึ ง และตอนช่วงเกิดสงคราม
อ่าวเปอร์เซีย ก็เคยถูกทาบทามจากสหรัฐอเมริ กาให้ช่วยเหลือด้านการเงินแก่กองกําลังฝ่ ายพันธมิตรทีกรี ธา
ทัพเข้าไปขับไล่อีรักออกจากคูเวต ยิงในอนาคตข้างหน้าถ้าสามารถรวมกับเกาหลีเหนื อได้เป็ นผลสําเร็ จ นัน
ก็หมายถึงความยิงใหญ่ไม่เป็ นสองรองใครในเอเชียหรื อในระดับโลกอย่างแน่นอน
         ทีกล่าวมาข้างต้นผูเ้ ขียนอยากจะบอกว่า ประเทศเกาหลีปัจจุบนเป็ นเป็ นประเทศทีน่ าศึกษาไม่น้อย
                                                                    ั
ไปกว่าประเทศทีได้ชือว่าพัฒนาแล้วในโลกนี อย่างน้อยในปฐมฤกษ์ของการศึกษาดูงานในครั งนี ก็ได้ฟัง

          ป.ธ.๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) อาจารย์ประจํา มจร.วิทยาลัยสงฆ์เลย
          ๑
              ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีเป็ นประเทศหนึ งในทวีปเอเชียทีรู ้ กนในปั จจุ บนว่าเป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่
                                                                       ั          ั
หรื อ “นิค” (Nic-New Industry Country) ๑ ใน ๔ ประเทศทีเรี ยกกันว่า “สี เสื อแห่งเอเชีย” คือ เกาหลีใต้ จีน ไต้หวัน ฮ่องกง
และสิ งคโปร์
๒


มัค คุ เทศก์ได้บรรยายให้รั บทราบถึงเรื องราวความเป็ นมาทังด้านประวัติ ศาสตร์ วัฒ นธรรม ประเพณี
การบ้านการเมือง ตลอดถึงการบรรยายในสถานทีสําคัญต่างๆ ทีปรากฏให้เห็นภาพทังในอดีตและปั จจุบน     ั
สิ งทังหลายทังปวงทีบุคลากรของมหาวิทยาลัยได้ยลโฉมภาพลักษณ์ของความเป็ นเกาหลีตลอด ๓ คืน ๔ วัน
นันเป็ นภาพน่าทีประทับใจ โดยเฉพาะผูเ้ ขียนเองสนใจในเรื องของการสร้างอัตลักษณ์ความเป็ นคนเกาหลีที
สามารถพัฒนาประเทศได้เท่าเทียมกับอารยประเทศทีพัฒนาแล้ว ทังๆ ทีก่อนหน้านี (เมือประมาณ ๓๐-๕๐
ทีผ่านมา) เกาหลีก็เคยเป็ นประเทศทียากจนค้นแค้นบอบชําจากภัยสงคราม แต่ก็ยงสามารถยืนหยัดผงาดใน
                                                                          ั
การพัฒนาประเทศให้มีความมังคังทางเศรษฐกิจ และมีความเจริ ญทางเทคโนโลยีมากทีสุ ดประเทศหนึ งใน
ภูมิภาคเอเชีย

ย้อนรอยประวัตศาสตร์ ิ
         เมือศึกษาประวัติศาสตร์ของสาธารณรัฐเกาหลีโดยสังเขปแล้วจะเห็นได้ว่า ประเทศนี มีประวัติความ
เป็ นมาและมีวฒนธรรมทีสืบทอดต่อกันมายาวนานกว่า ๕,๐๐๐ ปี สามารถดํารงความเป็ นชาติทีเข้มแข็งมา
                ั
ระยะหนึง จากนันก็ถกรุ กรานจนตกเป็ นเมืองขึ นของญีปุ่ น๒ จนถึงสงครามโลกครังที ๒ เมือสงครามโลก
                       ู
สงบลง ญีปุ่ นเป็ นฝ่ ายพ่ายแพ้สงครามเกาหลีจึงได้รับเอกราช แต่ไม่นานเกาหลีก็อยูในภาวะสงครามการแบ่ง
                                                                               ่
ค่ายของโลกในสมัยนัน คือค่ายประชาธิปไตยอันมีประเทศสหรัฐอเมริ กาเป็ นผูนา และค่ายคอมมิวนิสต์อนมี
                                                                           ้ ํ                 ั
ประเทศสหภาพโซเวียตเป็ นผูนา สงครามครั งนันเป็ นสงครามระหว่างชนชาติเดียวกัน เพียงแต่แตกต่าง
                                 ้ ํ
ทางด้านแนวคิดในการปกครองประเทศ และเป็ นสงครามทียาวนาน เมือมีการเจรจาสงบศึกเกาหลีก็ถูก
แบ่งแยกออกเป็ น ๒ ประเทศ คือประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนื อ) และ
ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยมีเส้นขนานที ๓๘ องศาเหนื อเป็ นเส้นแบ่งพรมแดนระหว่าง
ประเทศเกาหลีเหนือกับเกาหลีใต้มาจนกระทังบัดนี ๓
         ปั จจุบนความรู้สึกของประชาชนทัง ๒ ประเทศมีความต้องการเป็ นอย่างยิงทีจะรวมประเทศเข้า
                  ั
ด้วยกัน ถึงขนาดทีรัฐบาลของทัง ๒ ประเทศเคยจัดให้มีการพบญาติพีน้องทีจากกันเมือเกิดสงครามเกาหลี
และเกิด การแบ่งประเทศออกเป็ น ๒ ประเทศ การณ์ค รั งนันเป็ นแรงกระตุน ให้เกิ ดความคิด ในการรวม
                                                                         ้
ประเทศอย่างกว้างขวาง แต่ก็ยงไม่ประสบผลสําเร็ จ เนื องจากว่าประเทศทัง ๒ มีความแตกต่างในเรื องของ
                               ั
การปกครองซึงเป็ นคนละค่ายดังกล่าว และทีสําคัญผูนาของทัง ๒ ประเทศยังมีความเห็นทีแตกต่างและยังมี
                                                    ้ ํ
ความหวาดระแวงกันอยู่ จึงเป็ นไปได้ยากทีจะรวมประเทศเข้าด้วยกันเหมือนประเทศอืนๆ อย่างเช่น เยอรมนี
เป็ นต้น
        ๒
           เกาหลีตกเป็ นอาณานิคมของญีปุ่ นมานานถึง ๓๕ ปี ในสมัยทีปกครองแบบสมบูรณาสิ ทธิราชย์ พึงได้รับเอกราช
และจัดตังเป็ นประเทศทีปกครองตนเองโดยสมบูรณ์ แบบสาธารณรั ฐเมือปี ค.ศ. ๑๙๔๘ (พ.ศ. ๒๔๘๘) เมือญีปุ่ นยอมแพ้
กองทัพสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครังที ๒ และตอนจัดตังประเทศใหม่ๆ หลังสงครามโลกครั งที ๒ ประเทศเกาหลี
ตกในสภาพยากจนข้นแค้นมาก
         ๓
           สมปราชญ์ อัมมะพันธ์, ทีนี...เกาหลีใต้ (กรุ งเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๓๔.
๓


พัฒนาการสังคมเกาหลีทีก่อให้ เกิดอัตลักษณ์ความเป็ นคนเกาหลี
          พืนฐานเดิมของประเทศเกาหลีเป็ นสังคมเกษตรกรรมคล้ายๆ ประเทศไทย ประชาชนส่ วนใหญ่ของ
ประเทศมีฐานะยากจนด้วยตกอยูในสภาวะสงครามมาตลอด อีกทังยังเคยตกเป็ นอาณานิคมของญีปุ่ นอยู่เป็ น
                              ่
เวลานานหลาย ปี และก่อนหน้านันก็เคยตกอยูภายใต้การปกครองของจีน และมองโกเลีย ด้วยเหตุนีกระมังที
                                           ่
ทําให้คนเกาหลีตระหนักถึงความยากลําบากต่างๆ ทีเกิดขึนกับประเทศของตน และก่อให้เกิดการพัฒนาใน
การสร้างอัตลักษณ์ความเป็ นคนเกาหลีขึนอย่างขะมักเขม้นเด็ดเดียวและมันคง โดยเฉพาะอย่างยิงเมือมีการ
แบ่งออกเป็ น ๒ ประเทศ และสงครามสงบลงแล้ว ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีจึงหันมาพัฒนาประเทศอย่าง
จริ งจังเพือให้ประชนชนส่วนใหญ่ของประเทศพ้นจากความยากลําบากและความอดอยาก รัฐบาลจึงกําหนด
แผนพัฒนาประเทศทีสําคัญ ๒ ประการ คือ๔

         การปฏิรูประบบการศึกษา
         เมือปี ค.ศ. ๑๙๔๕ หลังเกาหลีได้รับอิสรภาพ ประเทศเปลียนการปกครองมาเป็ นระบอบสาธารณรัฐ
การปฏิรูปการศึกษาได้เกิดขึนขนานใหญ่ รัฐบาลไส้ส่งเสริ มให้สิทธิเสรี ภาพแก่ประชาชนทุกคนทุกชนชัน
ให้ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน และในช่วงระหว่างปี ๑๙๔๕-๑๙๗๐ เป็ นช่วงทีประเทศเกาหลีมีการ
ขยายตัวทางการศึกษาออกไปอย่างกว้างขวาง แม้ว่าจะมีปัญหาเกียวกับการเกิดสงครามเกาหลี แต่ก็สามารถ
ขจัด ความไม่รู้ หนังสื อของประชาชนได้สําเร็ จ การพัฒ นาทางการศึก ษาได้รุ ด หน้าไปอย่างรวดเร็ ว มี
เป้ าหมายและเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
         ระบบการศึกษารัฐบาลจัดเป็ นระบบ ๖-๓-๓-๔ กําหนดโดยพระราชบัญญัติการศึกษาเมือปี ๑๙๔๙
โดยมีองค์ประกอบดังนี๕
         ๑. ประชาชนทุกคนมีสิทธิทีจะได้รับการศึกษาตามความสามารถของตนอย่างเท่าเทียมกัน
         ๒. เด็กทุกคนจะต้องได้เข้าเรี ยนในชันประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับอืนๆ ตามกฎหมาย
         ๓. การศึกษาภาคบังคับจะต้องเป็ นการให้เปล่า
         ๔. สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยมีเสรี ภาพ มีความรู้ความชํานาญพิเศษ มีนโยบายเป็ นกลาง
ในการศึกษาและมีอิสระ โดยได้รับการยอมรับตามกฎหมาย
         ๕. รัฐจะต้องส่งเสริ มการศึกษาตลอดชีพอย่างต่อเนือง
         ๖. ความสําคัญพืนฐานเกียวกับระบบการศึกษา การบริ หาร การลงทุนการศึกษาและสถานภาพของ
ครู จะได้รับการกําหนดตามกฎหมาย


        ๔
           จินตนา พุทธเมตะ, คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริ ยธรรมของประเทศเกาหลี (กรุ งเทพ ฯ :
ศูนย์คุณธรรม.,๒๕๔๘), หน้า ๑๐-๑๓.
        ๕
            สมปราชญ์ อัมมะพันธุ์, อ้ างแล้ ว, หน้ า ๑๒๔.
๔


          เมือประเทศสาธารณรัฐเกาหลีกลับคืนสู่ภาวะปกติ นโยบายอันดับแรกทีรัฐบาลเร่ งกระทําให้เห็น
เป็ นรู ปธรรมอย่างเร่ งด่ ว นที สุ ด คื อการปฏิรู ปการศึก ษาให้เห็ น เป็ นรู ปธรรมยิงขึ น ด้วยเหตุผลของผูน ํา        ้
ประเทศทีตระหนักว่าประเทศของตนนันขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติไม่สามารถสร้างชาติดวยการเกษตร                    ้
แบบดังเดิม และไม่สามารถสร้างชาติดวยอุตสาหกรรม ดังนันรัฐบาลจึงหันมาสร้างและพัฒนาทรัพยากร
                                             ้
มนุษย์ในประเทศซึงมีอยูเ่ ป็ นจํานวนมากเพือให้เป็ นทรัพยากรทีมีคุณค่าและมีประสิทธิภาพ
          การปฏิรู ประบบการศึก ษาเริ มจากการสร้ างแรงจู งใจให้ค นที เรี ยนมาทางด้านการศึก ษาหัน มา
ประกอบอาชีพครู ดวยการเพิมเงินเดือนให้สูงขึน มีชีวิตทีดีขึนทังด้านเศรษฐกิจ การครองชีพและสถานภาพ
                      ้
ทางสังคม ซึงสถานภาพทางสังคมนันแก้ไขได้ไม่ยากเพราะคุณธรรมความกตัญ ูของคนในสังคมทีมีต่อครู
นันสู ง ดังนันสถานะครู ข องประเทศสาธารณรัฐเกาหลีจึ งเป็ นปูชนี ยบุ คคลทีสังคมยกย่องและให้เกี ยรติ
สูงสุด
          เงินเดือนของครู ในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เมือรวมกับภายได้พิเศษทีได้จากโรงเรี ยนในการดูแล
นักเรี ยนหลังเลิกเรี ยน จนถึงเวลาประมาณ ๑๗.๐๐ น. แล้ว จัดอยู่ในอันดับต้นๆ พอๆ กับอาชีพแพทย์และ
ทนายความ จะมีความแตกต่างบ้างตรงทีว่าอาชีพครู อาจารย์มีวนหยุดปิ ดเทอมทําให้มีเวลาพักผ่อนและมีเวลา
                                                                       ั
ค้นคว้างานวิจยเพือเป็ นองค์ความรู้สาหรับสอนนักเรี ยนและนักศึกษาต่อไป ครู อาจารย์ในโรงเรี ยนอนุ บาล
                 ั                       ํ
ถึงมัธยมศึกษาไม่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการให้สอนพิเศษนอกโรงเรี ยนแม้กระทังสอนตามบ้าน
จะมีการสอนพิเศษเฉพาะช่วงทีมีการสอบเข้าเรี ยนต่อในระดับอุดมศึกษา ซึงโรงเรี ยนแต่ละแห่ งเป็ นผูจดขึน                ้ั
เริ มสอนตังแต่เลิกเรี ยนจนถึง ๒๒.๐๐ น. โรงเรี ยนเป็ นผูจ่ายเงินค่าสอนให้แก่ครู อาจารย์ นอกจากนี แล้วครู
                                                                ้
อาจารย์ทุกคนจะได้รับโบนัสจากโรงเรี ยนทุกๆ ๒ เดือน ดังนันในระยะเวลา ๑๒ เดือน ได้รับโบนัส ๖ ครัง
และได้รับเงินพิเศษในช่วงวันเทศกาลชูช็อก เรี ยกว่าเป็ นเงินค่า “ขนมต็อก” เมือรวมกันแล้วครู อาจารย์จะ
ได้รับเงินโบนัสและเงินพิเศษทังหมดประมาณ ๙ ครังต่อหนึงปี
          เมื อรั ฐ บาลดู แ ลอาชี พ ครู อย่ า งจริ งจัง ครู ทุ ก คนจึ ง ปฏิ บัติ ห น้า ที ของตนอย่ า งเต็ ม กํา ลัง เต็ ม
ความสามารถ อีกทังจรรยาบรรณในวิชาชีพครู ทาให้ครู อาจารย์ทุกคนต้องเป็ นตัวอย่างทีดีของลูกศิษย์ และ
                                                      ํ
เป็ นผูทีมีความรับผิดชอบสูง กอรปกับครู ตองได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากกระทรวงศึกษาธิการ ทํา
        ้                                       ้
ให้ครู อาจารย์ตองระมัดระวังไม่ทาให้ตนเองเสียหายหรื อมีความผิด หากมีความผิดร้ายแรงจะต้องถูกยึดใบ
                   ้                 ํ
ประกอบวิชาชีพและต้องได้รับความอับอายอย่างยิงในสังคม ดังนันครู อาจารย์ทุกคนตระหนักในหน้าทีของ
ตน ซึงการลงโทษทางสังคมในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีนนจะรุ นแรงมาก เห็นได้จากสือมวลชนเสนอข่าว
                                                                   ั
ผูกระทําผิดผูกระทําผิดฆ่าตัวตายเพือหนีความอับอาย และภาพทีผูกระทําผิดใช้ผาปิ ดบังใบหน้าในขณะถูก
   ้           ้                                                          ้                 ้
เจ้าหน้าทีควบคุมตัว
          รัฐบาลมีน โยบายกําหนดอัต ราส่ ว นระหว่ างครู ก ับนัก เรี ย นให้สมดุ ลเพือการเรี ย นการสอนที มี
ประสิทธิภาพ และเพือให้ครู สามารถดูแลนักเรี ยนได้อย่างทัวถึง นอกจากนี แล้วรัฐบาลยังดูแลถึงการเรี ยน
โดยไม่เสี ยค่ าเล่าเรี ยน การแจกตําราเรี ย น การเลียงอาหารกลางวันที ถูก ต้องตามหลักโภชนาการให้แก่
๕


นักเรี ยนทุกคน มาตรฐานการเรี ยนการสอนทังในเมืองและในชนบทไม่มีความแตกต่างกัน และยกเลิกการ
สอบแข่งขันเพือเข้าเรี ยนในระดับมัธยมศึกษา
          เป้ าหมายการศึกษานอกจากจะเน้นด้านวิชาการแล้วยังเน้นเรื องการพัฒนาจิตใจให้เกิดความสมดุล
กับร่ างกายทีเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว การพัฒนาพืนฐานความคิดความรู้สึกของตนเองให้กล้าแสดงออก
อย่างถูกต้อง มีหลัก การและมีเหตุ ผล การปลูกฝั งความเป็ นชาติ นิ ย มภาคภู มิใจในชาติ วัฒ นธรรม และ
ประเพณี การปลูกฝังความเชือมันในตนเองและความรักในเพือนบ้าน เสริ มสร้างความสามารถของนักเรี ยน
ให้นาความรู้ไปพัฒนาท้องถินของตน
      ํ
          การเรี ยนในระดับอุดมศึกษา รัฐบาลกําหนดให้มีการสอบคัดเลือกและพิจารณาผลการเรี ยนในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย เพราะต้องการนักเรี ยนทีมีความรู้ในระดับทีสามารถเรี ยนได้เป็ นอย่างดี และเพือให้
โรงเรี ย นมัธยมปลายสอนนักเรี ยนอย่างมีคุ ณภาพ เป้ าหมายสําคัญของการศึก ษาในระดับนี คือ การสร้ าง
ทรัพยากรมนุษย์ทีสมบูรณ์แบบเพียบพร้ อมไปด้วยพลังทังด้ านร่ างกาย และพลังปัญญา ทีสามารถทํางานทุก
อย่างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เหมือนดังที ศ.สวาท เสนาณรงค์ ได้กล่าวไว้ในหนังสื อ “ไทยแอตลาส” ว่า
มนุษย์หรือประชากรเป็ นทรัพยากรทีมีคณค่ามากทีสุ ดของแผ่ นดิน ประเทศชาติจะมีความเจริญรุ่งเรืองมาก
                                       ุ
น้ อยเพียงใดนันย่อมขึนอยู่กบประชากรเป็ นสําคัญ กล่ าวคือประเทศใดมีประชากรทีมีคณภาพสู ง หมายถึงมี
                            ั                                                   ุ
ระดับการศึกษาสู ง มีสุขภาพอนามัยดี มีระเบียบวินัย มีความขยันขันแข็งและมีความคิดริเริมดี ก็ย่อมจะช่ วย
พัฒนาประเทศของตนให้ เจริญก้าวหน้ าได้ รวดเร็วกว่าประเทศทีมีประชากรคุณภาพตํา๖

         การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ
         ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีได้วางนโยบายด้านเศรษฐกิจไปพร้อมๆ กับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
เพราะรัฐบาลเชือมันว่าการสร้างความเป็ น เกาหลีใหม่ และการจะนําประเทศให้สามารถเป็ นผูนาในภูมิภาค
                                                                                          ้ ํ
เอเชียได้นน ต้องพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยให้การศึกษาทีมุ่งเน้นให้การศึกษาทีรัฐบาลจัดให้ตลอดอายุแห่ ง
          ั
การศึกษา
         รากฐานที แข็ ง แกร่ งทางการศึ ก ษาทํา ให้ น โยบายด้า นเศรษฐกิ จ ดํา เนิ น ไปอย่า งราบรื นเกิ ด
ประสิ ทธิ ผล แผนแรกที กระทําการอย่างเร่ งด่ วน คือเน้นให้ประชาชนทุ กคนทุก วัยประหยัด และอดออม
ก่อให้เกิดอัตราการออมทรัพย์ในประเทศเพิมสูงขึนอย่างรวดเร็ วและมันคง
         การพัฒนาเศรษฐกิจนัน รัฐบาลเร่ งดําเนินการทังในเมืองและในชนบทควบคู่กนไป โดยเฉพาะใน
                                                                                    ั
ชนบทซึงมีประชาชนทียากไร้และอดอยากเป็ นจํานวนมาก เพือให้ประชาชนทุกคนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี
ขึนทัวกัน และเพือแก้ปัญหาชาวชนบทอพยพเข้าเมืองเพือหางานทําให้หมดไป รัฐบาลจึงเริ มโครงการแซมา
อึลอุนดง ปรัชญาของโครงการนี คือ ความขยันหมันเพียร การช่ วยตนเอง และความร่ วมมือ รัฐบาลสร้าง
และปลูกฝังทัศนคติ ค่านิยม และจริ ยธรรมในการทํางานใหม่เพือให้ชาวชนบทเกิดความเชือมันในอนาคตว่า
        ๖
            อ้ างแล้ ว, หน้ า ๑๗๙.
๖


เราก็อยู่ดีกนดีได้ ถ้าเราขยันทํางาน และร่ วมมือกันดี และมีจตใจพึงตนเองโดยบุกเบิกแสวงหาผลประโยชน์
            ิ                                                ิ
จากธรรมชาติแทนทีจะอาศัยแต่ ชะตากรรมของตนเอง
          ความสําเร็ จของโครงการนี เกิดจากชาวบ้านได้รับการกระตุนอย่างสูงจากผูนาประเทศ อีกทังผูนา
                                                                   ้              ้ ํ                  ้ ํ
หมู่บานซึ งมีบทบาทสําคัญ ในการเปลียนแปลงและพัฒ นาหมู่บาน ผูนาซึงมีค วามจริ งใจ บริ สุทธิใจ ทุ ก
       ้                                                         ้ ้ ํ
คนทํางานอย่างทุ่ มเท รวมทังข้าราชการในท้องถินก็ร่ ว มมือร่ ว มใจ ตังใจทํางานและดําเนิ น งานอย่างมี
ประสิทธิภาพ ให้บริ การด้านการพัฒนาทีผูนาระดับหมู่บานต้องการ อีกทังผูนาประเทศ ผูนาทางการเมือง
                                             ้ ํ         ้                 ้ ํ           ้ ํ
และนัก ธุรกิจให้การสนับสนุ น อย่างเต็มที ติดตามผลของโครงการอย่างใกล้ชิด ดัง นันโครงการนี จึงเป็ น
กระบวนการทางสังคมระดับชาติทีมีการรวมพลังทียิงใหญ่ทังภาครัฐและเอกชนทีสนับสนุนทังเครืองมือและ
เทคโนโลยีเพือให้ การพัฒนาชนบทประสบความสําเร็จ อีกทังเป็ นการแก้ไขปั ญหาการทิงถินเข้าเมืองเพือ
ประกอบอาชี พ และแก้ไขปั ญ หาคนล้น เมือ งใหญ่ อน ก่ อ ให้เ กิ ด ปั ญ หาด้า นอืนๆ ตามมา เช่ น ปั ญ หา
                                                       ั
อาชญากรรม ปัญหาความแออัด และมลภาวะ เป็ นต้น
          ความสําเร็ จของโครงการนี สามารถเปลียนแปลงและพัฒนาทุกๆ ด้าน กล่าวคือ๗
          ๑. การพัฒนาจิตใจของชาวบ้านในชนบทให้เกิดความเชือมันในชีวิตเกิดความมานะเพียรพยายาม
และอดทน ซึ งสิ งเหล่านี มีอยู่แล้ว ในอุปนิ สัย ของคนเกาหลี เพีย งแต่ ก ารทีต้องตกอยู่ในสภาวะการเป็ น
เมืองขึน และภาวะสงครามระหว่างชนชาติเดียวกันก่อให้เกิดความท้อแท้ทอดอาลัยในชีวิตฝากความหวังไว้
กับฟ้ าดินและชะตาชีวิต
          ๒. การปรั บโครงสร้ า งทางสังคมที อยู่อ ย่า งโดดเดี ยวให้เป็ นสังคมที ทําทุ ก อย่า งโดยคํานึ งถึ ง
ประโยชน์ส่วนรวมก่อนประโยชน์ส่วนตน ทีสําคัญอย่างยิงอีกประการหนึ ง คือการปรับพืนฐานของรายได้
ในแต่ละครัวเรื อนให้ชาวบ้านทุกคนอยูอย่างมีความสุขไม่อดอยาก ไม่ยากจน ลดช่องว่างระหว่างรายได้ของ
                                        ่
คนในเมืองกับคนชนบท
          ๓. การพัฒนาและสนับสนุนให้ชาวบ้านมีโอกาสเรี ยนหนังสือโดยไม่จากัดวัย ทําให้ชาวบ้านทุกคน
                                                                             ํ
ทุ ก วัย สามารถอ่ า นออกเขี ย นได้เ ป็ นอย่า งดี สามารถนํา ความรู้ ม าพัฒ นาการเกษตรของตนอย่า งมี
ประสิทธิภาพ
          เมือศึกษาถึงผลสําเร็ จของโครงการแซมาอึลอุนดงแล้วจะพบว่า รัฐบาลมีขีดความสามารถในการ
สร้ างรากฐานทางเศรษฐกิจ ในระบบสังคมหมู่บานให้แข็ งแกร่ งโดยเน้นหนัก ในการเพิมพูน รายได้ข อง
                                                    ้
ประชาชนคือการพัฒนาโครงการแหล่งรายได้จนประชาชนสามารถพึงพาตนเองได้ และมีความคิดริ เริ มทีจะ
ช่วยเหลือตนเอง นอกจากนี รัฐบาลยังกระตุนให้ผนาระดับหมู่บานมีบทบาทสําคัญในการเปลียนแปลงและ
                                           ้     ู้ ํ          ้
พัฒนาหมู่บาน ตลอดถึงข้าราชการท้องถินต้องมีขีดความสามารถในการทํางานอย่างมีประสิ ทธิภาพสูงใน
              ้
การให้บริ การทางการพัฒนาแก่ประชาชนทุกชนชัน และผูนาระดับสูงสุดทางการเมืองและกลุ่มชนชันนําใน
                                                           ้ ํ
การเมืองเองก็พร้อมให้การสนับสนุนอย่างเต็มทีผ่านโครงการแซมาอึลอุนดง ซึงเป็ นโครงการระดับชาติที

        ๗
            จินตนา พุทธเมตะ, อ้ างแล้ ว, หน้ า ๑๔.
๗


สามารถสร้างขบวนการทางสังคมในการมีส่วนร่ วมของพลังขนาดใหญ่ทางแรงงานของสถาบันต่างๆ และ
ทรัพยากรทางเทคนิ คและเครื องมือต่างๆ จากทุกส่ วนงานของประเทศมารวมเป็ นเอกภาพเดียวกันในการ
พัฒนาประเทศจนประสบผลสําเร็ จ นันคือสามารถเปลียนฐานะจากประเทศทียากจนกลายเป็ นประเทศทีมี
ความมันคงในทางเศรษฐกิจ คุณ ภาพชี วิตของชาวเกาหลีดีขึนๆ ตามลําดับ ปั ญหาต่างๆ ได้รับการแก้ไข
ปรับปรุ งจนคลีคลายไปในทางทีดีจนเป็ นทีน่าพอใจ

การปลูกฝังด้ านจริยปรัชญาทีก่อให้ เกิดอัตลักษณ์ในการสร้ างชาติของคนเกาหลี
          จริ ยปรัชญา จริ ยธรรม หรื อคุณธรรม ทัง ๓ คํานี มีลกษณะความหมายที คล้ายคลึงกัน จะมีความ
                                                                ั
แตกต่างก็ตรงทีจริ ย ปรัชญาเป็ นเรื องของแนวคิดทีก่ อให้เกิดจริ ย ธรรมหรื อคุณ ธรรม ส่ วนจริ ยธรรมหรื อ
คุณธรรมเป็ นเรื องของความดีงามทีเกิดจากความประพฤติปฏิบติตนอันถูกต้อง เป็ นทียอมรับของสังคม และ
                                                                  ั
เป็ นปัจจัยหลักทีทําให้สงคมเกิดความสงบสุข อีกทังยังนําพาให้บุคคลนันมีความเจริ ญในส่ วนตน ซึงก็เป็ น
                          ั
คุณ ลัก ษณะที ถูก ต้องอัน เกิ ด จากความเข้าใจคุ ณ ค่ าอัน แท้จ ริ งด้ว ยปั ญ ญาและความคิด เป็ นคุ ณ ลัก ษณะ
เฉพาะทีมีแต่ในมนุษย์เท่านัน และอยูภายในจิตใจหรื อจิตใต้สานึกของมนุษย์ทุกคน เป็ นลักษณะนิสยทีดีงาม
                                       ่                      ํ                                     ั
ของมนุษย์ก่อให้เกิดสารธรรมอันเป็ นประโยชน์มากมายทังต่อตนเอง สังคม ประเทศชาติ จะเห็นได้ว่าคําทัง
๓ คํานีมีคุณลักษณะการนํามาใช้ในบริ บททีพอแทนกันได้ เหมือนทีพัฒน์ เพ็งผลา ได้กล่าวถึงความหมาย
ของคุณธรรมไว้ว่า คุณธรรมมีคาเรี ยกหลายคํา เช่น ธรรม กุศลกรรม กัลยาณธรรม สาธุธรรม สัตธรรม สัปปุ
                                    ํ
ริ สธรรม คําเหล่านี หมายถึงธรรมดีมีคุณประโยชน์ เช่น เมตตา (ความรัก) สติ (ความระลึกได้) ขันติ (ความ
อดทน) วิริยะ (ความเพียร) เป็ นต้น๘ และในทีนี ผูเ้ ขียนจะขอใช้คาว่า “จริ ยปรัชญา” แทนคําว่า “จริ ยธรรม
                                                                    ํ
และคุณธรรม”
          จริ ยปรัชญาเป็ นสิงจําเป็ นและสําคัญยิงในสังคมโลก ไม่ว่าชาติใดประเทศใดล้วนต้องการความสงบ
สุขในสังคม ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีเป็ นอีกประเทศหนึ งทีให้ความสําคัญยิงต่อการปลูกฝังจริ ยปรัชญา
หรื อจริ ยธรรมให้แก่ประชาชนแต่โบราณกาลกว่า ๕,๐๐๐ ปี และการปลูกฝังจริ ยปรัชญาของประเทศเกาหลี
สามารถแบ่งออกเป็ น ๒ ลักษณะ คือ๙

         การปลูกฝังจริยปรัชญาในครอบครัว
         ด้วยว่าประเทศสาธารณรั ฐเกาหลีนับถือคําสอนของขงจื อมาเป็ นเวลาช้านาน ดังนันการปลูกฝั ง
ด้านจริ ยปรัชญาจึงดําเนินไปตามคําสอน ซึงหลักคําสอนทีคนเกาหลียึดถือหลักๆ ก็เป็ นเรื องของการปฏิบติ
                                                                                               ั
หน้าทีของคนในสังคมทีมีต่อกัน อย่างเช่นข้อความตอนหนึ งว่า ทุกสิ งทุกอย่างในโลกมีความแตกต่างกัน
โดยกําเนิด ระเบียบ ในการดํารงชีวิตในครอบครัว สังคม หรื อประเทศย่อมมีความแตกต่างกันแต่กาเนิ ด ทุก
                                                                                         ํ

        ๘
            พัฒน์ เพ็งผลา, มนุษย์กับคุณธรรม (กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง,๒๕๔๕), หน้า ๑๓๗.
        ๙
            จินตนา พุทธเมตะ, อ้ างแล้ ว, หน้ า ๑๐๓-๑๐๖.
๘


อย่างควรอยูในทีสมควร กษัตริ ยควรมีคุณสมบัติให้สมเป็ นกษัตริ ย ์ พ่อควรมีคุณสมบัติให้สมเป็ นพ่อ ลูกควร
                ่                  ์
มีคุณสมบัติทีสมเป็ นลูก เป็ นต้น เมือทุกอย่างปฏิบติอย่างเหมาะสมกับบทบาทตนเองย่อมส่ งผลให้สังคมมี
                                                 ั
ระเบียบวินย นันคือสิ งทีมีมารยาท ซึงเป็ นกฎระเบียบหรื อหน้าทีทีควรปฏิบติ และกฎระเบียบหรื อหน้าทีควร
              ั                                                         ั
ยึดถือปฏิบตินีเรี ยกว่า “บัญญัติ ๕ ประการ” คือ
            ั
         ๑. กษัตริ ยกบขุนนางควรมีความไว้วางใจกัน
                        ์ั
         ๒. พ่อกับลูกชายควรผูกพันและสืบทอดกัน
         ๓. สามีกบภรรยาควรมีบทบาทและหน้าทีต่างกัน
                    ั
         ๔. ผูใหญ่กบผูนอยควรมีการลําดับอาวุโส และ
                  ้      ั ้ ้
         ๕. ระหว่างเพือนควรซือสัตย์ต่อกัน
         นอกจากคุณธรรมข้างต้นนี แล้วยังมีประเพณี ทีสื บทอดคําสอนของขงจื อไว้อย่างเหนี ยวแน่ น เช่น
ประเพณี การเป็ นผูใหญ่ พิธีแต่งงาน พิธีศพ และพิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษ เป็ นต้น ประเพณี เหล่านีเป็ นประเพณี
                      ้
ทีปลูกฝังด้านแนวคิดทางด้านจริ ยปรัชญาให้แก่คนเกาหลีได้ปฏิบติสืบต่อมาอย่างเคร่ งครัดจนถึงปั จจุบนไม่
                                                              ั                                    ั
ว่าสภาพสังคมและสถานภาพของบุคคลในสังคมจะเปลียนแปลงไปจากโบราณกาลเพียงใดก็ตาม และเมือ
ทุกครอบครัวถูกปลูกฝังจริ ยธรรมให้แก่บุตรหลานโดยยึดหลักบัญญัติ ๕ ประการ ข้างต้นแล้ว บุตรหลาน
ของแต่ ละครอบย่อมมีพืนฐานทางความคิ ด ที อยู่ในระดับเดี ย วกัน มีแนวทางปฏิบัติ ทีเต็ มเปี ยมไปด้ว ย
คุณธรรมอันเป็ นบรรทัดฐานเดียวกันก็ย่อมส่ งผลให้บุตรหลานของทุกครอบครัวเป็ นสมาชิดในสังคมทีมี
คุณภาพ เป็ นกําลังสําคัญยิงของสังคม และทีสุดย่อมเป็ นพลเมืองทีมีศกยภาพของประเทศ
                                                                  ั
         อีกหลักจริ ยปรัชญาทีคนเกาหลียึดถือกันและมองว่าเป็ นสิ งสําคัญก็คือหลักคําสอนของขงจื อทีว่า
สามีกบภรรยามีบทบาทหน้ าทีต่ างกัน สังคมเกาหลีตงแต่อดีตมาจนถึงปั จจุบนจะแยกบทบาททังสามีและ
      ั                                              ั                     ั
ภรรยาออกจากกันอย่างชัดเจน กล่าวคือสามีมีหน้าทีประกอบอาชีพหาเลียงครอบครัว ส่ วนภรรยามีหน้าที
ดูแลสมาชิกในครอบครัวให้มีความสุข อบรมสังสอนบุตรธิดาให้เป็ นคนดีของครอบครัว สังคม ประเทศชาติ
ดังนันภรรยาจึงทําหน้าแม่บานเพียงประการเดียว แม้ว่าโลกจะมีการเปลียนแปลงทังสภาพสังคม และสภาพ
                                 ้
เศรษฐกิจ แต่คนเกาหลีก็ยงยึดถือปฏิบติตามคําสอนดังกล่าวจนกลายเป็ นอัตลักษณ์ทางกายภาพและจิตภาพที
                               ั      ั
โดดเด่นในการสร้างเอกลักษณ์ของคนเกาหลีมาจนถึงปัจจุบน       ั

        การปลูกฝังจริยปรัชญาในทางสังคม
        หลังจากการปลูก ฝังด้านจริ ย ปรั ชญาในชันของครอบครั วแล้ว ก็จ ะเป็ นการปลูก ฝั งจริ ย ปรัชญา
ในทางสังคม กล่าวคือเมือเด็กมีอายุครบเกณฑ์ทีจะเข้าศึกษาในโรงเรี ยนก็จะได้รับการสังสอนอบรมด้าน
คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมอย่างต่ อเนื อง จนจบการศึก ษาในระดับสู ง หลัก สู ต รการเรี ย นการสอนในประเทศ
สาธารณรัฐเกาหลีจะมีก ารสอนเรื องของคุณธรรมจริ ยธรรมอย่างชัด เจน และวิ ธีก ารสอนจะใช้หลัก จริ ย
ปรัชญาของขงจือผสมผสานกับศาสตร์สมัย โดยใช้วิธีการประยุกต์ทง ๒ ศาสตร์เข้าด้วยกันดังนี
                                                             ั
๙


            การสอนในระดับห้ องเรียน : มุ่งการอภิปรายจริ ยปรัชญาหรื อคุณธรรมจริ ยธรรมเพือเน้นการหา
สาเหตุและเหตุผลทีดีในการประพฤติตนให้เป็ นคนดีตามหลักจริ ยธรรม มีการยกการกรณี ปัญหาคุณธรรม
จริ ยธรรมเป็ นสือเป็ นข้อมูลและให้นกเรี ยนเป็ นผูคิดวิเคราะห์เพือหาความเป็ นจริ งทีถูกต้องตามหลักการและ
                                       ั          ้
เหตุผลทีถูกต้อง
            การสอนในหลักสู ตรแฝง : ให้ผเู้ รี ยนศึกษาค้นคว้าเรี ยนรู้คุณธรรมจริ ยธรรมจากสถานการณ์และ
สิ งแวดล้อมทีเป็ นจริ ง มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มีการยอมรับในความคิดเห็นของผูอืน    ้
ผลทีตามมาคือ เราจะเห็นว่าประชาชนและนักศึกษาในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีจะมีการประท้วงบ่อย หาก
มีความผิดปกติทางการบริ หารประเทศ หรื อความไม่โปร่ งใสในการทํางานของรัฐบาล หรื อการตัดสิ นใจ
ของรัฐบาลทีประชาชนเจ้าของประเทศไม่เห็นด้วย การประท้วงถือเป็ นปกติวิสยของคนเกาหลีจนคนเกาหลี
                                                                              ั
เกิดความคุนเคย สิงเหล่านี แสดงให้เห็นถึงความรักความใส่ใจในประเทศของตน
              ้
            จากวิธีการสอนทัง ๒ วิธีเป็ นการบูรณาการวิธีการสอนให้สอดคล้องกับแนวคิดทางจริ ยปรัชญาของ
ขงจื อทีกล่าวว่ า ทุ กสรรพสิงในโลกเป็ นครู ทีจะสอนทุกชี วิตในโลกให้ เ ป็ นไปตามความเป็ นจริ งทีเกิดขึ น
ดังนันการปลูกฝังจริ ยธรรมทังในบ้านและในสังคมจึงเป็ นเบ้าหลอมทีทําให้เยาวชนของประเทศสาธารณรัฐ
เกาหลีเป็ นเยาวชนทีดีและมีแบบอย่างเดียวกัน และการปลูกฝังจริ ยปรัชญาดังกล่าวของเกาหลีจะสอนและ
อบรมอย่างต่อเนืองจนกลายเป็ นวัฒนธรรมทีเยาวชนจะยึดแบบอย่างเป็ นแนวทางปฏิบติ และคนเกาหลีเชือ
                                                                                       ั
ว่าผูใหญ่หรื อผูนาทางสังคมจะต้องทําตัวเป็ นต้นแบบมีพฤติกรรมทีดีงามเพือให้เยาวชนได้เลียนแบบ ดังจะ
     ้             ้ ํ
เห็นได้ว่าผูใหญ่ระดับผูบริ หารประเทศหากทํางานผิดพลาดจนทําให้ประชาชนหรื อประเทศชาติเสี ยหายจะ
                ้           ้
ลาออกจากตําแหน่งทันที ยิงหากมีความผิดทีร้ายแรง เช่น ฉ้อราษฎร์ บงหลวงและถูกพิพากษาว่ากระทําผิด
                                                                        ั
จริ ง ผูนนนอกจากจะลาออกแล้วบางครังจะทําอัตวินิบาตกรรมเพือหลบหนีความอับอาย
        ้ ั
            จริ ย ปรั ชญาอีกข้อความหนึ งทีคนเกาหลีได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุ ษและปั จ จุบันก็ ยงมี  ั
อิทธิพลต่อคนเกาหลีคือจริ ยปรัชญาในการทํางานคือข้อความทีว่า จริยปรัชญาในการทํางานอันเป็ นทัศนคติ
และค่ านิยมเชิงการพัฒนาการทีก่ อให้ เกิดพฤติกรรมเชิงการพัฒนาหรือเป็ นประโยชน์ ต่อการพัฒนา เช่ น
ความขยันหมันเพียร การช่ วยตัวเอง ความร่ วมมือร่ วมใจ การเสียสละส่ วนตนเพือส่ วนรวม ความตังมันและ
ความมุ่งมัน เหล่ านีเป็ นปัจจัยสําคัญอีกประการหนึงในการพัฒนาสังคมชนบทให้ มีความแข็งแกร่ ง ทีสําคัญ
คือจริยปรัชญาทีมีการปลูกฝังและสืบทอดให้ แก่คนรุ่นหลังได้ สืบสานต่ อ๑๐
            จะเห็นได้ว่าหลักการปกครองทีรัฐบาลเกาหลีได้นาเอาหลักจริ ยปรัชญาของขงจือมาบูรณาการใน
                                                           ํ
การปกครองประเทศนันจะคํานึ งถึงหลัก ๓ ประการคือ แผ่นดิ น ประชาชน และการบริ หารงานของรั ฐ
ผูปกครองจึ งจําเป็ นที จะต้องทําเรื องผลประโยชน์ และคุ ณ ธรรมจริ ยธรรมให้เป็ นเรื องเดี ย วกัน เพราะ
   ้
คุณธรรมจริ ยธรรมนันถือว่าเป็ นเสาหลักในการปกครองประเทศ ซึงในเรื องนีมีหลักจริ ยปรัชญาของขงจืออีก

        ๑๐
             ฮานู ลี, แซมาอึลวุนดงของเกาหลี : การศึ กษาวิเคราะห์ เชิงปฏิบัติการขององค์ประกอบทีนําไปสู่ ความสํ าเร็จใน
การพัฒนาชนบท (กรุ งเทพฯ : ปรัชญาการศึกษาดุษฎีบณฑิต, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ,๒๕๒๙), หน้า ๓๔.
                                              ั
๑๐


หมวดหนึงทีมีอิทธิพลยิงต่อคนเกาหลี โดยเฉพาะอย่างยิงรัฐบาลได้นามาใช้เป็ นหลักในการปกครองประเทศ
                                                                        ํ
๕ ประการคือ๑๑
          ๑. ให้สวัสดิการแก่ประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิงในด้านเศรษฐกิจ จะต้องสร้างความมันคงให้กบ            ั
ราษฎร์ ซึงเป็ นสิ งจําเป็ นประการแรกทีผูปกครองจะต้องทําเพือก้าวไปสู่ความสําเร็ จในการปกครองประเทศ
                                                 ้
          ๒. เกณฑ์แรงงานแต่พอดี ไม่ทาให้ราษฎร์ไม่พอใจ ผูปกครองจะต้องคํานึ งถึงประชาชนไม่ควรก่อ
                                               ํ                  ้
ความเดือดร้อนให้กบประชาชนในการเก็บภาษี เกณฑ์แรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิงในฤดูกาลเพาะปลูก การ
                       ั
เกณฑ์แรงงานต้องทําด้วยความสุภาพ ทําให้เขาเห็นจริ งๆ ว่า ทีทําอย่างนี ก็เพือตัวประชาชนเอง ดังทีขงจือพูด
ไว้ในตอนหนึงว่า ถ้ารัฐบาลเกณฑ์ แรงงานด้ วยความสุ ภาพ ทําไปเพือประโยชน์ ของราษฎร์ ย่อมไม่ ไม่ ใคร
โอดครวญ
          ๓. ชี นําวิธีก ารดําเนิ น ชีวิ ตที ถูก ต้องอัน ประกอบด้วยศีลธรรม โดยผูปกครองต้องปฏิบัติต นเป็ น
                                                                                ้
ตัวอย่างในทางทีดี ผูปกครองต้องตระหนักว่า มีสายตาประชาชนทังแผนดินคอยจับตาอยู่ ดังนันจึงต้องระวัง
                         ้
ทุกฝี กาวทังการกระทํา การพูด และการคิด
        ้
          ๔. ให้การยอมรับนับถือในกิจกรรมของประชาชนว่า มีความสําคัญต่อรัฐบาล ไม่ว่าประชาชนจะมี
มากหรื อน้อย มีอานาจต่อรอง หรื อไม่มีก็ตาม ดังทีขงจือกล่าวไว้ว่า กิจกรรมทีประชาชนทําควรให้ ความ
                    ํ
สนใจ เช่ นเดียวกับพิธีกรรมทางศาสนา โดยเน้ นทีความเสมอภาคทางการปฏิบัติต่อราษฎร์ ด้วยไม่ มีการดู
หมิน
          ๕. สร้างความเกรงขามแต่ไม่น่ากลัว ใช้การปกครองโดยพระคุณมากกว่าพระเดช ในทัศนะของ
ขงจื อมุ่งไปที ผูปกครอง ถ้าผูปกครองมีศีลธรรมจริ ย ธรรมประชาชน เพราะถ้าผูปกครองมีคุ ณ ธรรมนํา
                  ้                ้                                                ้
ประชาชนในทางทีดีงามแล้ว ประชาชนย่อมไม่กล้าทีจะออกนอกลู่นอกทาง ผูปกครองเวลาแข็งดุจเพชร
                                                                                  ้
เวลาอ่อนดุ จ ปุ ย นุ่ น จึ งจะสามารถสร้ างความน่ าเกรงขามได้ ประชาชนจะดู พฤติ ก รรมของผูปกครอง  ้
ตลอดเวลา แม้แต่รายละเอียดปลียอย เช่น การแต่งกาย ขงจือก็กล่าวว่า การสร้ างความเกรงขามนันเป็ นสิงที
                                      ่
ตรงกันข้ ามกับความน่ ากลัว การสร้ างความน่ าเกรงขามก็เพือให้ ประชาชนยอมรับในฐานะเป็ นผู้นําประเทศ
          หลักจริ ยปรัชญาทัง ๕ ประการทีกล่าวมาถือว่ามีอิทธิพลต่อแนวความคิดของคนเกาหลีทีได้นามา       ํ
ประยุกต์เข้ากับหลักการปกครองให้มีความสอดคล้องกันอย่างเห็นได้ชดระหว่างผูปกครองกับผูอยู่ใต้การ
                                                                          ั           ้       ้
ปกครอง นันคือรัฐบาลกับประชาชน และด้วยเหตุนีจึงทําให้แนวคิดทางจริ ยปรัชญาทางสังคมของคนเกาหลี
ประสบผลสําเร็ จในการพัฒนาประเทศชาติ ถึงแม้ว่าบางครังเกาหลีเองจะประสบปัญหาบ้าง แต่เขาก็มีวิธีการ
แก้ปัญหาอย่างชาญฉลาด ซึงวิธีการแก้ปัญหาแต่ละอย่างก็โดยการบูรณาการใช้หลักจริ ยปรัชญาของขงจือกับ
ศาสตร์สมัยใหม่เข้าด้วยกัน จนกลายเป็ นวิวฒนาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีทีสามารถยืนหยัดความ
                                                    ั
เป็ น เกาหลีใหม่ ได้ดงเจตนาและสมหวังดังความมุ่งมันของผูนาประเทศ ซึงถือได้ว่าเป็ นความสําเร็ จทีน่ า
                           ั                                        ้ ํ

        ๑๑
           กฤต ศรี ยะอาจ, หลักการปกครองของขงจือ อ้างใน บทความทางวิชาการ พุทธศาสตร์ ปริ ทศน์ (กรุ งเทพฯ : จรัล
                                                                                        ั
สนิทวงศ์การพิมพ์,๒๕๔๘), หน้า ๑๓๔-๑๓๕.
๑๑


ภาคภูมิใจ และเป็ นสิงทีทําให้ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีกาวสู่ความเป็ นผูนาในแถบภูมิภาคเอเชียได้อย่างเต็ม
                                                     ้             ้ ํ
ภาคภูมิ ทังนีเป็ นเพราะพืนฐานในทุกด้านทีแข็งแกร่ ง และประกอบกับแนวคิดทีว่า เมือทรัพยากรมนุษย์ มี
ประสิทธิภาพ ย่อมนําพาประเทศชาติเจริญรุ่งเรือง มันคง และมังคัง

          การนับถือศาสนาของคนเกาหลี
          รัฐธรรมนูญได้รับรองสิทธิในการนับถือศาสนาของคนเกาหลีไว้ว่า ชาวเกาหลีนับถือศาสนาพุทธ
ร้อยละ ๕๑.๒ ของจํานวนประชากร โปรเตสแตนท์ ร้อยละ ๓๔.๔ และคาทอลิค ร้อยละ ๑๐.๖๑๒ (ปั จจุบน            ั
เท่าทีฟังมัคคุเทศก์บรรยาย การนับถือศาสนาพุทธของคนเกาหลีมีแนวโน้มลดลงมาก และส่ วนมากหันไป
นับถือศาสนาคริ สต์ ทังนีอาจจะเป็ นเพราะว่าวัดพุทธศาสนาตังอยู่บนภูเขาในทีห่ างไกลประชาชน ส่ วนวัด
คริ สต์ต ังอยู่ในเมืองซึ งมีปฏิสัมพันธ์ร่ วมกิจ กรรมกับชาวบ้านมากกว่าวัด พุทธศาสนา) ถึงอย่างไรก็ต าม
ประชาชนเกาหลีถึงแม้จะนับถือศาสนาต่างๆ แต่หลักคําสอนของศาสนานันๆ ก็ยงมีอิทธิพลน้อยกว่าหลักจ
                                                                             ั
ริ ยปรัชญาของขงจือ เพราะลัทธิปรัชญาของขงจื อมุ่งสอนระเบียบในสังคม วิถีชีวิตในการดําเนิ นชีวิตของ
ครอบครัวและสังคม การปฏิบติตนให้ถูกต้องตามครรลอง และการรู้จกหน้าทีของตนเอง พร้อมทังปฏิบติ
                                ั                                  ั                                 ั
ตามคําสอนอย่างเคร่ งครัด

ความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาทีทําควบคู่ไปกับการปลูกฝังจริยปรัชญา
        จะเห็นได้ว่า นโยบายการปฏิรูปการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลีนนจะทําควบคู่ไปกับการ
                                                                              ั
ปลูกฝังทางด้านคุณธรรมจริ ยธรรมซึงมีจริ ยปรัชญาของขงจือเป็ นหลักในการนําทาง คนเกาหลีเข้าใจดีว่า
สังคมอุตสาหกรรมจะส่งผลให้คนในสังคมหันมาให้ความสําคัญกับวัตถุโดยละเลยความรู้สึก ความมีนาใจ   ํ
คุณงามความดี ความกตัญ ูอนเป็ นคุณลักษณะเฉพาะของมนุษย์ ดังนันการปลูกฝังคุณธรรมจริ ยธรรมอย่างมี
                            ั
ระบบจึงต้องถูกจัดในหลักสูตรการเรี ยนการสอนตังแต่ชนอนุ บาลจนถึงระดับอุดมศึกษา จนกลายเป็ นอัต
                                                     ั
ลักษณ์และมีการปฏิบติสืบทอดติดต่อกันมาอย่างเหนียวแน่นจนสามารถสร้างคุณลักษณะพิเศษเฉพาะตนได้
                     ั
อย่างโดดเด่นเป็ นทีประจักษ์ต่อสายตาคนทีได้ศึกษาเรื องราวหรื อรับรู้เกียวกับการพัฒนาประเทศของชาว
เกาหลี

ลักษณะเด่ นทีเป็ นอัตลักษณ์ของคนเกาหลี
        เมือไปทัศนะศึก ษาทีประเทศเกาหลีเราจะเห็ นคนเกาหลีมากกว่ า ๘๕ % มีลก ษณะคล่องแคล่ว
                                                                                 ั
ว่องไวเอาจริ งเอาจังกับภาระหน้าทีของตน ยกตัวอย่างมัคคุเทศก์ทีนําเราทัศนะศึกษาจะเห็นได้ว่าเขามีความ
คล่องตัวค่อนข้างสูงไม่ว่าจะทําหรื อพูดล้วนถอดแบบอัตลักษณ์ของความเป็ นคนเกาหลีอย่างชัดเจน ยิงอยู่

        ๑๒
             สํานักงานสารนิเทศภาคโพ้ นทะเล สาธารณรัฐเกาหลี และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย, ความ
จริ งเกียวกับเกาหลี (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,๒๕๓๗), หน้ า ๑๓๑.
๑๒


นานวันก็ยิงเห็ นบล็อกทีหล่อหลอมความเป็ นคนเกาหลีมากขึ น ซึงบล็อกดังกล่าวได้กลายเป็ นอัต ลักษณ์
พิเศษทีหล่อหลอมความเป็ นคนเกาหลีให้มีลกษณะทีเหมือนกันเกือบทังประเทศไม่ว่าชนบทหรื อในเมือง ดัง
                                      ั
จะกล่าวโดยสังเขปให้พอเห็นภาพดังต่อไปนี

           การลําดับรุ่นอาวุโส
           คนเกาหลีให้ความสําคัญต่ อลําดับรุ่ นอาวุ โสอย่างเคร่ งครัด ไม่ว่าจะเป็ นผูอาวุ โสในทีทํางาน ใน
                                                                                     ้
โรงเรี ยนและในมหาวิทยาลัย ความเป็ นรุ่ นทีมีความสําคัญยิง และรุ่ นน้องก็ให้ความสําคัญต่อการเคารพเชือ
ฟังรุ่ นพี ดังนันความช่วยเหลือทีรุ่ นพีให้รุ่นน้องจึงมีให้อย่างเต็มที ความสนิ ทสนม ความสัมพันธ์และความ
ผูกพันระหว่างกันก็มีต่อกันอย่างแน่ นแฟ้ น มารยาทอย่างหนึ งทีแสดงถึงการนับถืออาวุโสของคนเกาหลีที
ปฏิบติมาช้านาน เช่น ในเวลาการรับประทานอาหาร คนทีอาวุโสทีสุ ด ณ ทีนัน จะเป็ นผูทีจับช้อน ตะเกียบ
       ั                                                                                  ้
ตักอาหารก่อน หลังจากนันผูนอยจึงจะสามารถรับประทานอาหารได้ และเราจะต้องรับประทานอาหารทีตัก
                               ้ ้
มาให้หมด หากรับประทานไม่หมดถือว่าอาหารนันไม่อร่ อย

         ความรักในสถาบันการศึกษาและความสัมพันธ์ ระหว่างครูอาจารย์กบศิษย์
                                                                       ั
         วัฒนธรรมที เป็ นอัตลัก ษณ์ของคนเกาหลีในเรื องศิษย์มีการร่ วมดืมร่ วมรับประทานอาหารกับครู
อาจารย์ในช่วงเย็นหลังเลิกเรี ยน บรรยากาศของการดืมกินจะเป็ นบรรยากาศกันเองแต่แฝงไว้ดวยความเคารพ
                                                                                      ้
นับถือนอบน้อมอย่างมีมารยาท คือท่านังทีมีการสํารวมตลอดเวลา ท่าริ นเหล้าทีใช้สองมือประคองขวดเหล้า
หรื อเบียร์และคีบอาหารให้ครู อาจารย์อย่างมีขนตอนมีมารยาท ท่าดืมเหล้าทีลูกศิษย์ตองประคองแก้วเหล้า
                                            ั                                    ้
ด้วยมือสองข้างศีรษะค้อมคํานับและหันข้างให้ครู อาจารย์อนเป็ นท่าทีไม่ประจันหน้าดืมเหล้ากับครู อาจารย์
                                                      ั
เด็ดขาด

         ความเป็ นหมู่เหล่า
         บุคลิกภายนอกของคนเกาหลีจะเฉยเมยและเฉยชาต่อชาวต่างชาติ เพราะถือว่าชาวต่างชาตินนไม่อยู่
                                                                                         ั
ในกลุ่มเดียวกับตน แต่เมือคบหากันนานและชาวต่างชาติสามารถพิสูจน์ตนเองว่าเป็ นคนจริ งใจ และสามารถ
ตีแผ่หวใจในการคบหากัน เมือนันคนเกาหลีจะเป็ ดประตูยอมรับการเข้าเป็ นกลุ่มเดียวกัน จากนันคนเกาหลี
       ั
จะแสดงความจริ งใจยอมรับการเป็ นกลุ่มเดียวกันด้วยการเชิญไปดืมสุ ราด้วยกัน ไม่แปลกหากคนเกาหลีจะ
เชือเชิญคนในกลุ่มเพียงคนเดียวทีตนเองยอมรับไปดืมกันโดยทีไม่เอ่ยปากชวนคนอืน ผูอืนทีอยู่ในกลุ่มก็จะ
                                                                               ้
ไม่เอ่ยปกขอติดตามไปด้วยและไม่รู้สึกว่าคนทีชวนนันเสียมารยาททีเลือกเชิญเฉพาะ คนเกาหลีจะไม่ยอมดืม
สุราจนเมากับบุคคลทีตนยังไม่วางใจ และยอมรับว่าเป็ นกลุ่มเดียวกัน แต่จะดืมจนเมามายกับบุคคลทีตนเอง
วางใจ เคารพนับถือนําใจและจริ งใจเท่านัน
๑๓


          ความเป็ นชาตินิยมและความรักชาติ
          คนเกาหลีจะแสดงความเป็ นชาตินิยมด้วยการใช้สิงของเครื องใช้ทีผลิตขึ นเองในประเทศ เช่น ตาม
ท้องถนนส่วนใหญ่จะพบแต่รถยนต์ถึงร้อยละ ๙๙ ทีผลิตในประเทศ จะมีเพียงส่วนน้อยทีใช้รถยนต์ทีผลิตใน
ต่างประเทศ เพราะคนเกาหลีผลิตรถยนต์เป็ นสิ นค้าส่ งออกไปจําหน่ ายในต่างประเทศทัวโลก บริ ษทผลิต        ั
                                                                 ๑๓
รถยนต์ในประเทศเกาหลีมีหลายบริ ษท แต่สาคัญมี ๔ บริ ษท คือ บริ ษทเฮียนแด (Hyundai) หรื อทีคนไทย
                                        ั      ํ            ั              ั
เรี ยกว่า ฮุนได เป็ นบริ ษททีผลิตเรื อเดินสมุทร ผลิตเฮลิคอปเตอร์และรับเหมางานก่อสร้างขนาดใหญ่ บริ ษท
                           ั                                                                            ั
แดวู (Daewoo) คนไทยรู้จกดี เพราะเป็ นบริ ษทที ขสมก.ของไทยเคยสังรถบัสยีห้อแดวูนีเข้าไปวิงโดยสารใน
                             ั                   ั
กรุ งเทพฯ บริ ษทเกีย (Kia) บางทีใช้เกียมาสเตอร์ เกียมอเตอร์ หรื อเอเชีย แต่ ละบริ ษทก็ผลิดรถยนต์ได้ทุก
                 ั                                                                      ั
ประเภทตังแต่รถบัส รถตู้ รถกระบะ รถยนต์นงทุกขนาดและบางบริ ษทสามารถผลิตรถอืนๆ อีกเช่น รถตัก
                                                   ั                    ั
ดิน รถบดถนน รถแทรกเตอร์ รถผสมปูนซีเมนต์ ฯลฯ และอีกบริ ษทหนึงคือบริ ษทซังย็อง (Sang Youn) เป็ น
                                                                    ั                ั
บริ ษ ัทที ผลิต รถจิ ปยีห้อ โครานโด (Korando) ขับเคลือน ๔ ล้อ มีหลายรุ่ น หลายแบบส่ งขายยังในและ
ต่างประเทศ
          นอกจากนี ยัง มี เ ครื องใช้ไ ฟฟ้ าอี ก หลายชนิ ด ที เกาหลี ผ ลิ ต ขึ นใช้ใ นประเทศและส่ ง ออกยัง
ต่างประเทศ เช่น ผลิตภัณฑ์เครื องใช้ไฟฟ้ ายีห้อซัมซุง (Samsung) ซึงก็ เป็ นทีนิ ยมของคนไทยด้วยเช่นกัน
ดังนันเศรษฐกิจของเกาหลีจึงอยูในภาวะทีมันคงเพราะเงินตราไม่รัวไหลออกนอกประเทศ ในเรื องของการ
                                  ่
รัก ชาติ นันจะเห็ นว่ าคนเกาหลีจ ะมีเรื องประท้ว งรั ฐบาลหรื อหน่ วยงานต่างๆ อยู่เสมอ เพราะประชาชน
โดยเฉพาะนักศึกษา นักวิชาการ และปัญญาชนจะตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล หากเห็นว่านโยบายใดไม่
ถูกต้องหรื อไม่ชดเจนก็จะประท้วงด้วยการชุมนุมต่อต้าน ทีน่าสนใจคือการประท้วงแต่ละครั ง ฝ่ ายประท้วง
                   ั
จะแจ้งให้หน่วยงานทีรับผิดชอบดูแลเรื องการเจรจาให้ทราบล่วงหน้าว่าจะประท้วงบริ เวณใด เวลาใดและจะ
เลิกเมือไร เพือให้หน่วยงานนันประกาศให้ประชาชนทราบจะได้ไม่เดือดร้อน

          ความมีวนัยในตนเอง
                 ิ
          คนเกาหลีจะเคร่ งครัดวินยทุกเรื องเพราะได้รับการฝึ กฝนอบรม และปลูกฝังให้เป็ นผูรักษาวินัยอย่าง
                                  ั                                                     ้
เคร่ งครัดจนกลายเป็ นอุปนิสย อีกทังกฎหมายทีมีบทลงโทษรุ นแรงสําหรับผูฝ่าฝื นวินยหรื อข้อบังคับ จะเห็น
                             ั                                         ้         ั
ได้จ ากการใช้ร ถใช้ถนนของผูค นที นันจะไม่มีการฝื นกฎจราจรเป็ นอัน ขาด ไม่มีก ารข้ามถนนขณะที มี
                                ้
สัญญาณไฟแดง แม้ว่าขณะนันท้องถนนจะไม่มีรถแล่นผ่าน รถจะหยุดทันทีเมือมีสญญาณไฟเหลือง และไม่
                                                                             ั
ฝ่ าไฟแดงแม้ว่าบริ เวณนันจะไม่มีคนข้ามถนน หรื อรถจะหยุดทันทีเมือเห็นคนยืนอยูตรงทางข้ามม้าลาย จาก
                                                                               ่
ความปลอดภัยเช่นนี เราจะเห็นนักเรี ยนชันประถมต้นจูงมือน้องทีเรี ยนอนุบาลข้ามถนนไปและกลับโรงเรี ยน
ตามลําพัง เด็กเหล่านี จะได้รับการปลูกฝังให้ยืนคอยข้ามถนนขณะไฟเขียวเท่านัน จะไม่ขามถนนขณะทีมี
                                                                                      ้
สัญญาณไฟแดงอย่างเด็ดขาดแม้ว่าถนนว่างปราศจากรถ นอกจากนี คนเกาหลีจะไม่ยอมข้ามถนนในทีไม่ใช่

        ๑๓
             สมปราชญ์ อัมมะพันธุ์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๑๗๑.
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานwannasriwichai
 
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนาแบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนาไอดิว ไอดิว
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
หลักการสงคราม
หลักการสงครามหลักการสงคราม
หลักการสงครามminiindy
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศChainarong Maharak
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์Nareerat Keereematcharu
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานBeerza Kub
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3Nanapawan Jan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ชลธิชา เสนอครูนิตยา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  ชลธิชา   เสนอครูนิตยาคัมภีร์ฉันทศาสตร์  ชลธิชา   เสนอครูนิตยา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ชลธิชา เสนอครูนิตยาJirakit Meroso
 

Was ist angesagt? (20)

กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
 
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนาแบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
 
ปก
ปกปก
ปก
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
หลักการสงคราม
หลักการสงครามหลักการสงคราม
หลักการสงคราม
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ชลธิชา เสนอครูนิตยา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  ชลธิชา   เสนอครูนิตยาคัมภีร์ฉันทศาสตร์  ชลธิชา   เสนอครูนิตยา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ชลธิชา เสนอครูนิตยา
 

Ähnlich wie จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ

สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญMim Papatchaya
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญMim Papatchaya
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญMim Papatchaya
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 10866589628
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 10866589628
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญInthuon Innowon
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญInthuon Innowon
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญInthuon Innowon
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญInthuon Innowon
 

Ähnlich wie จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ (20)

สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
Document1
Document1Document1
Document1
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
Korea
KoreaKorea
Korea
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 

Mehr von pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

Mehr von pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 

จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ

  • 1. จริยปรัชญาการสร้ างอัตลักษณ์ ของคนเกาหลีสู่ การพัฒนาประเทศ ผศ.ดร.จักรพรรณ วศ์ พรพวัณ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความนํา เมือวันที ๒๔-๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ทีผ่านมา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัย สงฆ์เลย พร้อมด้วยบุคลากรจากมหาวิทยาลัยส่วนกลางและวิทยาเขตขอนแก่น ได้จดโครงการทัศนะศึกษาดู ั งานของบุคลากรทีประเทศเกาหลี ซึงผูเ้ ขียนเห็นว่าเป็ นโครงการทีดีมีประโยชน์อย่างมากต่อบุคลากรของ มหาวิทยาลัยทีได้มีโอกาสไปศึกษาดูงานเปิ ดดูเปิ ดตายังต่างประเทศ เพือจะได้เล็งเห็นสิ งใหม่ๆ ทีแปลกหู แปลกตาในเชิงของการพัฒนาทังทางกายภาพและจิตภาพ ผูเ้ ขียนเองมีความเชือว่าทุกชาติต้องตระหนักถึง ประเทศเพือนบ้ านใกล้ เคียงและประเทศมหาอํานาจอืนๆ เพือความอยู่รอดของตนเอง การแสวงหาความรู้ เกียวกับต่ างชาติจงมีผลโดยตรงต่ อระบอบการเมืองและการปกครองของแต่ ละชาติ โดยเฉพาะการศึกษาดู ึ งานทีประเทศเกาหลีซึงมีความสัมพันธ์อนแนบแน่นกับประเทศไทยมาเป็ นเวลาช้านาน นับตังแต่ครังเริ มเกิด ั สงครามเย็นระหว่างค่ายเสรี กบค่ายคอมนิวนิสต์ หลังสงครามโลกครังทีสองเสร็ จสินใหม่ๆ ครั งนันประเทศ ั ไทยได้ส่งทหารไปช่วยกองกําลังสหประชาชาติทาสงคราม “เกาหลี” อยู่หลายปี จนกระทังเกิดตํานานรั ก ํ ระหว่างทหารไทยกับสาวเกาหลี ดังมีประจักษ์พยานสําคัญคือ เพลงอมตะนิ รันดร์ ชุด “อารีดัง” ซึงหนึ งใน นันได้แก่ “เสียงครวญจากอารีดัง” มีเนื อร้องสําแดงถึงความโหยหาอาลัยทีสาวเกาหลี (อารี ดง) มีต่อหนุ่ ม ั ไทยทีจากมา หรื อเป็ นบทเพลงทีแสดงให้เห็นถึงความรักความผูกพันระหว่างคนไทยกับคนเกาหลี ครันผ่านยุค “อารี ดัง” มาถึงยุคปัจจุบน คนไทยกลับรู้เรื องประเทศเกาหลีค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะ ั ในเรื องของจริ ยปรัชญาในการพัฒนาประเทศ ทังๆ ทีประเทศนี มีความเจริ ญรุ่ งเรื องทางด้านเศรษฐกิจลําหน้า ประเทศไทยไปหลายช่วงตัวทีเดียว จนถูกจัดอยูในกลุ่มประเทศ “นิค”๑ ของเอเชียไปแล้วเมือไม่กีปี ทีผ่านมา ่ มีสินค้าทีมีระดับหลายยีห้อหลายประเภทถูกส่ งมาขายจนเป็ นทีติดหูติดตาของคนไทย มิหนําซําในระดับ โลกก็เคยแสดงความยิงใหญ่โดยเป็ นเจ้าภาพจัดแข่งขันกีฬาโอลิมปิ กมาหนหนึ ง และตอนช่วงเกิดสงคราม อ่าวเปอร์เซีย ก็เคยถูกทาบทามจากสหรัฐอเมริ กาให้ช่วยเหลือด้านการเงินแก่กองกําลังฝ่ ายพันธมิตรทีกรี ธา ทัพเข้าไปขับไล่อีรักออกจากคูเวต ยิงในอนาคตข้างหน้าถ้าสามารถรวมกับเกาหลีเหนื อได้เป็ นผลสําเร็ จ นัน ก็หมายถึงความยิงใหญ่ไม่เป็ นสองรองใครในเอเชียหรื อในระดับโลกอย่างแน่นอน ทีกล่าวมาข้างต้นผูเ้ ขียนอยากจะบอกว่า ประเทศเกาหลีปัจจุบนเป็ นเป็ นประเทศทีน่ าศึกษาไม่น้อย ั ไปกว่าประเทศทีได้ชือว่าพัฒนาแล้วในโลกนี อย่างน้อยในปฐมฤกษ์ของการศึกษาดูงานในครั งนี ก็ได้ฟัง ป.ธ.๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) อาจารย์ประจํา มจร.วิทยาลัยสงฆ์เลย ๑ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีเป็ นประเทศหนึ งในทวีปเอเชียทีรู ้ กนในปั จจุ บนว่าเป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ั ั หรื อ “นิค” (Nic-New Industry Country) ๑ ใน ๔ ประเทศทีเรี ยกกันว่า “สี เสื อแห่งเอเชีย” คือ เกาหลีใต้ จีน ไต้หวัน ฮ่องกง และสิ งคโปร์
  • 2. ๒ มัค คุ เทศก์ได้บรรยายให้รั บทราบถึงเรื องราวความเป็ นมาทังด้านประวัติ ศาสตร์ วัฒ นธรรม ประเพณี การบ้านการเมือง ตลอดถึงการบรรยายในสถานทีสําคัญต่างๆ ทีปรากฏให้เห็นภาพทังในอดีตและปั จจุบน ั สิ งทังหลายทังปวงทีบุคลากรของมหาวิทยาลัยได้ยลโฉมภาพลักษณ์ของความเป็ นเกาหลีตลอด ๓ คืน ๔ วัน นันเป็ นภาพน่าทีประทับใจ โดยเฉพาะผูเ้ ขียนเองสนใจในเรื องของการสร้างอัตลักษณ์ความเป็ นคนเกาหลีที สามารถพัฒนาประเทศได้เท่าเทียมกับอารยประเทศทีพัฒนาแล้ว ทังๆ ทีก่อนหน้านี (เมือประมาณ ๓๐-๕๐ ทีผ่านมา) เกาหลีก็เคยเป็ นประเทศทียากจนค้นแค้นบอบชําจากภัยสงคราม แต่ก็ยงสามารถยืนหยัดผงาดใน ั การพัฒนาประเทศให้มีความมังคังทางเศรษฐกิจ และมีความเจริ ญทางเทคโนโลยีมากทีสุ ดประเทศหนึ งใน ภูมิภาคเอเชีย ย้อนรอยประวัตศาสตร์ ิ เมือศึกษาประวัติศาสตร์ของสาธารณรัฐเกาหลีโดยสังเขปแล้วจะเห็นได้ว่า ประเทศนี มีประวัติความ เป็ นมาและมีวฒนธรรมทีสืบทอดต่อกันมายาวนานกว่า ๕,๐๐๐ ปี สามารถดํารงความเป็ นชาติทีเข้มแข็งมา ั ระยะหนึง จากนันก็ถกรุ กรานจนตกเป็ นเมืองขึ นของญีปุ่ น๒ จนถึงสงครามโลกครังที ๒ เมือสงครามโลก ู สงบลง ญีปุ่ นเป็ นฝ่ ายพ่ายแพ้สงครามเกาหลีจึงได้รับเอกราช แต่ไม่นานเกาหลีก็อยูในภาวะสงครามการแบ่ง ่ ค่ายของโลกในสมัยนัน คือค่ายประชาธิปไตยอันมีประเทศสหรัฐอเมริ กาเป็ นผูนา และค่ายคอมมิวนิสต์อนมี ้ ํ ั ประเทศสหภาพโซเวียตเป็ นผูนา สงครามครั งนันเป็ นสงครามระหว่างชนชาติเดียวกัน เพียงแต่แตกต่าง ้ ํ ทางด้านแนวคิดในการปกครองประเทศ และเป็ นสงครามทียาวนาน เมือมีการเจรจาสงบศึกเกาหลีก็ถูก แบ่งแยกออกเป็ น ๒ ประเทศ คือประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนื อ) และ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยมีเส้นขนานที ๓๘ องศาเหนื อเป็ นเส้นแบ่งพรมแดนระหว่าง ประเทศเกาหลีเหนือกับเกาหลีใต้มาจนกระทังบัดนี ๓ ปั จจุบนความรู้สึกของประชาชนทัง ๒ ประเทศมีความต้องการเป็ นอย่างยิงทีจะรวมประเทศเข้า ั ด้วยกัน ถึงขนาดทีรัฐบาลของทัง ๒ ประเทศเคยจัดให้มีการพบญาติพีน้องทีจากกันเมือเกิดสงครามเกาหลี และเกิด การแบ่งประเทศออกเป็ น ๒ ประเทศ การณ์ค รั งนันเป็ นแรงกระตุน ให้เกิ ดความคิด ในการรวม ้ ประเทศอย่างกว้างขวาง แต่ก็ยงไม่ประสบผลสําเร็ จ เนื องจากว่าประเทศทัง ๒ มีความแตกต่างในเรื องของ ั การปกครองซึงเป็ นคนละค่ายดังกล่าว และทีสําคัญผูนาของทัง ๒ ประเทศยังมีความเห็นทีแตกต่างและยังมี ้ ํ ความหวาดระแวงกันอยู่ จึงเป็ นไปได้ยากทีจะรวมประเทศเข้าด้วยกันเหมือนประเทศอืนๆ อย่างเช่น เยอรมนี เป็ นต้น ๒ เกาหลีตกเป็ นอาณานิคมของญีปุ่ นมานานถึง ๓๕ ปี ในสมัยทีปกครองแบบสมบูรณาสิ ทธิราชย์ พึงได้รับเอกราช และจัดตังเป็ นประเทศทีปกครองตนเองโดยสมบูรณ์ แบบสาธารณรั ฐเมือปี ค.ศ. ๑๙๔๘ (พ.ศ. ๒๔๘๘) เมือญีปุ่ นยอมแพ้ กองทัพสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครังที ๒ และตอนจัดตังประเทศใหม่ๆ หลังสงครามโลกครั งที ๒ ประเทศเกาหลี ตกในสภาพยากจนข้นแค้นมาก ๓ สมปราชญ์ อัมมะพันธ์, ทีนี...เกาหลีใต้ (กรุ งเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๓๔.
  • 3. ๓ พัฒนาการสังคมเกาหลีทีก่อให้ เกิดอัตลักษณ์ความเป็ นคนเกาหลี พืนฐานเดิมของประเทศเกาหลีเป็ นสังคมเกษตรกรรมคล้ายๆ ประเทศไทย ประชาชนส่ วนใหญ่ของ ประเทศมีฐานะยากจนด้วยตกอยูในสภาวะสงครามมาตลอด อีกทังยังเคยตกเป็ นอาณานิคมของญีปุ่ นอยู่เป็ น ่ เวลานานหลาย ปี และก่อนหน้านันก็เคยตกอยูภายใต้การปกครองของจีน และมองโกเลีย ด้วยเหตุนีกระมังที ่ ทําให้คนเกาหลีตระหนักถึงความยากลําบากต่างๆ ทีเกิดขึนกับประเทศของตน และก่อให้เกิดการพัฒนาใน การสร้างอัตลักษณ์ความเป็ นคนเกาหลีขึนอย่างขะมักเขม้นเด็ดเดียวและมันคง โดยเฉพาะอย่างยิงเมือมีการ แบ่งออกเป็ น ๒ ประเทศ และสงครามสงบลงแล้ว ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีจึงหันมาพัฒนาประเทศอย่าง จริ งจังเพือให้ประชนชนส่วนใหญ่ของประเทศพ้นจากความยากลําบากและความอดอยาก รัฐบาลจึงกําหนด แผนพัฒนาประเทศทีสําคัญ ๒ ประการ คือ๔ การปฏิรูประบบการศึกษา เมือปี ค.ศ. ๑๙๔๕ หลังเกาหลีได้รับอิสรภาพ ประเทศเปลียนการปกครองมาเป็ นระบอบสาธารณรัฐ การปฏิรูปการศึกษาได้เกิดขึนขนานใหญ่ รัฐบาลไส้ส่งเสริ มให้สิทธิเสรี ภาพแก่ประชาชนทุกคนทุกชนชัน ให้ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน และในช่วงระหว่างปี ๑๙๔๕-๑๙๗๐ เป็ นช่วงทีประเทศเกาหลีมีการ ขยายตัวทางการศึกษาออกไปอย่างกว้างขวาง แม้ว่าจะมีปัญหาเกียวกับการเกิดสงครามเกาหลี แต่ก็สามารถ ขจัด ความไม่รู้ หนังสื อของประชาชนได้สําเร็ จ การพัฒ นาทางการศึก ษาได้รุ ด หน้าไปอย่างรวดเร็ ว มี เป้ าหมายและเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบการศึกษารัฐบาลจัดเป็ นระบบ ๖-๓-๓-๔ กําหนดโดยพระราชบัญญัติการศึกษาเมือปี ๑๙๔๙ โดยมีองค์ประกอบดังนี๕ ๑. ประชาชนทุกคนมีสิทธิทีจะได้รับการศึกษาตามความสามารถของตนอย่างเท่าเทียมกัน ๒. เด็กทุกคนจะต้องได้เข้าเรี ยนในชันประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับอืนๆ ตามกฎหมาย ๓. การศึกษาภาคบังคับจะต้องเป็ นการให้เปล่า ๔. สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยมีเสรี ภาพ มีความรู้ความชํานาญพิเศษ มีนโยบายเป็ นกลาง ในการศึกษาและมีอิสระ โดยได้รับการยอมรับตามกฎหมาย ๕. รัฐจะต้องส่งเสริ มการศึกษาตลอดชีพอย่างต่อเนือง ๖. ความสําคัญพืนฐานเกียวกับระบบการศึกษา การบริ หาร การลงทุนการศึกษาและสถานภาพของ ครู จะได้รับการกําหนดตามกฎหมาย ๔ จินตนา พุทธเมตะ, คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริ ยธรรมของประเทศเกาหลี (กรุ งเทพ ฯ : ศูนย์คุณธรรม.,๒๕๔๘), หน้า ๑๐-๑๓. ๕ สมปราชญ์ อัมมะพันธุ์, อ้ างแล้ ว, หน้ า ๑๒๔.
  • 4. เมือประเทศสาธารณรัฐเกาหลีกลับคืนสู่ภาวะปกติ นโยบายอันดับแรกทีรัฐบาลเร่ งกระทําให้เห็น เป็ นรู ปธรรมอย่างเร่ งด่ ว นที สุ ด คื อการปฏิรู ปการศึก ษาให้เห็ น เป็ นรู ปธรรมยิงขึ น ด้วยเหตุผลของผูน ํา ้ ประเทศทีตระหนักว่าประเทศของตนนันขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติไม่สามารถสร้างชาติดวยการเกษตร ้ แบบดังเดิม และไม่สามารถสร้างชาติดวยอุตสาหกรรม ดังนันรัฐบาลจึงหันมาสร้างและพัฒนาทรัพยากร ้ มนุษย์ในประเทศซึงมีอยูเ่ ป็ นจํานวนมากเพือให้เป็ นทรัพยากรทีมีคุณค่าและมีประสิทธิภาพ การปฏิรู ประบบการศึก ษาเริ มจากการสร้ างแรงจู งใจให้ค นที เรี ยนมาทางด้านการศึก ษาหัน มา ประกอบอาชีพครู ดวยการเพิมเงินเดือนให้สูงขึน มีชีวิตทีดีขึนทังด้านเศรษฐกิจ การครองชีพและสถานภาพ ้ ทางสังคม ซึงสถานภาพทางสังคมนันแก้ไขได้ไม่ยากเพราะคุณธรรมความกตัญ ูของคนในสังคมทีมีต่อครู นันสู ง ดังนันสถานะครู ข องประเทศสาธารณรัฐเกาหลีจึ งเป็ นปูชนี ยบุ คคลทีสังคมยกย่องและให้เกี ยรติ สูงสุด เงินเดือนของครู ในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เมือรวมกับภายได้พิเศษทีได้จากโรงเรี ยนในการดูแล นักเรี ยนหลังเลิกเรี ยน จนถึงเวลาประมาณ ๑๗.๐๐ น. แล้ว จัดอยู่ในอันดับต้นๆ พอๆ กับอาชีพแพทย์และ ทนายความ จะมีความแตกต่างบ้างตรงทีว่าอาชีพครู อาจารย์มีวนหยุดปิ ดเทอมทําให้มีเวลาพักผ่อนและมีเวลา ั ค้นคว้างานวิจยเพือเป็ นองค์ความรู้สาหรับสอนนักเรี ยนและนักศึกษาต่อไป ครู อาจารย์ในโรงเรี ยนอนุ บาล ั ํ ถึงมัธยมศึกษาไม่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการให้สอนพิเศษนอกโรงเรี ยนแม้กระทังสอนตามบ้าน จะมีการสอนพิเศษเฉพาะช่วงทีมีการสอบเข้าเรี ยนต่อในระดับอุดมศึกษา ซึงโรงเรี ยนแต่ละแห่ งเป็ นผูจดขึน ้ั เริ มสอนตังแต่เลิกเรี ยนจนถึง ๒๒.๐๐ น. โรงเรี ยนเป็ นผูจ่ายเงินค่าสอนให้แก่ครู อาจารย์ นอกจากนี แล้วครู ้ อาจารย์ทุกคนจะได้รับโบนัสจากโรงเรี ยนทุกๆ ๒ เดือน ดังนันในระยะเวลา ๑๒ เดือน ได้รับโบนัส ๖ ครัง และได้รับเงินพิเศษในช่วงวันเทศกาลชูช็อก เรี ยกว่าเป็ นเงินค่า “ขนมต็อก” เมือรวมกันแล้วครู อาจารย์จะ ได้รับเงินโบนัสและเงินพิเศษทังหมดประมาณ ๙ ครังต่อหนึงปี เมื อรั ฐ บาลดู แ ลอาชี พ ครู อย่ า งจริ งจัง ครู ทุ ก คนจึ ง ปฏิ บัติ ห น้า ที ของตนอย่ า งเต็ ม กํา ลัง เต็ ม ความสามารถ อีกทังจรรยาบรรณในวิชาชีพครู ทาให้ครู อาจารย์ทุกคนต้องเป็ นตัวอย่างทีดีของลูกศิษย์ และ ํ เป็ นผูทีมีความรับผิดชอบสูง กอรปกับครู ตองได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากกระทรวงศึกษาธิการ ทํา ้ ้ ให้ครู อาจารย์ตองระมัดระวังไม่ทาให้ตนเองเสียหายหรื อมีความผิด หากมีความผิดร้ายแรงจะต้องถูกยึดใบ ้ ํ ประกอบวิชาชีพและต้องได้รับความอับอายอย่างยิงในสังคม ดังนันครู อาจารย์ทุกคนตระหนักในหน้าทีของ ตน ซึงการลงโทษทางสังคมในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีนนจะรุ นแรงมาก เห็นได้จากสือมวลชนเสนอข่าว ั ผูกระทําผิดผูกระทําผิดฆ่าตัวตายเพือหนีความอับอาย และภาพทีผูกระทําผิดใช้ผาปิ ดบังใบหน้าในขณะถูก ้ ้ ้ ้ เจ้าหน้าทีควบคุมตัว รัฐบาลมีน โยบายกําหนดอัต ราส่ ว นระหว่ างครู ก ับนัก เรี ย นให้สมดุ ลเพือการเรี ย นการสอนที มี ประสิทธิภาพ และเพือให้ครู สามารถดูแลนักเรี ยนได้อย่างทัวถึง นอกจากนี แล้วรัฐบาลยังดูแลถึงการเรี ยน โดยไม่เสี ยค่ าเล่าเรี ยน การแจกตําราเรี ย น การเลียงอาหารกลางวันที ถูก ต้องตามหลักโภชนาการให้แก่
  • 5. ๕ นักเรี ยนทุกคน มาตรฐานการเรี ยนการสอนทังในเมืองและในชนบทไม่มีความแตกต่างกัน และยกเลิกการ สอบแข่งขันเพือเข้าเรี ยนในระดับมัธยมศึกษา เป้ าหมายการศึกษานอกจากจะเน้นด้านวิชาการแล้วยังเน้นเรื องการพัฒนาจิตใจให้เกิดความสมดุล กับร่ างกายทีเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว การพัฒนาพืนฐานความคิดความรู้สึกของตนเองให้กล้าแสดงออก อย่างถูกต้อง มีหลัก การและมีเหตุ ผล การปลูกฝั งความเป็ นชาติ นิ ย มภาคภู มิใจในชาติ วัฒ นธรรม และ ประเพณี การปลูกฝังความเชือมันในตนเองและความรักในเพือนบ้าน เสริ มสร้างความสามารถของนักเรี ยน ให้นาความรู้ไปพัฒนาท้องถินของตน ํ การเรี ยนในระดับอุดมศึกษา รัฐบาลกําหนดให้มีการสอบคัดเลือกและพิจารณาผลการเรี ยนในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เพราะต้องการนักเรี ยนทีมีความรู้ในระดับทีสามารถเรี ยนได้เป็ นอย่างดี และเพือให้ โรงเรี ย นมัธยมปลายสอนนักเรี ยนอย่างมีคุ ณภาพ เป้ าหมายสําคัญของการศึก ษาในระดับนี คือ การสร้ าง ทรัพยากรมนุษย์ทีสมบูรณ์แบบเพียบพร้ อมไปด้วยพลังทังด้ านร่ างกาย และพลังปัญญา ทีสามารถทํางานทุก อย่างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เหมือนดังที ศ.สวาท เสนาณรงค์ ได้กล่าวไว้ในหนังสื อ “ไทยแอตลาส” ว่า มนุษย์หรือประชากรเป็ นทรัพยากรทีมีคณค่ามากทีสุ ดของแผ่ นดิน ประเทศชาติจะมีความเจริญรุ่งเรืองมาก ุ น้ อยเพียงใดนันย่อมขึนอยู่กบประชากรเป็ นสําคัญ กล่ าวคือประเทศใดมีประชากรทีมีคณภาพสู ง หมายถึงมี ั ุ ระดับการศึกษาสู ง มีสุขภาพอนามัยดี มีระเบียบวินัย มีความขยันขันแข็งและมีความคิดริเริมดี ก็ย่อมจะช่ วย พัฒนาประเทศของตนให้ เจริญก้าวหน้ าได้ รวดเร็วกว่าประเทศทีมีประชากรคุณภาพตํา๖ การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีได้วางนโยบายด้านเศรษฐกิจไปพร้อมๆ กับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา เพราะรัฐบาลเชือมันว่าการสร้างความเป็ น เกาหลีใหม่ และการจะนําประเทศให้สามารถเป็ นผูนาในภูมิภาค ้ ํ เอเชียได้นน ต้องพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยให้การศึกษาทีมุ่งเน้นให้การศึกษาทีรัฐบาลจัดให้ตลอดอายุแห่ ง ั การศึกษา รากฐานที แข็ ง แกร่ งทางการศึ ก ษาทํา ให้ น โยบายด้า นเศรษฐกิ จ ดํา เนิ น ไปอย่า งราบรื นเกิ ด ประสิ ทธิ ผล แผนแรกที กระทําการอย่างเร่ งด่ วน คือเน้นให้ประชาชนทุ กคนทุก วัยประหยัด และอดออม ก่อให้เกิดอัตราการออมทรัพย์ในประเทศเพิมสูงขึนอย่างรวดเร็ วและมันคง การพัฒนาเศรษฐกิจนัน รัฐบาลเร่ งดําเนินการทังในเมืองและในชนบทควบคู่กนไป โดยเฉพาะใน ั ชนบทซึงมีประชาชนทียากไร้และอดอยากเป็ นจํานวนมาก เพือให้ประชาชนทุกคนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี ขึนทัวกัน และเพือแก้ปัญหาชาวชนบทอพยพเข้าเมืองเพือหางานทําให้หมดไป รัฐบาลจึงเริ มโครงการแซมา อึลอุนดง ปรัชญาของโครงการนี คือ ความขยันหมันเพียร การช่ วยตนเอง และความร่ วมมือ รัฐบาลสร้าง และปลูกฝังทัศนคติ ค่านิยม และจริ ยธรรมในการทํางานใหม่เพือให้ชาวชนบทเกิดความเชือมันในอนาคตว่า ๖ อ้ างแล้ ว, หน้ า ๑๗๙.
  • 6. ๖ เราก็อยู่ดีกนดีได้ ถ้าเราขยันทํางาน และร่ วมมือกันดี และมีจตใจพึงตนเองโดยบุกเบิกแสวงหาผลประโยชน์ ิ ิ จากธรรมชาติแทนทีจะอาศัยแต่ ชะตากรรมของตนเอง ความสําเร็ จของโครงการนี เกิดจากชาวบ้านได้รับการกระตุนอย่างสูงจากผูนาประเทศ อีกทังผูนา ้ ้ ํ ้ ํ หมู่บานซึ งมีบทบาทสําคัญ ในการเปลียนแปลงและพัฒ นาหมู่บาน ผูนาซึงมีค วามจริ งใจ บริ สุทธิใจ ทุ ก ้ ้ ้ ํ คนทํางานอย่างทุ่ มเท รวมทังข้าราชการในท้องถินก็ร่ ว มมือร่ ว มใจ ตังใจทํางานและดําเนิ น งานอย่างมี ประสิทธิภาพ ให้บริ การด้านการพัฒนาทีผูนาระดับหมู่บานต้องการ อีกทังผูนาประเทศ ผูนาทางการเมือง ้ ํ ้ ้ ํ ้ ํ และนัก ธุรกิจให้การสนับสนุ น อย่างเต็มที ติดตามผลของโครงการอย่างใกล้ชิด ดัง นันโครงการนี จึงเป็ น กระบวนการทางสังคมระดับชาติทีมีการรวมพลังทียิงใหญ่ทังภาครัฐและเอกชนทีสนับสนุนทังเครืองมือและ เทคโนโลยีเพือให้ การพัฒนาชนบทประสบความสําเร็จ อีกทังเป็ นการแก้ไขปั ญหาการทิงถินเข้าเมืองเพือ ประกอบอาชี พ และแก้ไขปั ญ หาคนล้น เมือ งใหญ่ อน ก่ อ ให้เ กิ ด ปั ญ หาด้า นอืนๆ ตามมา เช่ น ปั ญ หา ั อาชญากรรม ปัญหาความแออัด และมลภาวะ เป็ นต้น ความสําเร็ จของโครงการนี สามารถเปลียนแปลงและพัฒนาทุกๆ ด้าน กล่าวคือ๗ ๑. การพัฒนาจิตใจของชาวบ้านในชนบทให้เกิดความเชือมันในชีวิตเกิดความมานะเพียรพยายาม และอดทน ซึ งสิ งเหล่านี มีอยู่แล้ว ในอุปนิ สัย ของคนเกาหลี เพีย งแต่ ก ารทีต้องตกอยู่ในสภาวะการเป็ น เมืองขึน และภาวะสงครามระหว่างชนชาติเดียวกันก่อให้เกิดความท้อแท้ทอดอาลัยในชีวิตฝากความหวังไว้ กับฟ้ าดินและชะตาชีวิต ๒. การปรั บโครงสร้ า งทางสังคมที อยู่อ ย่า งโดดเดี ยวให้เป็ นสังคมที ทําทุ ก อย่า งโดยคํานึ งถึ ง ประโยชน์ส่วนรวมก่อนประโยชน์ส่วนตน ทีสําคัญอย่างยิงอีกประการหนึ ง คือการปรับพืนฐานของรายได้ ในแต่ละครัวเรื อนให้ชาวบ้านทุกคนอยูอย่างมีความสุขไม่อดอยาก ไม่ยากจน ลดช่องว่างระหว่างรายได้ของ ่ คนในเมืองกับคนชนบท ๓. การพัฒนาและสนับสนุนให้ชาวบ้านมีโอกาสเรี ยนหนังสือโดยไม่จากัดวัย ทําให้ชาวบ้านทุกคน ํ ทุ ก วัย สามารถอ่ า นออกเขี ย นได้เ ป็ นอย่า งดี สามารถนํา ความรู้ ม าพัฒ นาการเกษตรของตนอย่า งมี ประสิทธิภาพ เมือศึกษาถึงผลสําเร็ จของโครงการแซมาอึลอุนดงแล้วจะพบว่า รัฐบาลมีขีดความสามารถในการ สร้ างรากฐานทางเศรษฐกิจ ในระบบสังคมหมู่บานให้แข็ งแกร่ งโดยเน้นหนัก ในการเพิมพูน รายได้ข อง ้ ประชาชนคือการพัฒนาโครงการแหล่งรายได้จนประชาชนสามารถพึงพาตนเองได้ และมีความคิดริ เริ มทีจะ ช่วยเหลือตนเอง นอกจากนี รัฐบาลยังกระตุนให้ผนาระดับหมู่บานมีบทบาทสําคัญในการเปลียนแปลงและ ้ ู้ ํ ้ พัฒนาหมู่บาน ตลอดถึงข้าราชการท้องถินต้องมีขีดความสามารถในการทํางานอย่างมีประสิ ทธิภาพสูงใน ้ การให้บริ การทางการพัฒนาแก่ประชาชนทุกชนชัน และผูนาระดับสูงสุดทางการเมืองและกลุ่มชนชันนําใน ้ ํ การเมืองเองก็พร้อมให้การสนับสนุนอย่างเต็มทีผ่านโครงการแซมาอึลอุนดง ซึงเป็ นโครงการระดับชาติที ๗ จินตนา พุทธเมตะ, อ้ างแล้ ว, หน้ า ๑๔.
  • 7. ๗ สามารถสร้างขบวนการทางสังคมในการมีส่วนร่ วมของพลังขนาดใหญ่ทางแรงงานของสถาบันต่างๆ และ ทรัพยากรทางเทคนิ คและเครื องมือต่างๆ จากทุกส่ วนงานของประเทศมารวมเป็ นเอกภาพเดียวกันในการ พัฒนาประเทศจนประสบผลสําเร็ จ นันคือสามารถเปลียนฐานะจากประเทศทียากจนกลายเป็ นประเทศทีมี ความมันคงในทางเศรษฐกิจ คุณ ภาพชี วิตของชาวเกาหลีดีขึนๆ ตามลําดับ ปั ญหาต่างๆ ได้รับการแก้ไข ปรับปรุ งจนคลีคลายไปในทางทีดีจนเป็ นทีน่าพอใจ การปลูกฝังด้ านจริยปรัชญาทีก่อให้ เกิดอัตลักษณ์ในการสร้ างชาติของคนเกาหลี จริ ยปรัชญา จริ ยธรรม หรื อคุณธรรม ทัง ๓ คํานี มีลกษณะความหมายที คล้ายคลึงกัน จะมีความ ั แตกต่างก็ตรงทีจริ ย ปรัชญาเป็ นเรื องของแนวคิดทีก่ อให้เกิดจริ ย ธรรมหรื อคุณ ธรรม ส่ วนจริ ยธรรมหรื อ คุณธรรมเป็ นเรื องของความดีงามทีเกิดจากความประพฤติปฏิบติตนอันถูกต้อง เป็ นทียอมรับของสังคม และ ั เป็ นปัจจัยหลักทีทําให้สงคมเกิดความสงบสุข อีกทังยังนําพาให้บุคคลนันมีความเจริ ญในส่ วนตน ซึงก็เป็ น ั คุณ ลัก ษณะที ถูก ต้องอัน เกิ ด จากความเข้าใจคุ ณ ค่ าอัน แท้จ ริ งด้ว ยปั ญ ญาและความคิด เป็ นคุ ณ ลัก ษณะ เฉพาะทีมีแต่ในมนุษย์เท่านัน และอยูภายในจิตใจหรื อจิตใต้สานึกของมนุษย์ทุกคน เป็ นลักษณะนิสยทีดีงาม ่ ํ ั ของมนุษย์ก่อให้เกิดสารธรรมอันเป็ นประโยชน์มากมายทังต่อตนเอง สังคม ประเทศชาติ จะเห็นได้ว่าคําทัง ๓ คํานีมีคุณลักษณะการนํามาใช้ในบริ บททีพอแทนกันได้ เหมือนทีพัฒน์ เพ็งผลา ได้กล่าวถึงความหมาย ของคุณธรรมไว้ว่า คุณธรรมมีคาเรี ยกหลายคํา เช่น ธรรม กุศลกรรม กัลยาณธรรม สาธุธรรม สัตธรรม สัปปุ ํ ริ สธรรม คําเหล่านี หมายถึงธรรมดีมีคุณประโยชน์ เช่น เมตตา (ความรัก) สติ (ความระลึกได้) ขันติ (ความ อดทน) วิริยะ (ความเพียร) เป็ นต้น๘ และในทีนี ผูเ้ ขียนจะขอใช้คาว่า “จริ ยปรัชญา” แทนคําว่า “จริ ยธรรม ํ และคุณธรรม” จริ ยปรัชญาเป็ นสิงจําเป็ นและสําคัญยิงในสังคมโลก ไม่ว่าชาติใดประเทศใดล้วนต้องการความสงบ สุขในสังคม ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีเป็ นอีกประเทศหนึ งทีให้ความสําคัญยิงต่อการปลูกฝังจริ ยปรัชญา หรื อจริ ยธรรมให้แก่ประชาชนแต่โบราณกาลกว่า ๕,๐๐๐ ปี และการปลูกฝังจริ ยปรัชญาของประเทศเกาหลี สามารถแบ่งออกเป็ น ๒ ลักษณะ คือ๙ การปลูกฝังจริยปรัชญาในครอบครัว ด้วยว่าประเทศสาธารณรั ฐเกาหลีนับถือคําสอนของขงจื อมาเป็ นเวลาช้านาน ดังนันการปลูกฝั ง ด้านจริ ยปรัชญาจึงดําเนินไปตามคําสอน ซึงหลักคําสอนทีคนเกาหลียึดถือหลักๆ ก็เป็ นเรื องของการปฏิบติ ั หน้าทีของคนในสังคมทีมีต่อกัน อย่างเช่นข้อความตอนหนึ งว่า ทุกสิ งทุกอย่างในโลกมีความแตกต่างกัน โดยกําเนิด ระเบียบ ในการดํารงชีวิตในครอบครัว สังคม หรื อประเทศย่อมมีความแตกต่างกันแต่กาเนิ ด ทุก ํ ๘ พัฒน์ เพ็งผลา, มนุษย์กับคุณธรรม (กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง,๒๕๔๕), หน้า ๑๓๗. ๙ จินตนา พุทธเมตะ, อ้ างแล้ ว, หน้ า ๑๐๓-๑๐๖.
  • 8. ๘ อย่างควรอยูในทีสมควร กษัตริ ยควรมีคุณสมบัติให้สมเป็ นกษัตริ ย ์ พ่อควรมีคุณสมบัติให้สมเป็ นพ่อ ลูกควร ่ ์ มีคุณสมบัติทีสมเป็ นลูก เป็ นต้น เมือทุกอย่างปฏิบติอย่างเหมาะสมกับบทบาทตนเองย่อมส่ งผลให้สังคมมี ั ระเบียบวินย นันคือสิ งทีมีมารยาท ซึงเป็ นกฎระเบียบหรื อหน้าทีทีควรปฏิบติ และกฎระเบียบหรื อหน้าทีควร ั ั ยึดถือปฏิบตินีเรี ยกว่า “บัญญัติ ๕ ประการ” คือ ั ๑. กษัตริ ยกบขุนนางควรมีความไว้วางใจกัน ์ั ๒. พ่อกับลูกชายควรผูกพันและสืบทอดกัน ๓. สามีกบภรรยาควรมีบทบาทและหน้าทีต่างกัน ั ๔. ผูใหญ่กบผูนอยควรมีการลําดับอาวุโส และ ้ ั ้ ้ ๕. ระหว่างเพือนควรซือสัตย์ต่อกัน นอกจากคุณธรรมข้างต้นนี แล้วยังมีประเพณี ทีสื บทอดคําสอนของขงจื อไว้อย่างเหนี ยวแน่ น เช่น ประเพณี การเป็ นผูใหญ่ พิธีแต่งงาน พิธีศพ และพิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษ เป็ นต้น ประเพณี เหล่านีเป็ นประเพณี ้ ทีปลูกฝังด้านแนวคิดทางด้านจริ ยปรัชญาให้แก่คนเกาหลีได้ปฏิบติสืบต่อมาอย่างเคร่ งครัดจนถึงปั จจุบนไม่ ั ั ว่าสภาพสังคมและสถานภาพของบุคคลในสังคมจะเปลียนแปลงไปจากโบราณกาลเพียงใดก็ตาม และเมือ ทุกครอบครัวถูกปลูกฝังจริ ยธรรมให้แก่บุตรหลานโดยยึดหลักบัญญัติ ๕ ประการ ข้างต้นแล้ว บุตรหลาน ของแต่ ละครอบย่อมมีพืนฐานทางความคิ ด ที อยู่ในระดับเดี ย วกัน มีแนวทางปฏิบัติ ทีเต็ มเปี ยมไปด้ว ย คุณธรรมอันเป็ นบรรทัดฐานเดียวกันก็ย่อมส่ งผลให้บุตรหลานของทุกครอบครัวเป็ นสมาชิดในสังคมทีมี คุณภาพ เป็ นกําลังสําคัญยิงของสังคม และทีสุดย่อมเป็ นพลเมืองทีมีศกยภาพของประเทศ ั อีกหลักจริ ยปรัชญาทีคนเกาหลียึดถือกันและมองว่าเป็ นสิ งสําคัญก็คือหลักคําสอนของขงจื อทีว่า สามีกบภรรยามีบทบาทหน้ าทีต่ างกัน สังคมเกาหลีตงแต่อดีตมาจนถึงปั จจุบนจะแยกบทบาททังสามีและ ั ั ั ภรรยาออกจากกันอย่างชัดเจน กล่าวคือสามีมีหน้าทีประกอบอาชีพหาเลียงครอบครัว ส่ วนภรรยามีหน้าที ดูแลสมาชิกในครอบครัวให้มีความสุข อบรมสังสอนบุตรธิดาให้เป็ นคนดีของครอบครัว สังคม ประเทศชาติ ดังนันภรรยาจึงทําหน้าแม่บานเพียงประการเดียว แม้ว่าโลกจะมีการเปลียนแปลงทังสภาพสังคม และสภาพ ้ เศรษฐกิจ แต่คนเกาหลีก็ยงยึดถือปฏิบติตามคําสอนดังกล่าวจนกลายเป็ นอัตลักษณ์ทางกายภาพและจิตภาพที ั ั โดดเด่นในการสร้างเอกลักษณ์ของคนเกาหลีมาจนถึงปัจจุบน ั การปลูกฝังจริยปรัชญาในทางสังคม หลังจากการปลูก ฝังด้านจริ ย ปรั ชญาในชันของครอบครั วแล้ว ก็จ ะเป็ นการปลูก ฝั งจริ ย ปรัชญา ในทางสังคม กล่าวคือเมือเด็กมีอายุครบเกณฑ์ทีจะเข้าศึกษาในโรงเรี ยนก็จะได้รับการสังสอนอบรมด้าน คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมอย่างต่ อเนื อง จนจบการศึก ษาในระดับสู ง หลัก สู ต รการเรี ย นการสอนในประเทศ สาธารณรัฐเกาหลีจะมีก ารสอนเรื องของคุณธรรมจริ ยธรรมอย่างชัด เจน และวิ ธีก ารสอนจะใช้หลัก จริ ย ปรัชญาของขงจือผสมผสานกับศาสตร์สมัย โดยใช้วิธีการประยุกต์ทง ๒ ศาสตร์เข้าด้วยกันดังนี ั
  • 9. การสอนในระดับห้ องเรียน : มุ่งการอภิปรายจริ ยปรัชญาหรื อคุณธรรมจริ ยธรรมเพือเน้นการหา สาเหตุและเหตุผลทีดีในการประพฤติตนให้เป็ นคนดีตามหลักจริ ยธรรม มีการยกการกรณี ปัญหาคุณธรรม จริ ยธรรมเป็ นสือเป็ นข้อมูลและให้นกเรี ยนเป็ นผูคิดวิเคราะห์เพือหาความเป็ นจริ งทีถูกต้องตามหลักการและ ั ้ เหตุผลทีถูกต้อง การสอนในหลักสู ตรแฝง : ให้ผเู้ รี ยนศึกษาค้นคว้าเรี ยนรู้คุณธรรมจริ ยธรรมจากสถานการณ์และ สิ งแวดล้อมทีเป็ นจริ ง มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มีการยอมรับในความคิดเห็นของผูอืน ้ ผลทีตามมาคือ เราจะเห็นว่าประชาชนและนักศึกษาในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีจะมีการประท้วงบ่อย หาก มีความผิดปกติทางการบริ หารประเทศ หรื อความไม่โปร่ งใสในการทํางานของรัฐบาล หรื อการตัดสิ นใจ ของรัฐบาลทีประชาชนเจ้าของประเทศไม่เห็นด้วย การประท้วงถือเป็ นปกติวิสยของคนเกาหลีจนคนเกาหลี ั เกิดความคุนเคย สิงเหล่านี แสดงให้เห็นถึงความรักความใส่ใจในประเทศของตน ้ จากวิธีการสอนทัง ๒ วิธีเป็ นการบูรณาการวิธีการสอนให้สอดคล้องกับแนวคิดทางจริ ยปรัชญาของ ขงจื อทีกล่าวว่ า ทุ กสรรพสิงในโลกเป็ นครู ทีจะสอนทุกชี วิตในโลกให้ เ ป็ นไปตามความเป็ นจริ งทีเกิดขึ น ดังนันการปลูกฝังจริ ยธรรมทังในบ้านและในสังคมจึงเป็ นเบ้าหลอมทีทําให้เยาวชนของประเทศสาธารณรัฐ เกาหลีเป็ นเยาวชนทีดีและมีแบบอย่างเดียวกัน และการปลูกฝังจริ ยปรัชญาดังกล่าวของเกาหลีจะสอนและ อบรมอย่างต่อเนืองจนกลายเป็ นวัฒนธรรมทีเยาวชนจะยึดแบบอย่างเป็ นแนวทางปฏิบติ และคนเกาหลีเชือ ั ว่าผูใหญ่หรื อผูนาทางสังคมจะต้องทําตัวเป็ นต้นแบบมีพฤติกรรมทีดีงามเพือให้เยาวชนได้เลียนแบบ ดังจะ ้ ้ ํ เห็นได้ว่าผูใหญ่ระดับผูบริ หารประเทศหากทํางานผิดพลาดจนทําให้ประชาชนหรื อประเทศชาติเสี ยหายจะ ้ ้ ลาออกจากตําแหน่งทันที ยิงหากมีความผิดทีร้ายแรง เช่น ฉ้อราษฎร์ บงหลวงและถูกพิพากษาว่ากระทําผิด ั จริ ง ผูนนนอกจากจะลาออกแล้วบางครังจะทําอัตวินิบาตกรรมเพือหลบหนีความอับอาย ้ ั จริ ย ปรั ชญาอีกข้อความหนึ งทีคนเกาหลีได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุ ษและปั จ จุบันก็ ยงมี ั อิทธิพลต่อคนเกาหลีคือจริ ยปรัชญาในการทํางานคือข้อความทีว่า จริยปรัชญาในการทํางานอันเป็ นทัศนคติ และค่ านิยมเชิงการพัฒนาการทีก่ อให้ เกิดพฤติกรรมเชิงการพัฒนาหรือเป็ นประโยชน์ ต่อการพัฒนา เช่ น ความขยันหมันเพียร การช่ วยตัวเอง ความร่ วมมือร่ วมใจ การเสียสละส่ วนตนเพือส่ วนรวม ความตังมันและ ความมุ่งมัน เหล่ านีเป็ นปัจจัยสําคัญอีกประการหนึงในการพัฒนาสังคมชนบทให้ มีความแข็งแกร่ ง ทีสําคัญ คือจริยปรัชญาทีมีการปลูกฝังและสืบทอดให้ แก่คนรุ่นหลังได้ สืบสานต่ อ๑๐ จะเห็นได้ว่าหลักการปกครองทีรัฐบาลเกาหลีได้นาเอาหลักจริ ยปรัชญาของขงจือมาบูรณาการใน ํ การปกครองประเทศนันจะคํานึ งถึงหลัก ๓ ประการคือ แผ่นดิ น ประชาชน และการบริ หารงานของรั ฐ ผูปกครองจึ งจําเป็ นที จะต้องทําเรื องผลประโยชน์ และคุ ณ ธรรมจริ ยธรรมให้เป็ นเรื องเดี ย วกัน เพราะ ้ คุณธรรมจริ ยธรรมนันถือว่าเป็ นเสาหลักในการปกครองประเทศ ซึงในเรื องนีมีหลักจริ ยปรัชญาของขงจืออีก ๑๐ ฮานู ลี, แซมาอึลวุนดงของเกาหลี : การศึ กษาวิเคราะห์ เชิงปฏิบัติการขององค์ประกอบทีนําไปสู่ ความสํ าเร็จใน การพัฒนาชนบท (กรุ งเทพฯ : ปรัชญาการศึกษาดุษฎีบณฑิต, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ,๒๕๒๙), หน้า ๓๔. ั
  • 10. ๑๐ หมวดหนึงทีมีอิทธิพลยิงต่อคนเกาหลี โดยเฉพาะอย่างยิงรัฐบาลได้นามาใช้เป็ นหลักในการปกครองประเทศ ํ ๕ ประการคือ๑๑ ๑. ให้สวัสดิการแก่ประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิงในด้านเศรษฐกิจ จะต้องสร้างความมันคงให้กบ ั ราษฎร์ ซึงเป็ นสิ งจําเป็ นประการแรกทีผูปกครองจะต้องทําเพือก้าวไปสู่ความสําเร็ จในการปกครองประเทศ ้ ๒. เกณฑ์แรงงานแต่พอดี ไม่ทาให้ราษฎร์ไม่พอใจ ผูปกครองจะต้องคํานึ งถึงประชาชนไม่ควรก่อ ํ ้ ความเดือดร้อนให้กบประชาชนในการเก็บภาษี เกณฑ์แรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิงในฤดูกาลเพาะปลูก การ ั เกณฑ์แรงงานต้องทําด้วยความสุภาพ ทําให้เขาเห็นจริ งๆ ว่า ทีทําอย่างนี ก็เพือตัวประชาชนเอง ดังทีขงจือพูด ไว้ในตอนหนึงว่า ถ้ารัฐบาลเกณฑ์ แรงงานด้ วยความสุ ภาพ ทําไปเพือประโยชน์ ของราษฎร์ ย่อมไม่ ไม่ ใคร โอดครวญ ๓. ชี นําวิธีก ารดําเนิ น ชีวิ ตที ถูก ต้องอัน ประกอบด้วยศีลธรรม โดยผูปกครองต้องปฏิบัติต นเป็ น ้ ตัวอย่างในทางทีดี ผูปกครองต้องตระหนักว่า มีสายตาประชาชนทังแผนดินคอยจับตาอยู่ ดังนันจึงต้องระวัง ้ ทุกฝี กาวทังการกระทํา การพูด และการคิด ้ ๔. ให้การยอมรับนับถือในกิจกรรมของประชาชนว่า มีความสําคัญต่อรัฐบาล ไม่ว่าประชาชนจะมี มากหรื อน้อย มีอานาจต่อรอง หรื อไม่มีก็ตาม ดังทีขงจือกล่าวไว้ว่า กิจกรรมทีประชาชนทําควรให้ ความ ํ สนใจ เช่ นเดียวกับพิธีกรรมทางศาสนา โดยเน้ นทีความเสมอภาคทางการปฏิบัติต่อราษฎร์ ด้วยไม่ มีการดู หมิน ๕. สร้างความเกรงขามแต่ไม่น่ากลัว ใช้การปกครองโดยพระคุณมากกว่าพระเดช ในทัศนะของ ขงจื อมุ่งไปที ผูปกครอง ถ้าผูปกครองมีศีลธรรมจริ ย ธรรมประชาชน เพราะถ้าผูปกครองมีคุ ณ ธรรมนํา ้ ้ ้ ประชาชนในทางทีดีงามแล้ว ประชาชนย่อมไม่กล้าทีจะออกนอกลู่นอกทาง ผูปกครองเวลาแข็งดุจเพชร ้ เวลาอ่อนดุ จ ปุ ย นุ่ น จึ งจะสามารถสร้ างความน่ าเกรงขามได้ ประชาชนจะดู พฤติ ก รรมของผูปกครอง ้ ตลอดเวลา แม้แต่รายละเอียดปลียอย เช่น การแต่งกาย ขงจือก็กล่าวว่า การสร้ างความเกรงขามนันเป็ นสิงที ่ ตรงกันข้ ามกับความน่ ากลัว การสร้ างความน่ าเกรงขามก็เพือให้ ประชาชนยอมรับในฐานะเป็ นผู้นําประเทศ หลักจริ ยปรัชญาทัง ๕ ประการทีกล่าวมาถือว่ามีอิทธิพลต่อแนวความคิดของคนเกาหลีทีได้นามา ํ ประยุกต์เข้ากับหลักการปกครองให้มีความสอดคล้องกันอย่างเห็นได้ชดระหว่างผูปกครองกับผูอยู่ใต้การ ั ้ ้ ปกครอง นันคือรัฐบาลกับประชาชน และด้วยเหตุนีจึงทําให้แนวคิดทางจริ ยปรัชญาทางสังคมของคนเกาหลี ประสบผลสําเร็ จในการพัฒนาประเทศชาติ ถึงแม้ว่าบางครังเกาหลีเองจะประสบปัญหาบ้าง แต่เขาก็มีวิธีการ แก้ปัญหาอย่างชาญฉลาด ซึงวิธีการแก้ปัญหาแต่ละอย่างก็โดยการบูรณาการใช้หลักจริ ยปรัชญาของขงจือกับ ศาสตร์สมัยใหม่เข้าด้วยกัน จนกลายเป็ นวิวฒนาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีทีสามารถยืนหยัดความ ั เป็ น เกาหลีใหม่ ได้ดงเจตนาและสมหวังดังความมุ่งมันของผูนาประเทศ ซึงถือได้ว่าเป็ นความสําเร็ จทีน่ า ั ้ ํ ๑๑ กฤต ศรี ยะอาจ, หลักการปกครองของขงจือ อ้างใน บทความทางวิชาการ พุทธศาสตร์ ปริ ทศน์ (กรุ งเทพฯ : จรัล ั สนิทวงศ์การพิมพ์,๒๕๔๘), หน้า ๑๓๔-๑๓๕.
  • 11. ๑๑ ภาคภูมิใจ และเป็ นสิงทีทําให้ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีกาวสู่ความเป็ นผูนาในแถบภูมิภาคเอเชียได้อย่างเต็ม ้ ้ ํ ภาคภูมิ ทังนีเป็ นเพราะพืนฐานในทุกด้านทีแข็งแกร่ ง และประกอบกับแนวคิดทีว่า เมือทรัพยากรมนุษย์ มี ประสิทธิภาพ ย่อมนําพาประเทศชาติเจริญรุ่งเรือง มันคง และมังคัง การนับถือศาสนาของคนเกาหลี รัฐธรรมนูญได้รับรองสิทธิในการนับถือศาสนาของคนเกาหลีไว้ว่า ชาวเกาหลีนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๕๑.๒ ของจํานวนประชากร โปรเตสแตนท์ ร้อยละ ๓๔.๔ และคาทอลิค ร้อยละ ๑๐.๖๑๒ (ปั จจุบน ั เท่าทีฟังมัคคุเทศก์บรรยาย การนับถือศาสนาพุทธของคนเกาหลีมีแนวโน้มลดลงมาก และส่ วนมากหันไป นับถือศาสนาคริ สต์ ทังนีอาจจะเป็ นเพราะว่าวัดพุทธศาสนาตังอยู่บนภูเขาในทีห่ างไกลประชาชน ส่ วนวัด คริ สต์ต ังอยู่ในเมืองซึ งมีปฏิสัมพันธ์ร่ วมกิจ กรรมกับชาวบ้านมากกว่าวัด พุทธศาสนา) ถึงอย่างไรก็ต าม ประชาชนเกาหลีถึงแม้จะนับถือศาสนาต่างๆ แต่หลักคําสอนของศาสนานันๆ ก็ยงมีอิทธิพลน้อยกว่าหลักจ ั ริ ยปรัชญาของขงจือ เพราะลัทธิปรัชญาของขงจื อมุ่งสอนระเบียบในสังคม วิถีชีวิตในการดําเนิ นชีวิตของ ครอบครัวและสังคม การปฏิบติตนให้ถูกต้องตามครรลอง และการรู้จกหน้าทีของตนเอง พร้อมทังปฏิบติ ั ั ั ตามคําสอนอย่างเคร่ งครัด ความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาทีทําควบคู่ไปกับการปลูกฝังจริยปรัชญา จะเห็นได้ว่า นโยบายการปฏิรูปการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลีนนจะทําควบคู่ไปกับการ ั ปลูกฝังทางด้านคุณธรรมจริ ยธรรมซึงมีจริ ยปรัชญาของขงจือเป็ นหลักในการนําทาง คนเกาหลีเข้าใจดีว่า สังคมอุตสาหกรรมจะส่งผลให้คนในสังคมหันมาให้ความสําคัญกับวัตถุโดยละเลยความรู้สึก ความมีนาใจ ํ คุณงามความดี ความกตัญ ูอนเป็ นคุณลักษณะเฉพาะของมนุษย์ ดังนันการปลูกฝังคุณธรรมจริ ยธรรมอย่างมี ั ระบบจึงต้องถูกจัดในหลักสูตรการเรี ยนการสอนตังแต่ชนอนุ บาลจนถึงระดับอุดมศึกษา จนกลายเป็ นอัต ั ลักษณ์และมีการปฏิบติสืบทอดติดต่อกันมาอย่างเหนียวแน่นจนสามารถสร้างคุณลักษณะพิเศษเฉพาะตนได้ ั อย่างโดดเด่นเป็ นทีประจักษ์ต่อสายตาคนทีได้ศึกษาเรื องราวหรื อรับรู้เกียวกับการพัฒนาประเทศของชาว เกาหลี ลักษณะเด่ นทีเป็ นอัตลักษณ์ของคนเกาหลี เมือไปทัศนะศึก ษาทีประเทศเกาหลีเราจะเห็ นคนเกาหลีมากกว่ า ๘๕ % มีลก ษณะคล่องแคล่ว ั ว่องไวเอาจริ งเอาจังกับภาระหน้าทีของตน ยกตัวอย่างมัคคุเทศก์ทีนําเราทัศนะศึกษาจะเห็นได้ว่าเขามีความ คล่องตัวค่อนข้างสูงไม่ว่าจะทําหรื อพูดล้วนถอดแบบอัตลักษณ์ของความเป็ นคนเกาหลีอย่างชัดเจน ยิงอยู่ ๑๒ สํานักงานสารนิเทศภาคโพ้ นทะเล สาธารณรัฐเกาหลี และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย, ความ จริ งเกียวกับเกาหลี (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,๒๕๓๗), หน้ า ๑๓๑.
  • 12. ๑๒ นานวันก็ยิงเห็ นบล็อกทีหล่อหลอมความเป็ นคนเกาหลีมากขึ น ซึงบล็อกดังกล่าวได้กลายเป็ นอัต ลักษณ์ พิเศษทีหล่อหลอมความเป็ นคนเกาหลีให้มีลกษณะทีเหมือนกันเกือบทังประเทศไม่ว่าชนบทหรื อในเมือง ดัง ั จะกล่าวโดยสังเขปให้พอเห็นภาพดังต่อไปนี การลําดับรุ่นอาวุโส คนเกาหลีให้ความสําคัญต่ อลําดับรุ่ นอาวุ โสอย่างเคร่ งครัด ไม่ว่าจะเป็ นผูอาวุ โสในทีทํางาน ใน ้ โรงเรี ยนและในมหาวิทยาลัย ความเป็ นรุ่ นทีมีความสําคัญยิง และรุ่ นน้องก็ให้ความสําคัญต่อการเคารพเชือ ฟังรุ่ นพี ดังนันความช่วยเหลือทีรุ่ นพีให้รุ่นน้องจึงมีให้อย่างเต็มที ความสนิ ทสนม ความสัมพันธ์และความ ผูกพันระหว่างกันก็มีต่อกันอย่างแน่ นแฟ้ น มารยาทอย่างหนึ งทีแสดงถึงการนับถืออาวุโสของคนเกาหลีที ปฏิบติมาช้านาน เช่น ในเวลาการรับประทานอาหาร คนทีอาวุโสทีสุ ด ณ ทีนัน จะเป็ นผูทีจับช้อน ตะเกียบ ั ้ ตักอาหารก่อน หลังจากนันผูนอยจึงจะสามารถรับประทานอาหารได้ และเราจะต้องรับประทานอาหารทีตัก ้ ้ มาให้หมด หากรับประทานไม่หมดถือว่าอาหารนันไม่อร่ อย ความรักในสถาบันการศึกษาและความสัมพันธ์ ระหว่างครูอาจารย์กบศิษย์ ั วัฒนธรรมที เป็ นอัตลัก ษณ์ของคนเกาหลีในเรื องศิษย์มีการร่ วมดืมร่ วมรับประทานอาหารกับครู อาจารย์ในช่วงเย็นหลังเลิกเรี ยน บรรยากาศของการดืมกินจะเป็ นบรรยากาศกันเองแต่แฝงไว้ดวยความเคารพ ้ นับถือนอบน้อมอย่างมีมารยาท คือท่านังทีมีการสํารวมตลอดเวลา ท่าริ นเหล้าทีใช้สองมือประคองขวดเหล้า หรื อเบียร์และคีบอาหารให้ครู อาจารย์อย่างมีขนตอนมีมารยาท ท่าดืมเหล้าทีลูกศิษย์ตองประคองแก้วเหล้า ั ้ ด้วยมือสองข้างศีรษะค้อมคํานับและหันข้างให้ครู อาจารย์อนเป็ นท่าทีไม่ประจันหน้าดืมเหล้ากับครู อาจารย์ ั เด็ดขาด ความเป็ นหมู่เหล่า บุคลิกภายนอกของคนเกาหลีจะเฉยเมยและเฉยชาต่อชาวต่างชาติ เพราะถือว่าชาวต่างชาตินนไม่อยู่ ั ในกลุ่มเดียวกับตน แต่เมือคบหากันนานและชาวต่างชาติสามารถพิสูจน์ตนเองว่าเป็ นคนจริ งใจ และสามารถ ตีแผ่หวใจในการคบหากัน เมือนันคนเกาหลีจะเป็ ดประตูยอมรับการเข้าเป็ นกลุ่มเดียวกัน จากนันคนเกาหลี ั จะแสดงความจริ งใจยอมรับการเป็ นกลุ่มเดียวกันด้วยการเชิญไปดืมสุ ราด้วยกัน ไม่แปลกหากคนเกาหลีจะ เชือเชิญคนในกลุ่มเพียงคนเดียวทีตนเองยอมรับไปดืมกันโดยทีไม่เอ่ยปากชวนคนอืน ผูอืนทีอยู่ในกลุ่มก็จะ ้ ไม่เอ่ยปกขอติดตามไปด้วยและไม่รู้สึกว่าคนทีชวนนันเสียมารยาททีเลือกเชิญเฉพาะ คนเกาหลีจะไม่ยอมดืม สุราจนเมากับบุคคลทีตนยังไม่วางใจ และยอมรับว่าเป็ นกลุ่มเดียวกัน แต่จะดืมจนเมามายกับบุคคลทีตนเอง วางใจ เคารพนับถือนําใจและจริ งใจเท่านัน
  • 13. ๑๓ ความเป็ นชาตินิยมและความรักชาติ คนเกาหลีจะแสดงความเป็ นชาตินิยมด้วยการใช้สิงของเครื องใช้ทีผลิตขึ นเองในประเทศ เช่น ตาม ท้องถนนส่วนใหญ่จะพบแต่รถยนต์ถึงร้อยละ ๙๙ ทีผลิตในประเทศ จะมีเพียงส่วนน้อยทีใช้รถยนต์ทีผลิตใน ต่างประเทศ เพราะคนเกาหลีผลิตรถยนต์เป็ นสิ นค้าส่ งออกไปจําหน่ ายในต่างประเทศทัวโลก บริ ษทผลิต ั ๑๓ รถยนต์ในประเทศเกาหลีมีหลายบริ ษท แต่สาคัญมี ๔ บริ ษท คือ บริ ษทเฮียนแด (Hyundai) หรื อทีคนไทย ั ํ ั ั เรี ยกว่า ฮุนได เป็ นบริ ษททีผลิตเรื อเดินสมุทร ผลิตเฮลิคอปเตอร์และรับเหมางานก่อสร้างขนาดใหญ่ บริ ษท ั ั แดวู (Daewoo) คนไทยรู้จกดี เพราะเป็ นบริ ษทที ขสมก.ของไทยเคยสังรถบัสยีห้อแดวูนีเข้าไปวิงโดยสารใน ั ั กรุ งเทพฯ บริ ษทเกีย (Kia) บางทีใช้เกียมาสเตอร์ เกียมอเตอร์ หรื อเอเชีย แต่ ละบริ ษทก็ผลิดรถยนต์ได้ทุก ั ั ประเภทตังแต่รถบัส รถตู้ รถกระบะ รถยนต์นงทุกขนาดและบางบริ ษทสามารถผลิตรถอืนๆ อีกเช่น รถตัก ั ั ดิน รถบดถนน รถแทรกเตอร์ รถผสมปูนซีเมนต์ ฯลฯ และอีกบริ ษทหนึงคือบริ ษทซังย็อง (Sang Youn) เป็ น ั ั บริ ษ ัทที ผลิต รถจิ ปยีห้อ โครานโด (Korando) ขับเคลือน ๔ ล้อ มีหลายรุ่ น หลายแบบส่ งขายยังในและ ต่างประเทศ นอกจากนี ยัง มี เ ครื องใช้ไ ฟฟ้ าอี ก หลายชนิ ด ที เกาหลี ผ ลิ ต ขึ นใช้ใ นประเทศและส่ ง ออกยัง ต่างประเทศ เช่น ผลิตภัณฑ์เครื องใช้ไฟฟ้ ายีห้อซัมซุง (Samsung) ซึงก็ เป็ นทีนิ ยมของคนไทยด้วยเช่นกัน ดังนันเศรษฐกิจของเกาหลีจึงอยูในภาวะทีมันคงเพราะเงินตราไม่รัวไหลออกนอกประเทศ ในเรื องของการ ่ รัก ชาติ นันจะเห็ นว่ าคนเกาหลีจ ะมีเรื องประท้ว งรั ฐบาลหรื อหน่ วยงานต่างๆ อยู่เสมอ เพราะประชาชน โดยเฉพาะนักศึกษา นักวิชาการ และปัญญาชนจะตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล หากเห็นว่านโยบายใดไม่ ถูกต้องหรื อไม่ชดเจนก็จะประท้วงด้วยการชุมนุมต่อต้าน ทีน่าสนใจคือการประท้วงแต่ละครั ง ฝ่ ายประท้วง ั จะแจ้งให้หน่วยงานทีรับผิดชอบดูแลเรื องการเจรจาให้ทราบล่วงหน้าว่าจะประท้วงบริ เวณใด เวลาใดและจะ เลิกเมือไร เพือให้หน่วยงานนันประกาศให้ประชาชนทราบจะได้ไม่เดือดร้อน ความมีวนัยในตนเอง ิ คนเกาหลีจะเคร่ งครัดวินยทุกเรื องเพราะได้รับการฝึ กฝนอบรม และปลูกฝังให้เป็ นผูรักษาวินัยอย่าง ั ้ เคร่ งครัดจนกลายเป็ นอุปนิสย อีกทังกฎหมายทีมีบทลงโทษรุ นแรงสําหรับผูฝ่าฝื นวินยหรื อข้อบังคับ จะเห็น ั ้ ั ได้จ ากการใช้ร ถใช้ถนนของผูค นที นันจะไม่มีการฝื นกฎจราจรเป็ นอัน ขาด ไม่มีก ารข้ามถนนขณะที มี ้ สัญญาณไฟแดง แม้ว่าขณะนันท้องถนนจะไม่มีรถแล่นผ่าน รถจะหยุดทันทีเมือมีสญญาณไฟเหลือง และไม่ ั ฝ่ าไฟแดงแม้ว่าบริ เวณนันจะไม่มีคนข้ามถนน หรื อรถจะหยุดทันทีเมือเห็นคนยืนอยูตรงทางข้ามม้าลาย จาก ่ ความปลอดภัยเช่นนี เราจะเห็นนักเรี ยนชันประถมต้นจูงมือน้องทีเรี ยนอนุบาลข้ามถนนไปและกลับโรงเรี ยน ตามลําพัง เด็กเหล่านี จะได้รับการปลูกฝังให้ยืนคอยข้ามถนนขณะไฟเขียวเท่านัน จะไม่ขามถนนขณะทีมี ้ สัญญาณไฟแดงอย่างเด็ดขาดแม้ว่าถนนว่างปราศจากรถ นอกจากนี คนเกาหลีจะไม่ยอมข้ามถนนในทีไม่ใช่ ๑๓ สมปราชญ์ อัมมะพันธุ์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๑๗๑.