SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 69
Downloaden Sie, um offline zu lesen
(ก)



ชือเรือง :     สภาพปั ญหาและความคิดเห็นของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนของ
               มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
ชือผูวิจย :
      ้ ั      พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต    หัวหน้าโครงการวิจย ั
ปี ทีทําวิจย : 2554
           ั
ผูสนับสนุนการวิจย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
   ้             ั


                                          บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการวิจย      ั
           1. เพือทราบถึงสภาพปั ญหาของนิ สิตและการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
           2. เพือทราบถึ ง ระดับ ความคิ ด เห็น ของนิ สิต ที มี ต่ อ การจัด การเรี ย นการสอนของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
           3. เพือประมวลปั ญหาและข้อเสนอแนะของผูทีเกียวข้องในการจัดการเรียนการสอนของ
                                                      ้
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
วิธีการดําเนินการวิจย   ั
            ผูวิจยได้เก็บข้อมูลจากประชากรกลุมตัวอย่างทีเป็ นนิ สต จํานวน 191 รูป จากประชากร
              ้ ั                             ่                    ิ
ทีเป็ นพระนิ สิตภาค 2 ปี การศึกษา 2551 ของวิทยาลัยสงฆ์
            เครืองมือทีใช้ในการเก็บข้อมูลเป็ นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ขอมูลโดยใช้โปรแกรม
                                                                            ้
สําเร็จรูปจากคอมพิวเตอร์ คํานวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน และค่า
สัมประสิทธิสหสัมพันธ์
ผลการศึกษาวิจย      ั
         การวิจยครังนี ใช้กลุมประชากร ได้แก่ นิ สิตวิทยาลัยสงฆ์เลยทีศึกษาในภาคเรียนที 2 ปี
                  ั           ่
การศึกษา 2554 โดยใช้แบบสอบถาม จํานวน 200 ชุด แบบสอบถามทีได้รบคืนจํานวน 191 ชุดั
คณะผูวจยได้ศึกษาทบทวนแนวคิดทฤษฎีและเอกสารผลงานทีเกียวข้อง โดยแบ่งแบบสอบถาม
       ้ิั
ออกเป็ น 4 ตอน คือ ตอนที 1 ข้อมูลพืนฐานของนิ สิต ตอนที 2 ข้อมูลปั ญหาของกลุมประชากรที ่
ใช้ในการศึกษา ตอนที 3 ข้อมูลความคิดเห็นของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอน แบ่งออก
เป็ น 6 ด้าน ได้แก่ ด้านอาจารย์ผสอน ด้านหลักสูตร ด้านระบบการจัดการศึกษา ด้านวิธีการ
                                   ู้
สอน ด้านอาคารสถานที และด้านสือการเรียนการสอนตอนที 4 ข้อเสนอแนะเพิมเติมของนิ สิต
ในด้านต่างๆ ซึงเป็ นคําถามลักษณะปลายเปิ ด
(ข)


        ข้อมูลพืนฐานของนิ สิตกลุมตัวอย่าง จากผลการวิเคราะห์ขอมูลจากแบบสอบถามจํานวน
                                  ่                               ้
191 ชุด ผูตอบแบบสอบถามส่วนมากมีสถานภาพเป็ นพระภิกษุ จํานวน 1 รูปและทีเหลือเป็ น
           ้
สามเณร จํานวน 8 รูป และคฤหัสถ์ จํานวน คน รวมจํานวน 1 รูป/คน
        ข้อมูลทีเกียวกับปั ญหาของนิ สิต
        จากการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่า นิ สิตส่วนใหญ่มาเรียนโดยใช้ทุนส่วนตัวใน
การศึกษา ด้านการฉันเพลจะเตรียมภัตตาหารมาจากวัด นิ สิตส่วนใหญเดินทางมาเรียนไป-กลับ
จะโดยรถโดยสารประจําทาง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชัวโมง งานทีมอบหมายก็จะทําทุกครัง
ส่วนปั ญหาทีสําคัญทีสุดคือการขาดปั จจัยสนับสนุ นการเรียน เช่น ค่าเดินทาง ค่าเทอม ค่า
ภัตตาหาร เป็ นต้น
          ข้อมูลทีเกียวกับด้านความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยสงฆ์เลย
          1. ด้านผูสอน นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นเชิงบวกใน 3 อันดับ
                    ้
             - ความคิดเห็นต่ออาจารย์ผสอนในด้านอาจารย์มีความเป็ นกันเอง
                                        ู้
             - อาจารย์พดจาสุภาพและเหมาะสม
                          ู
             - เปิ ดโอกาสในชันเรียนให้พระนิ สิตซักถาม และให้คาแนะนําในด้านการเรียน
                                                                ํ
             ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบแต่อยูในระดับมาก ได้แก่ อาจารย์เป็ นคนตรง
                                                     ่
        ต่อเวลาในการเข้าสอนและเลิกสอนให้โอกาสนอกชันเรียนแก่พระนิ สิตเข้าพบและให้
        คําแนะนําในด้านการเรียน
        2. ด้านหลักสูตร นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมากโดยมีความคิดเห็นเชิงบวกใน 3 อันดับ
             - ความคิดเห็นต่อประโยชน์ของหลักสูตรสามารถนําไปใช้ในการพัฒนาสังคมได้
             - หลักสูตรทีเรียนเป็ นหลักสูตรทีทําให้ได้รบความรูอย่างกว้างขวาง
                                                         ั    ้
             - มีการแจ้งตารางเรียนให้พระนิ สิตทราบก่อนล่วงหน้า
             ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ มีการประเมินประสิทธิภาพของผูสอน    ้
        จากนิ สต มีการจัดวิชาลงในแต่ละภาคการศึกษาอย่างเหมาะสม
                ิ
        3. ด้านระบบการจัดการศึกษา นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นเชิง
        บวก ใน 3 อันดับ ได้แก่
             - ชัวโมงการบรรยายแต่ละกระบวนวิชามีความเหมาะสมกับจํานวนหน่วยกิต
             - เจ้าหน้าทีเต็มใจให้บริการแก่พระนิ สิต
             - หลักสูตรมีการปรับปรุงและพัฒนาให้กาวทันการเปลียนแปลงของสังคมอยูเสมอ
                                                       ้                             ่
             ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ การเปิ ดโอกาสให้นิสิตเข้าไปมีสวนร่วมใน
                                                                                   ่
        การจัดการศึกษาตามความเหมาะสมน้อย
        4. ด้านวิธีการสอน นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นเชิงบวกใน 3
        อันดับ ได้แก่
             - ผูเ้ รียนมีสวนร่วมในการเรียนการสอนการบรรยาย การสาธิต สัมมนา อภิปราย
                            ่
        ร่วม
(ค)


     - มีแผนการสอนโดยกําหนดวัตถุประสงค์ เนื อหา สือ และวิธีการประเมินผล
     - มีเอกสารประกอบการสอนทีตรงกับเนื อหาวิชาในกระบวนวิชาทีเรียน
     ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ มีการส่งเสริมให้ผเู้ รียนใช้เทคโนโลยี
ผสมผสานการศึกษาเพือช่วยในการเรียนอย่างสมําเสมอ
5. ด้านอาคารสถานที นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมากโดยมีความคิดเห็นเชิงบวกใน 3
อันดับ ได้แก่
     - แสงไฟภายในห้องเรียนสว่างอย่างเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน
     - ลักษณะของห้องเรียนมีความปลอดภัย
     - บรรยากาศของห้องเรียนมีความโปร่งสบาย
     ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ สภาพแวดล้อมของอาคารมีการจัดการ
ดูแลอย่างเป็ นระเบียบ สวยงาม และมีการบํารุงรักษาสถานทีเพืออํานวยความสะดวกแก่
พระนิ สิตสมําเสมอเป็ นอย่างดี
6. ด้านสือการเรียนการสอน นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นเชิง
บวกใน 3 อันดับ ได้แก่
     - อาจารย์ผสอนมีความสามารถใช้สือการสอนได้เป็ นอย่างดี
                 ู้
     - สือทีอาจารย์ผสอนนํามาใช้มีความทันสมัยเหมาะสมกับรายวิชา
                     ู้
     - สือทีมีอยูชวยให้ผเู้ รียนเรียนได้เร็วขึน
                 ่่
     ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ สือการสอนและอุปกรณ์การศึกษาไม่มี
ความเพียงพอและทันสมัย
7. ข้อเสนอแนะของนิ สิตด้านกิจกรรมนิ สต ในเชิงบวกนิ สิตมีความเห็นว่า ได้แก่
                                              ิ
     - ควรส่งเสริมกิจกรรมนิ สิตให้มีความหลากหลายประเภท
     - ผูบริหารคณาจารย์ควรให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมของนิ สิต รวมทังร่วมการ
         ้
     วางแผน การสนับสนุ นการมีสวนร่วมในการจัดกิจกรรม
                                     ่
     ส่วนในเชิงลบ คือ ควรมีทีทํางานของคณะกรรมการนิ สิตเป็ นสัดส่วน
(ง)


                                  กิตติกรรมประกาศ

           การวิจยนี ได้รบการสนับสนุ นจากผูบริหารทีเล็งเห็นความสําคัญในการวิจยเพือทีจะ
                   ั     ั                 ้                                 ั
พัฒนาการจัดการศึกษาของวิทยาลัยสงฆ์เลย รวมทังได้รบความกรุณาให้คาแนะนําในการวิจย
                                                        ั              ํ               ั
จากนิ สตทังหลายจนทําให้การวิจยฉบับนี สาเร็จลงได้ดวยความสมบูรณ์
       ิ                       ั       ํ           ้
           ขอขอบคุณประชากรกลุมตัวอย่าง ทีให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามทีเป็ นผู้
                                  ่
มีสวนทําให้งานวิจยครังนี สมบูรณ์ทีสุด
   ่             ั
           และขอขอบคุณผูบริหารทีสนับสนุ นการวิจยในครังนี
                           ้                     ั




                                                                   ผูวิจย
                                                                     ้ ั
(จ)



                                                           สารบัญ
บทคัดย่อ                                                                                                                        (ก)
กิตติกรรมประกาศ                                                                                                                 (ง)
สารบัญ                                                                                                                          (จ)
สารบัญตาราง                                                                                                                     (ช)
สารบัญกราฟ                                                                                                                      (ซ)
บทที 1 บทนํา............................................................................................................         1
       1.1 ความเป็ นมาของปั ญหา.....................................................................................             1
       1.2 วัตถุประสงค์การวิจย.........................................................................................
                                                ั                                                                                2
       1.3 สมมติฐานการวิจย.............................................................................................
                                      ั                                                                                          2
       1.4 ขอบเขตการศึกษา..............................................................................................          2
       1.5 นิ ยามศัพท์เฉพาะ..................................................................................................    3
       1.6 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รบ....................................................................................
                                                  ั                                                                              4
บทที 2 แนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจยทีเกียวข้อง......................................................
                                                    ั                                                                            5
         . แนวคิดการก่อตังวิทยาลับสงฆ์เลย..................................................................                      5
         . แนวคิดการจัดการเรียนการสอน.....................................................................                       7
       2.3 แนวคิดเกียวกับบัณฑิตทีพึงประสงค์................................................................                      29
         . งานวิจยทีเกียวข้อง.....................................................................................
                    ั                                                                                                            31
         . กรอบแนวคิดทีใช้ในการวิจย.......................................................................
                                                      ั                                                                          36
บทที 3 วิธีดาเนินการวิจย...........................................................................................
            ํ              ั                                                                                                     37
       3.1 ตัวแปรในการวิจย..............................................................................................
                                  ั                                                                                              37
       3.2 ประชากรและกลุมตัวอย่าง................................................................................
                                    ่                                                                                            37
       3.3 เครืองมือในการวิจย..........................................................................................
                                              ั                                                                                  37
         . วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล.................................................................................              38
         . การวิเคราะห์ขอมูลและสถิติทีใช้ในการวิจย.....................................................
                              ้                                      ั                                                           38
บทที 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล....................................................................................
                                ้                                                                                                40
       4.1 ผลการวิเคราะห์ขอมูลทัวไปของผูตอบแบบสอบถาม.........................................
                                        ้                  ้                                                                     40
       4.2 ผลการวิเคราะห์ขอมูลปั ญหาของกลุมประชากร................................................
                                          ้                  ่                                                                   43
       4.3 ผลการวิเคราะห์ขอมูลความคิดเห็นของนิ สิต 6 ด้าน..........................................
                                            ้                                                                                    45
              1. ความคิดเห็นด้านอาจารย์ผสอน.................................................................
                                                        ู้                                                                       45
(ฉ)



                                                       สารบัญ (ต่อ)
   เรือง                                                                                                                                  หน้า
                  2. ความคิดเห็นด้านหลักสูตร.......................................................................... 46
                  3. ความคิดเห็นด้านระบบการจัดการศึกษา.................................................... 47
                  4. ความคิดเห็นด้านวิธีการสอน...................................................................... 48
                  5. ความคิดเห็นด้านอาคารสถานที.................................................................. 49
                  6. ความคิดเห็นด้านสือการเรียนการสอน....................................................... 50
           4.4 ข้อเสนอแนะเพิมเติมของนิ สตด้านต่างๆ.......................................................... 51
                                                          ิ
           4.5 ผลการทดสอบสมมติฐาน................................................................................. 51
บทที 5 การอภิปรายผล                                                                                                                       54
.......................................................................................................
         5.1 บทสรุป............................................................................................................... 54
         5.2 อภิปรายผล........................................................................................................ 56
         5.3 ข้อเสนอแนะ....................................................................................................... 58
บรรณานุกรม……………………………………………………………………………….… 59
ภาคผนวก.................................................................................................................................. 62
         ภาคผนวก. ก. แบบสอบถามการวิจย........................................................................... 62
                                                             ั
         ภาคผนวก. ข.ประวัติผวจย............................................................................................ 69
                                          ู้ ิ ั
(ช)



                                 สารบัญตาราง

ตารางที                                                                        หน้า
    2.1   เปรียบเทียบแนวคิดเกียวกับหลักการสอนของนักศึกษา                        24
     .    แสดงสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม
                                   ้
     .    แสดงพรรษาของผูตอบแบบสอบถาม
                               ้
     .    แสดงชันปี ทีศึกษาของผูตอบแบบสอบถาม
                                       ้
     .    แสดงเกรดเฉลียผูตอบแบบสอบถาม
                             ้
     .    แสดงสาขาวิชาของผูตอบแบบสอบถาม
                                 ้
     .    แสดงแหล่งทีมาของทุนในการศึกษาของนิ สต  ิ
     .    แสดงการฉันภัตตาหารเพล
     .    แสดงวิธีการเดินทางไป-กลับในการเรียน
     .    แสดงระยะเวลาทีใช้ในการเดินทาง
   .      แสดงการทํางานทีได้รบมอบหมายั
   .      แสดงค่าเฉลีย ส่วนเบียงเบนมาตรฐานและความหมายของปั ญหาการ
          เดินทางนิ สิต
   .      แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็น
          ของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านอาจารย์ผสอน
                                                           ู้
   .      แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลียและค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็นของ
          นิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านหลักสูตร
   .      แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลียและค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็นของ
          นิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านระบบการจัดการศึกษา
   .      แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็น
          ของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านวิธีการสอน
   .      แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็น
          ของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านอาคารสถานที
   .      แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็น
          ของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านสือการเรียนการสอน
   .      แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลียระดับความคิดเห็นของนิ สตทีมีสถานภาพ
                                                                ิ
          แตกต่างกันทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนในด้านต่างๆ
   .      แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลียระดับความคิดเห็นของนิ สตทีมีพรรษาแตกต่าง
                                                              ิ
          กันทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนในด้านต่างๆ
(ซ)



                             สารบัญภาพ
ภาพที                                                              หน้า
  .     แสดงความหมายของการเรียนรู ้
  .     แสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการเรียนการสอน
  .     แสดงองค์ประกอบของระบบทีสมบูรณ์
  .     แสดงระบบการเรียนการสอน
  .     ระบบการเรียนการสอนของเกลเซอร์ (Glaser,     )
  .     ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลคและอีลาย (Gerlach and Dly)
                                     ั
  .     แสดงรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนการสอนของกรมวิชาการ และเขต
        การศึกษา
  .8    กรอบแนวคิดทีใช้ในการวิจย
                               ั                                   36
บทที

                                                           ปฐมบท


1.1 ความเป็ นมาของปัญหา
             วิทยาลัยสงฆ์เลยเป็ นสถาบันการศึกษาของคณะสงฆ์ไทยแห่งหนึ ง เป็ นส่วนงานหนึ ง
ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ได้ก่อตังขึนเพือการขยายโอกาสทางการศึกษาแก่พระภิกษุ สามเณรในเขตการปกครองคณะสงฆ์
ภาค เพือส่งเสริมการศึกษาแก่บุคลากรทางศาสนา มีประวัติความเป็ นมาโดยสังเขปคือเมือ
พ.ศ.2539 สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุ มติให้วิทยาเขตขอนแก่น จัดตัง "ศูนย์การศึกษาวัดศรีวิชย
                                      ั                                                 ั
วนาราม" ณ วัดศรีวิชยวนาราม ตําบลกุดป่ อง อําเภอเมือง จังหวัดเลยโดยมีพระสุนทรปริยติเมธี
                        ั                                                         ั
เป็ น "ผูชวยอธิการบดี" ทําหน้าทีบริหารประจําศูนย์การศึกษา ต่อมาเมือ พ.ศ.2541 ได้มีการ
         ้่
ประชุมสภามหาวิทยาลัยครังที 8/2541 มีมติให้ยกฐานะศูนย์การศึกษาเลยเป็ น “วิทยาลัยสงฆ์
เลย” ปั จจุบนได้เปิ ดการเรียนการสอนหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ๓ คณะ ได้แก่ คณะพุทธ
               ั
ศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะครุ ศ าสตร์ สาขาวิ ชาการอสนภาษาไทย และคณะ
สังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง นอกจากนี ยงเปิ ดการเรียนการสอน
                                                                   ั
หลักสูตรประกาศนี ยบัตร คื อ หลักสูต รประกาศนี ยบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์(ปบ.ส.)
ปั จจุบันวิทยาลัยสงฆ์เลยได้ยายสถานศึกษาจากวัด ศรีวิ ชย
                               ้                       ั      มาอยู่ที เลขที     หมู่ที
บ้านท่าบุ่ง ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีวตถุประสงค์ในการก่อตัง ดังนี 1
                                                         ั
            1. เพือส่งเสริมการศึกษาด้านพระพุทธศาสนา
            2. เพือการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
            3. เพือเป็ นแหล่งการศึกษาพระไตรปิ ฎกและวิชาชันสูงสําหรับพระภิกษุ สามเณรและ
คฤหัสถ์ในภูมิภาคนี
            4. เพือขยายโอกาสทางการศึกษาแก่พระภิกษุ สามเณร
            5. เพือสนองนโยบายในการกระจายโอกาสบางการศึกษา และเปิ ดโอกาสให้บุคลากร
ในท้องถิน ได้มีสวนร่วมดําเนิ นการจัดการศึกษา
                   ่
            ในการจัดการเรียนการสอนนัน วิทยาลัยสงฆ์เลยมีพนธกิจทีสําคัญในการผลิตบัณฑิต
                                                           ั
ให้มีความเป็ นเลิศทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนา บัณฑิตทีสําเร็จการศึกษามีความเป็ นผูนํา  ้
ทางจิต และปั ญญา มีศรัทธาทีจะอุทิศตนเพือพระพุทธศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ
เพือส่วนรวม การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม ด้วยการสร้างความรู ้
                                                                ั

1
    วิทยาลัยสงฆ์เลย, วัตถุประสงค์การก่อตัง, http://www.mcu.ac.th/site/college/coll_index.php. สืบค้นเมือวันที กันยายน   .
ความเข้าใจในหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาแก่ประชาชน และสนับสนุ นงานกิจการคณะสงฆ์
เสริ ม สร้า งและพัฒ นาแหล่ ง เรี ย นรูด ้า นการทํา นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวัฒ นธรรม และการอนุ รัก ษ์
                                       ้
สิงแวดล้อ ม สนั บสนุ น ให้มี ก ารนํ าภูมิ ปัญญาไทยและภูมิ ปัญญาท้องถิ นมาเป็ นรากฐานการ
พัฒนา ส่งเสริมการวิจยและพัฒนางานวิชาการ เน้นการพัฒนาองค์ความรูในพระไตรปิ ฎก การ
                         ั                                                    ้
พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และพัฒนาความรูทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้แก้ปัญหา
                                                 ้
ด้านศีลธรรมและจริยธรรมของสังคม
           เพือให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ในการจัดตังดังกล่าว วิทยาลัยสงฆ์เลยได้จดการศึกษา
                                                                                       ั
โดยการพยายามทีจะผลิต บัณฑิ ตที มีคุ ณภาพออกไปรับใช้สังคม ในขณะเดีย วกันก็ เพือผลิต
บุคลากรทางศาสนาทีมีคุณภาพ มีความตระหนักถึงบทบาทหน้าทีของตนในฐานะผูนําทางจิต              ้
วิญญาณ แต่การทีผลิตพระบัณฑิตทีมีคุณภาพดังกล่าว จําเป็ นทีต้องทราบปั ญหาและอุปสรรค
ในจัด การศึ ก ษาเล่าเรีย น ดัง นั น วิ ทยาลัย สงฆ์เ ลยจึ ง ได้ดําเนิ น การวิ จัย สํารวจปั ญหาและ
อุปสรรคของนิ สิตเพือทราบถึงข้อมูลทีจะนําไปสู่การกําหนดแนวทางในการจัดการศึกษาต่อไป
ปั ญหาทีจะหยิบยกมาเป็ นประเด็น หลักทีจะค้นหาคําตอบให้ไ ด้ก็คือ นิ สิตคิด อย่างไรในเรือง
เหล่านี คือ ด้านอาจารย์ผสอน ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการศึกษา ด้านวิธีการสอน ด้าน
                           ู้
อาคารสถานที และด้านสือการเรียนการสอน

1.2 วัตถุประสงค์การวิจย ั
          1.2.1 เพือทราบถึงปั ญหาของนิ สิต และการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
          1.2.2 เพือทราบถึงระดับความคิด เห็นของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
          1.2.3 เพือประมวลปั ญหาและข้อเสนอแนะของผูทีเกียวข้องในการจัดการเรียนการ
                                                       ้
สอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย

1.3 สมมติฐานการวิจย   ั
        1.3.1 นิ สิตทีมีสถานภาพแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลยไม่แตกต่างกัน
        1.3.2 นิ สิตที มีพรรษาแตกต่ างกัน มี ความคิด เห็น ต่อการจัด การเรีย นการสอนของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลยไม่แตกต่างกัน

1.4 ขอบเขตการศึกษา
        1.4.1 ขอบเขตด้านประชากร
        ประชากรทีใช้ในการวิจัยครังนี คือ นิ สิตทีกําลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ภาคการศึกษาที 2/2554
1.4.2 ขอบเขตด้านเนื อหา
       การศึกษาครังนี ผวิจยกําหนดศึกษาเนื อหาการจัดการศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาจุฬา
                          ู้ ั
ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ในด้านต่างๆ 6 ด้าน คือ
       1. ด้านอาจารย์ผสอน
                       ู้
       2. ด้านหลักสูตร
       3. ด้านการจัดการศึกษา
       4. ด้านวิธีการสอน
       5. ด้านอาคารสถานที
       6. ด้านสือการเรียนการสอน
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
         ความคิดเห็น หมายถึง การแสดงออกถึงความรูสึก ความเข้าใจและการรับรูของ
                                                            ้                          ้
พระนิ สิตต่อการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
ในด้านต่างๆ ทัง 6 ด้าน คือ ด้านอาจารย์ผสอน ด้านหลักสูตร ด้านระบบการจัดการศึกษา ด้าน
                                         ู้
วิธีการสอน ด้านอาคารสถานที ด้านสือการเรียนการสอน
         นิสิต หมายถึง นิ สิตของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
ทีลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาที 2/2554
         สถานภาพ หมายถึง ลักษณะของเพศบรรพชิต จําแนกเป็ นพระภิกษุ และสามเณร
         อาจารย์ผู ้ส อน หมายถึ ง อาจารย์ป ระจํ า ผู้ที บอกในรายวิ ช าที เปิ ดสอนของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
         หลักสูต ร หมายถึง แผนการจัด การศึ กษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
         การจัดการศึก ษา หมายถึ ง การจัดและดําเนิ นการเกียวกับการจัด การศึ กษาของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ใน 6 ด้าน คือ ด้านอาจารย์ผูสอน    ้
ด้านหลักสูต ร ด้านระบบการจัดการศึกษา ด้านวิธีก ารสอน ด้านอาคารสถานที ด้านสือการ
เรียนการสอน
          วิธีการสอน หมายถึง วิธีการทีช่วยให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรูได้โดยอาศัยความสามารถ
                                                                   ้
ของผูสอนและการใช้เทคนิ คต่างๆ ในการถ่ายทอดเนื อหาสาระให้น่าสนใจ
      ้
         อาคารสถานที หมายถึง สถานทีทีใช้จดการศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย
                                                 ั
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
         สือการเรียนการสอน หมายถึง สือการสอนเป็ นเครืองมือช่วยสือความหมายใดๆ ก็
ตามทีจัดโดยอาจารย์และนิ สิต เพือเสริมการเรียนรู ้ เครืองมือการสอนทุกชนิ ดเป็ นสือการสอน
เช่น หนังสือในห้องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ ทรัพยากรจากชุมชน เป็ นต้น
1.6 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รบ ั
         1.6.1 ได้ทราบถึงสภาพการจัดการศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆ์เลย
         1.6.2 ได้ทราบถึ งระดับความคิ ด เห็นของนิ สิตที มีต่ อการจัด การเรีย นการสอนของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
         1.6.3 ได้รบสารสนเทศทีเกียวข้องกับปั ญหาและข้อเสนอแนะของผูทีเกียวข้องในการ
                   ั                                                     ้
จัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
บทที

                        แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจยทีเกียวข้อง
                                              ั

         ในการวิจยเรือง “สภาพปั ญหาและความคิดเห็นของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอน
                   ั
ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย” ผูวิจัยได้ทําการศึกษาแนวคิ ด
                                                             ้
ทฤษฎีและผลงานวิจยทีเกียวข้อง ดังนี
                 ั
           . แนวคิดการก่อตังวิทยาลับสงฆ์เลย
           . แนวคิดการจัดการเรียนการสอน
         2.3 แนวคิดเกียวกับบัณฑิตทีพึงประสงค์
           . งานวิจยทีเกียวข้อง
                     ั
           . กรอบแนวคิดทีใช้ในการวิจย ั

    . แนวคิดการก่อตังวิทยาลัยสงฆ์เลย
              วิทยาลัยสงฆ์เลยเป็ นส่วนงานสังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ขอนแก่น ตังอยูเลขที เลขที
                     ่                   หมู่ที บ้านท่าบุ่ง ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย
มีประวัติการก่อตังโดยย่อคือ เมือ พ.ศ.                 พระสุนทรปริยติเมธี(พรหมา จนฺ ทโสภโณ) สมณ
                                                                  ั
ศัก ดิ ในขณะนั น ซึ งเป็ นเจ้าคณะจัง หวัด เลยร่ว มกับพระสัง ฆาธิ ก ารในเขตจัง หวัด เลย ได้เสนอ
โครงการก่อตังวิทยาลัยสงฆ์เลยต่อมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น และได้รบ                 ั
อนุ มัติ ให้ก่อ ตังศูน ย์ก ารศึก ษาเลย สัง กัด วิทยาเขตขอนแก่ น ต่อ มาเมื อวันที สิง หาคม พ.ศ.
          ได้รบการอนุ มัติจ ากสภามหาวิ ทยาลัย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ทยาลัย ให้ยกฐานะศูน ย์
               ั
การศึกษาเลยเป็ นวิทยาลัยสงฆ์เลย
              วัตถุประสงค์ในการก่อตังวิทยาลัยสงฆ์เลย
              เพือตอบสนองความต้องการของศึ กษาของพระภิก ษุ สามเณร เพือสนองนโยบายของ
รัฐบาลในการกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ทวถึงแก่ผดอยโอกาส เพือเปิ ดโอกาสให้บุคลากรใน
                                                    ั       ู้ ้
ท้องถินได้มีสวนร่วมดําเนิ นการศึกษาระดับบาลีอุดมศึกษาให้เกิดประโยชน์แก่พระภิกษุ สามเณรใน
                 ่
ชนบท และสามารถนําความรูดังกล่าวไปประยุก ต์ใช้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้อ ย่างพึง
                                     ้
ประสงค์ และมีประสิทธิภาพ ดังนี
                 . เพื อพัฒ นาทรัพ ยากรบุ ค คลทางพระพุ ท ธศาสนาในท้อ งถิ น ให้มี คุ ณ ธรรม มี
จริยธรรม มีความสามารถและมีศกยภาพในการบริหารกิจการคณะสงฆ์และสังคม
                                       ั
                 . เพือขยายโอกาสให้พระสังฆาธิการ ครูสอนพระปริยติธรรม และ พระภิกษุ สามเณรที
                                                                      ั
สนองงานคณะสงฆ์ในท้องถิน ได้ศึกษาวิชาการด้านพระพุทธศาสนาในระดับอุดมศึกษา
                 . เพือผลิตบัณฑิตทีมีความรู ้ ความสามารถด้านพระพุทธศาสนา
                 . เพือเป็ นแหล่งบริการด้านพระพุทธศาสนา ทํานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม
                                                                    ํ
6


          ปั จจุบนทีวิทยาลัยสงฆ์เลยได้เปิ ดหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน ๔ สาขาวิชา คือ
                 ั
          1. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
          2. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
          3. สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง
          ปั จจุบนมีโครงการหลักสูตรประกาศนี ยบัตร คือ
                   ั
          โครงการหลักสูตรประกาศนี ยบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ปบ.ส.)
          โดยมีพนธกิจตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในด้านต่างๆ
                     ั
ดังนี
            ด้านการผลิตบัณฑิต
            ผลิต และพัฒนาบัณฑิ ต ให้มี คุ ณลัก ษณะอัน พึงประสงค์ ๙ ประการ คื อ มี ปฏิปทาน่ า
เลือมใส ใฝ่ รใฝ่ คิด เป็ นผูนําด้านจิตใจและปั ญญา มีความสามารถในการแก้ปัญหา มีศรัทธาอุทิศ
             ู้               ้
ตนเพือพระพุทธศาสนา รูจกเสียสละเพือส่วนรวม รูเ้ ท่าทันความเปลียนแปลงของสังคม มีโลกทัศน์
                                ้ั
กว้างไกล มีศกยภาพทีจะพัฒนาตนเอง ให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม
                ั
            ด้านการวิจยและพัฒนา
                            ั
            การวิจยและค้นคว้า เพือสร้างองค์ความรูควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน เน้น
                    ั                                  ้
การพัฒนาองค์ความรูในพระไตรปิ ฎก โดยวิธีสหวิทยาการแล้วนําองค์ความรูทีค้นพบมาประยุกต์ใช้
                          ้                                            ้
แก้ปั ญหา ศี ล ธรรม และจริ ย ธรรมของสั ง คม รวมทั งพัฒ นา คุ ณ ภาพงานวิ ช าการด้า น
พระพุทธศาสนา
            ด้านการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม      ั
            ส่ ง เสริ ม พระพุ ท ธศาสนาและบริ ก ารวิ ช าการแก่ สัง คม ตามปณิ ธ านการจั ด ตั ง
มหาวิทยาลัย ด้วยการปรับปรุงกิจกรรมต่างๆ ให้ประสานสอดคล้อง เอือต่อการส่งเสริม สนับสนุ น
กิจการคณะสงฆ์ สร้างความรู ้ ความเข้าใจหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา สร้างจิตสํานึ ก ด้าน
คุ ณธรรม จริ ย ธรรมแก่ ประชาชน จัด ประชุ ม สัม มนา และฝึ ก อบรม เพื อพัฒนาพระสงฆ์และ
บุคลากรทางศาสนา ให้มีศกยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่หลักคําสอน และเป็ นแกนหลักในการ
                                 ั
พัฒนาจิตใจในวงกว้าง
            ด้านการทํานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
                                   ํ
            เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรูดานการทํานุ บํารุ งศิ ลปวัฒนธรรม ให้เอือ ต่ อ
                                                   ้ ้
การศึกษา เพือสร้างจิตสํานึ กและความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย สนับสนุ นให้มีการนําภูมิปัญญา
ท้องถิน มาเป็ นรากฐานของการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ

          เปาประสงค์ของวิทยาลัยสงฆ์เลย
            ้
           . จัด การศึ ก ษา ส่ง เสริม และพัฒนาวิ ชาการทางพระพุทธศาสนาประยุก ต์เข้ากับ
ศาสตร์ต่างๆ เพือการผลิตและพัฒนาคุณภาพบัณฑิ ต และทรัพยากรมนุ ษย์ให้เป็ นทียอมรับของ
สังคม
7


             . เพือให้มีโครงสร้างที กะทัดรัดและมีระบบการบริหารทีมี ความคล่องตัว สามารถ
ดําเนิ นงานทุกด้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล โป่ งใส ตรวจสอบได้
             . เพือให้บุคลากรทุกระดับในวิทยาเขตขอนแก่น เป็ นผูมีความรูความสามารถให้ทัน
                                                                 ้        ้
ต่อความเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิงแวดล้อม และเป็ นผูชีนําทางวิชาการด้าน
                                                                        ้
พระพุทธศาสนา
             . เพือให้สามารถปฏิบัติภารกิจหลักในด้านการบริหาร การจัดการศึกษา การวิจัย
การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม และการทํานุ บารุงศิลปวัฒนธรรมได้ตาม
                                                   ั                ํ
เปาหมาย
  ้
             . เพือพัฒนาวิ ทยาลัย สงฆ์เลยให้เป็ นศูนย์กลางการศึ กษาด้านพุทธศาสนา สะสม
อนุ รกษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาท้อ งถิน พัฒนาองค์ความรูดานศิลปะและวัฒนธรรม เพือมุ่งสู่การ
     ั                                                 ้ ้
เป็ นศูนย์ก ลางการพัฒนาองค์ค วามรู ้ และเป็ นผูนํ าด้านการวิจัย ด้านพระพุทธศาสนา ปรัชญา
                                                 ้
ศิลปะและวัฒนธรรมในภูมิภาคนี
             . เพือให้สามารถระดมทุ น จากแหล่ง ต่ างๆ ให้มี เพีย งพอต่ อ การจัด หาและพัฒนา
อาคารสถานที บุ ค ลากร ครุ ภัณฑ์ทางการศึ ก ษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ภาคเอกชน
ชุมชนและสังคมมีสวนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษาของคณะสงฆ์เพิมมากขึน
                   ่

2.2 แนวคิดเกียวกับการจัดการเรียนการสอน
            การเรียนการสอน เป็ นคําทีคุนเคยกันดีในแวดวงการการศึกษา เป็ นคําทีมาจากคําว่า
                                          ้
“การเรียน” และ “การสอน” เนื องมาจากคําทังสองมีกระบวนการทีสัมพันธ์กัน เกียวเนื องกัน
จนกระทังไม่ สามารถแยกกันอยู่ได้ และกระบวนการทังสองเกี ยวข้อ งกับผูมีบทบาทสําคัญของ
                                                                              ้
การศึกษา คือ บทบาทของผูสอนและผูเ้ รียน ดังนันในฐานะของผูสอนซึงถือว่าเป็ นบทบาทในการ
                               ้                                    ้
ทีจะส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดความเจริญเติบโต มีความงอกงามทังทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์
และสังคม จึงควรมีความรู ้ ความเข้าใจเกียวกับความหมาย องค์ประกอบ หลักการสําคัญและ
ลักษณะทีดี ของการสอนการเรียนรู ้ ตลอดจนความสัมพัน ธ์ระหว่างหลักการเรียนรูและหลักการ ้
สอนเพือจะสามารถนําไปปฏิบติจนเกิดผลดี และมีประสิทธิภาพต่อการจัดการศึกษาต่อไป
                                 ั
            2.2.1 ความหมายของการเรียน
                                                             1
            พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.                  ได้ให้ความหมายของการเรียนไว้ว่า
“เป็ นการศึ ก ษาเพื อให้เ จนใจ จํา ได้ ให้เ กิ ด ความรู ้ ความเข้า ใจหรื อ ความชํา นาญ” นั นเป็ น
ความหมายโดยทัวไป ซึงการเรียนสามารถเกิดขึนได้ทุกเวลา และทุกสถานที เกิดขึนได้ตลอดชีวิต
เกิดขึนทังทีตังใจและบังเอิญ



1
 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ. 2525. (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์อกษรเจริญทัศน์,2526)
                                                                                      ั
หน้า 690
8


            ความหมายของการศึกษาในทัศนะของท่านพุทธทาส 2 ให้แนวความคิด ไว้ว่า “การ
เรีย นเป็ นการพัฒนาวิ ญญาณ ให้สามารถรับรู ้ สิงต่ าง ๆ ได้ต รงตามความเป็ นไปที แท้จ ริง ของ
ธรรมชาติ โดยไม่มีการปรับแต่งหรือปราศจากอวิชชา”
            สวัสดิ จิตต์จนะ3 ได้ให้ความหมายของการเรียนว่า “เป็ นปฏิกิริยาทีมีต่อประสบการณ์
ซึงจะแสดงออกให้เห็นในลักษณะของพฤติกรรมทีเปลียนแปลงไป” นอกจากนันยังกล่าวว่า การ
เรียนมีความหมายแตกต่างไปจากการเรียนรู ้ กล่าวคือ การเรียนเป็ นการกระทํา ส่วนการเรียนรู ้
เป็ นผลของการกระทํา การเรียนจึงเกิดขึนก่อน และการเรียนรูจะเกิดขึนได้ในโอกาสต่อมา
                                                            ้
            สุพิน บุญชูวงศ์4 ได้แสดงความคิดเห็นไว้วา “การเรียน” เป็ นคําสัน ๆ ของคําว่า “การ
                                                      ่
เรียนรู”้ มาจากคําภาษาอังกฤษว่า learning ซึงเป็ นคําทีใช้ในศาสตร์ทางจิตวิทยาเป็ นกระบวนการที
บุคคลมีการเปลียนแปลงพฤติกรรมอันเนื องมาจากประสบการณ์
            ซึงเป็ นความคิดทีสอดคล้องกับ อาภรณ์ ใจเทียง5 ทีกล่าวว่า การเรียนรู ้ เป็ นคําทีใช้
ในศาสตร์ทางจิตวิทยา เมือนํามาใช้ค่กบการสอน จะเรียกสัน ๆ ว่า “การเรียน”
                                     ู ั
            ดังนัน การเรียน หรือ การเรียนรู ้ จึงมีความหมายทีแยกกันไม่ได้ เนื องจากเป็ นเหตุ
เป็ นผลต่อกัน ซึงจะนําความคิดเห็นของนักการศึกษาทีให้ความหมายไว้มานําเสนออีก ดังนี
            คาเตอร์ วี. กู๊ด (Cater V. Good) 6 ได้ให้ความหมายของการเรียนรูไว้ว่า เป็ นการ
                                                                                 ้
เปลียนปฏิกิริยาตอบสนอง หรือพฤติกรรม อันเนื องมาจากบุคคลได้รบประสบการณ์ ในขณะทีมี
                                                                    ั
สติสมปชัญญะสมบูรณ์ แต่บางครังก็อาจเป็ นประสบการณ์ทีเกิดขึนโดยไม่รตว
     ั                                                                 ู้ ั
                              7
            กันยา สุวรรณแสง ให้ความหมายไว้วา “การเรียนรู ้ คือ กระบวนการทีประสบการณ์
                                                 ่
ตรง และ ประสบการณ์ทางอ้อม กระทําในอินทรีย ์ เกิดการเปลียนแปลงพฤติกรรมทีค่อนข้างถาวร
แต่ไม่รวมถึงการเปลียนแปลงพฤติกรรมอันเนื องมาจากเหตุอืน ๆ เช่น ความเจ็บป่ วย ฤทธิ ยาและ
สารเคมี ฯลฯ
            อาภรณ์ ใจเทียง8 ให้ความหมายว่า “การเรีย นรู ้ คือกระบวนการที บุคคลเกิ ดการ
เปลียนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวร อันเนื องมาจากประสบการณ์หรือการฝึ กหัด” โดยสามารถแสดง
ภาพได้ ดังนี




2
  สวัสดิ จิตต์จนะ.หลักการสอน.(พิษณุโลก:ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม,2537) หน้า5
3
  เรืองเดียวกัน หน้า 5
4                                                   ่
  สุพน บุญชูวงศ์. หลักการสอน. (กรุงเทพมหานคร : ฝายเอกสารตํารา สถาบันราชภัฎสวนดุสต,2539) หน้า 2
      ิ                                                                              ิ
5
  อาภรณ์ ใจเทียง. หลักการสอน. (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2537 )หน้า 13
6
  อภิวนท์ ชาญวิชย. หลักการสอน.(ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม,2540) หน้า3
        ั         ั
7
  อาภรณ์ ใจเทียง. เรืองเดียวกัน,หน้า 13
8
  อาภรณ์ ใจเทียง. เรืองเดียวกัน,หน้า 7
9




        ผูเ้ รียนได้รบ
                     ั
                                                                                        มีการเปลียนแปลง
      ประสบการณ์หรือ                                  เกิด                              พฤติกรรมทีถาวร
         การฝึ กหัด                                 การเรียนรู้



           ภาพที 2.1 แสดงความหมายของการเรียนรู ้

        จากความหมายของการเรียนรูทีกล่าวมาข้างต้น จึงพอสรุปได้วา “การเรียนเป็ นความ
                                     ้                         ่
พยายามของบุค คลหรือผูเ้ รีย นที จะตอบสนองสิงแวดล้อม หรือ ประสบการณ์ทีได้จ นกระทังเกิ ด
กระบวนการเปลียนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวร ซึงเรียกว่า การเรียนรู”้

          2.2.2 ความหมายของการสอน
          การสอนเป็ นกระบวนการทีสลับซับซ้อนมากกว่าการเป็ นเพียง “กิจกรรมหรือบทบาท
ของผูสอน” การเป็ นภาระกิจทีต้องใช้ศาสตร์และศิลป์ จึงจะก่อให้เกิดประสบการณ์และสิงแวดล้อมที
      ้
มีความหมายต่อการเปลียนแปลงพฤติกรรมของผูเ้ รียน
                                                           9
          พจนานุ ก รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.                 ให้ความหมายของการสอนไว้ว่า
“เป็ นการบอกวิชาความรู ้ การแสดงให้เข้าใจโดยวิธีบอกหรือทําให้เห็นเป็ นตัวอย่าง เพือให้รดีรชว”
                                                                                       ู้ ู้ ั
                          10
          พุท ธทาสภิ ก ขุ ได้ย ําให้เ ห็ น หน้า ที ของการสอนไว้ว่า “เป็ นการนํ า วิ ญญาณ ซึ ง
หมายถึง การนําทางให้ผเู้ รียนมีความรูทีตรงกับความจริงของธรรมชาติ เห็นความเปลียนแปลงของ
                                      ้
ธรรมชาติ เพือการดํารงชีวิตทีปราศจากทุกข์
          คาร์เตอร์ วี.กู๊ด 11 ให้ความหมายของการสอนไว้ ประการ ดังนี
             . การสอนในความหมายกว้าง ๆ คื อ การจัด สภาพการณ์ สถานการณ์ หรือจัด
กิจกรรมทีจะช่วยให้การเรียนรูของผูเ้ รียนดําเนิ นไปอย่างราบรืน ซึงรวมทังกิจกรรมทีจัดอย่างมี
                                ้
ระเบียบ แบบแผนและกิจกรรมทีจัดขึนเพือให้เกิดการเรียนรูอย่างไม่มีพิธีรีตอง
                                                         ้
             . การสอนในความหมายแคบ คื อ การอบรม สังสอนผูเ้ รียนในสถานการศึ กษา
ทัวไป
          ธีระ รุญเจริญ12 ให้ความหมายของการสอนไว้ว่า การสอนหมายถึงกระบวนการที
ผูสอนและผูเ้ รียนร่วมกันสร้างสิงแวดล้อมทางการเรียนรู ้ รวมทังการสร้างค่านิ ยม และความเชือ
  ้
ต่าง ๆ ในอันทีจะช่วยให้ผเู้ รียนบรรลุเปาหมายทีตังไว้
                                        ้

9
  ราชบัณฑิตยสถาน. เรืองเดียวกัน, หน้า 784
10
   สวัสดิ จิตต์จนะ.เรืองเดียวกัน, หน้า 7
11
   กาญจนา บุญรมย์.หลักการสอน.(อุบลราชธานี : คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยครูอุบลราชธานี,2536) หน้า 6
10


            อาภรณ์ ใจเทียง13 ให้ความหมายไว้ว่า การสอนคือกระบวนการปฏิสมพันธ์ระหว่าง
                                                                           ั
ผูสอนกับผูเ้ รียน เพือทําให้ผูเ้ รียนเกิดการเปลียนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ทีกําหนด ซึง
  ้
ต้องอาศัยทังศาสตร์และศิลป์ ของผูสอน  ้
                                14
            สุ พิ น บุ ญ ชูว งศ์ ให้ค วามหมายว่า การสอนเป็ นกระบวนการที ทํา หน้า ที เป็ น
เครืองมือช่วยให้คนได้มีประสบการณ์ทีดี มีการเปลียนแปลงในทางทีดีขน จนสามารถดํารงชีพได้
                                                                 ึ
อย่างราบรืน เป็ นประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม
            สรุปแล้วการสอนคือ “กระบวนการทีผูสอนต้องใช้ความสามารถในการจัดประสบการณ์
                                                 ้
หรือสร้างสิงแวดล้อม ให้ผเู้ รียนเกิดการเปลียนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ทีกําหนด”

            2.2.3 องค์ประกอบของการเรียนการสอน
            การเรียนการสอนเป็ นกระบวนการของผูเ้ รียนและผูสอน ทีต้องเกียวข้องสัมพันธ์กัน
                                                                  ้
จึงต้องอาศัยองค์ประกอบหลายด้าน ซึงนักการศึกษาหลายท่านให้ทรรศนะไว้
            สุพิน บุ ญชูว งศ์15 กล่าวถึ ง องค์ประกอบของการสอนไว้ ประการ ได้แก่ ครู
นักเรียนและสิงทีสอน สรุปได้ดงนี    ั
                . ครู เป็ นองค์ประกอบที ขาดไม่ ไ ด้ บุ ค ลิก ภาพและความสามารถของผูสอนที มี
                                                                                     ้
อิทธิพลต่อการเรียนรูของผูเ้ รียน ผูสอนควรมีบุคลิกภาพทีดีและรูจกเลือกใช้วธีสอนทีเหมาะสมเพือ
                             ้          ้                           ้ั        ิ
ส่งเสริมให้ผเู้ รียนประสบผลสําเร็จในการเรียนรู ้
                . นั ก เรีย นหรือ ผูเรีย น เป็ นองค์ประกอบที สําคัญเท่ากับผูสอน ความสําเร็จ ใน
                                     ้                                      ้
การศึ กษาเป็ นเปาหมายทีสําคัญของผูเ้ รียน ผูสอนจึง ควรเป็ นผูแนะแนว แนะนํา และจัดมวล
                    ้                              ้                 ้
ประสบการณ์ให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูได้มากทีสุด
                                          ้
                . สิงทีจะสอน ได้แก่ เนื อหาวิชาต่าง ๆ ครูจะต้องจัดเนื อหาให้มีความสัมพันธ์กัน
น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย ระดับชนชันและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของการเรียนการสอน
            ลําพอง บุญช่วย16 กล่าวถึงองค์ประกอบของการเรียนการสอนไว้ ประการพร้อมทัง
แสดงแผนภูมิประกอบไว้ดงนี       ั
                . ครูผสอน ู้
                . ผูเ้ รียน
                . หลักสูตร
                . วิธีสอน
                . วัตถุประสงค์ของการเรียน
                . สือการสอน
12
   ธีระ รุญเจริญ. การเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช,2525) หน้า 3
13
   อาภรณ์ ใจเทียง. เรืองเดียวกัน,หน้า 2
14
   สุพน บุญชูวงศ์. เรืองเดียวกัน,หน้า 3
       ิ
15
   เรืองเดียวกัน,หน้า 4
16
   ลําพอง บุญช่วย. การสอนเชิ งระบบ. (ปทุมธานี: วิทยาลัยครูเพชรบุรวทยาลังกรณ์, 2530) หน้า 1
                                                                 ีิ
11


                  . การประเมินผล

                ซึงองค์ประกอบเหล่านี จะสัมพันธ์เกียวข้องกัน ดังแสดงในแผนภูมิ



                                               วิธีสอน
                                        ครู                วัตถุประสงค์


                             การฝึ กประเมิน                      หลักสู ตร
                                                ผู้เรียน


                                              สื อการสอน


                ภาพที 2.2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการเรียนการสอน

           อาภรณ์ ใจเทียง17 วิเคราะห์และแยกย่อยเป็ นองค์ประกอบของการเรียนการสอนเป็ น 2
ด้าน ได้แก่
             . ด้านองค์ประกอบย่อย หมายถึง องค์ประกอบด้านโครงสร้างทีมาประกอบกันเป็ น
การสอน อันประกอบด้วย
                  . ครู หรือผูสอนหรือวิทยากร
                               ้
                  . นักเรียน หรือผูเ้ รียน
                  . หลักสูตร หรือสิงทีจะสอน
             . องค์ประกอบย่อย หมายถึง องค์ประกอบด้านรายละเอียดของการสอนซึงจะต้อง
ประกอบด้วยกระบวนการเหล่านี จึงจะเป็ นการสอนทีสมบูรณ์ ได้แก่
                2.1 การตังจุดประสงค์การสอน
                2.2 การกําหนดเนื อหา
                2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
                2.4 การใช้สือการสอน
                2.5 การวัดผลและประเมินผล
           ซึงองค์ประกอบของการเรีย นการสอนทังองค์ประกอบรวมและองค์ประกอบย่อ ยนั น
เมื อพิจ ารณาแล้ว จะเห็ น ว่า องค์ประกอบรวมเป็ นส่ว นสร้า งให้เ กิ ด การเรีย นการสอน ส่ว น


17
     อาภรณ์ ใจเทียง. เรืองเดียวกัน,หน้า 6
12


องค์ประกอบย่อยเป็ นส่วนเสริมให้การเรียนการสอนมีความสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพและมีคุณค่า
แก่ผเู้ รียนมาก
             นอกจากนัน กฤษณา ศักดิศรี18 ยังกล่าวถึงองค์ประกอบสําคัญของการเรียนการสอน
ทีเกียวกับผูเ้ รียนไว้อย่างชัดเจนว่า การเรียนการสอนจะบรรลุเปาหมาย ก็ตองอาศัยองค์ประกอบ
                                                                ้                 ้
จากผูเ้ รียน หรือองค์ประกอบของการเกิด “การเรียนรู”้ ซึงมีหลายประเด็น ดังนี
               . แรงขับ (Drive) มี ประเภท คือ แรงขับปฐมภูมิ (Primary Drive) เช่น
ความหิวกระหาย แรงขับทุติยภูมิ (Secondary Drive) เป็ นเรืองของความต้องการทางจิตใจและ
สัง คม เช่น ความวิ ต กกัง วล ความต้อ งการความรัก ความปลอดภัย ฯลฯ แรงขับทังสอง
ประเภท มีผลให้เกิดปฏิกิริยา อันจะนําไปสูการเรียนรู ้
                                              ่
                . สิ งเร้า (Stimulus) เป็ นตัว การทํ า ให้บุ ค คลมี ป ฏิ กิ ริ ย าโต้ต อบออกมาเป็ น
ตัวกําหนดพฤติกรรมว่าจะแสดงอาการตอบสนองออกมาในลักษณะใด สิงเร้าอาจเป็ นเหตุการณ์
หรือวัตถุ และอาจเกิดภายในหรือภายนอกร่างกายก็ได้ เช่น เสียงนาฬิกาปลุกเร้าให้ตืน กําหนดวัน
สอบเร้าให้เตรียมตัวสอบ
                . อาการตอบสนอง (Response) คื อ พฤติ ก รรมที แสดงออกมาเมื อได้รับการ
กระตุนจากสิงเร้า หรือพูดว่า คือผลทางพฤติกรรมของสิงเร้า เป็ นการกระทําของร่างกายและอาจ
        ้
เป็ นได้ชดหรือไม่ชดก็ได้ ซึงมักจะเกิดตามหลังสิงเร้าเสมอ
           ั          ั
               . สิงเสริมแรง (Reinforcement) คือสิงทีมาเพิมกําลังให้เกิดการเชือมโยงระหว่างสิง
เร้ากับอาการตอบสนอง เช่นรางวัล การทําโทษ ซึงมีผลต่อการเรียนรูมาก อาจแบ่งสิงเสริมแรงออก
                                                                      ้
ได้เป็ น ประเภท คือ
                     . สิงเสริมแรงปฐมภูมิ เป็ นสิงเสริมแรงทีเกิดขึนตามธรรมชาติและบําบัดความ
ต้องการ หรือลดแรงขับโดยตรง เช่น อาหารเป็ นสิงเสริมแรงแก่บุคคลทีกําลังหิว
                     . สิงเสริมแรงทุติยภูมิ เช่น เงิน ชือเสียง
             เมือพิจารณาจากองค์ประกอบของการเกิดการเรียนรูขางต้น ยังสามารถกล่าวเพิมเติม
                                                                  ้้
เกียวกับองค์ประกอบทีจะช่วยให้เกิดการเรียนรูได้ดีอีก คือ
                                                ้
               . วุฒิภาวะ (Readiness) หมายถึง ความเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย สติปัญญา
อารมณ์และสังคมของผูเ้ รียน
               . ความพร้อม (Readiness) หมายถึง ความพร้อมในวุฒิภาวะ หรือความสามารถใน
การรับประสบการณ์หรือสิงทีจะเรียนรู ้
               . ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Differences) หมายถึง ความสามารถ
เฉพาะบุคคลซึงมีความแตกต่างกันไป
               . การฝึ กหัด (Exercise) หมายถึง การทําซําๆ หลายๆ ครังเพือให้เกิดความชํานาญ
               . ผลลัพธ์ (Effect) หมายถึง ผลย้อ นกลับที ผูเ้ รีย นทราบผลทางการเรีย น ผูสอน    ้
ทราบผลความก้าวหน้า จะทําให้เกิดความพึงพอใจทุกฝ่ าย
18
     กฤษณา ศักดิศรี. จิตวิทยาการศึกษา.(กรุงเทพมหานคร: บํารุงสาสน์,2530) หน้า 481
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01krukrajeab
 
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจkrupanjairs
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2Tepporn Chimpimol
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01jirupi
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54vittaya411
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาPuripat Piriyasatit
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอนink3828
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 

Was ist angesagt? (20)

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
 
Report bioposn63tu
Report bioposn63tuReport bioposn63tu
Report bioposn63tu
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
Compare 4451
Compare 4451Compare 4451
Compare 4451
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 

Ähnlich wie สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน

ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siripornsiriporn9915
 
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่Nitwadee Puiamtanatip
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้Suhaiming Lotanyong
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)Ronnarit Thanmatikorn
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 

Ähnlich wie สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน (20)

ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษานวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siriporn
 
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 

Mehr von pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

Mehr von pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 

สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน

  • 1. (ก) ชือเรือง : สภาพปั ญหาและความคิดเห็นของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ชือผูวิจย : ้ ั พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต หัวหน้าโครงการวิจย ั ปี ทีทําวิจย : 2554 ั ผูสนับสนุนการวิจย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ้ ั บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการวิจย ั 1. เพือทราบถึงสภาพปั ญหาของนิ สิตและการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย 2. เพือทราบถึ ง ระดับ ความคิ ด เห็น ของนิ สิต ที มี ต่ อ การจัด การเรี ย นการสอนของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย 3. เพือประมวลปั ญหาและข้อเสนอแนะของผูทีเกียวข้องในการจัดการเรียนการสอนของ ้ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย วิธีการดําเนินการวิจย ั ผูวิจยได้เก็บข้อมูลจากประชากรกลุมตัวอย่างทีเป็ นนิ สต จํานวน 191 รูป จากประชากร ้ ั ่ ิ ทีเป็ นพระนิ สิตภาค 2 ปี การศึกษา 2551 ของวิทยาลัยสงฆ์ เครืองมือทีใช้ในการเก็บข้อมูลเป็ นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ขอมูลโดยใช้โปรแกรม ้ สําเร็จรูปจากคอมพิวเตอร์ คํานวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน และค่า สัมประสิทธิสหสัมพันธ์ ผลการศึกษาวิจย ั การวิจยครังนี ใช้กลุมประชากร ได้แก่ นิ สิตวิทยาลัยสงฆ์เลยทีศึกษาในภาคเรียนที 2 ปี ั ่ การศึกษา 2554 โดยใช้แบบสอบถาม จํานวน 200 ชุด แบบสอบถามทีได้รบคืนจํานวน 191 ชุดั คณะผูวจยได้ศึกษาทบทวนแนวคิดทฤษฎีและเอกสารผลงานทีเกียวข้อง โดยแบ่งแบบสอบถาม ้ิั ออกเป็ น 4 ตอน คือ ตอนที 1 ข้อมูลพืนฐานของนิ สิต ตอนที 2 ข้อมูลปั ญหาของกลุมประชากรที ่ ใช้ในการศึกษา ตอนที 3 ข้อมูลความคิดเห็นของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอน แบ่งออก เป็ น 6 ด้าน ได้แก่ ด้านอาจารย์ผสอน ด้านหลักสูตร ด้านระบบการจัดการศึกษา ด้านวิธีการ ู้ สอน ด้านอาคารสถานที และด้านสือการเรียนการสอนตอนที 4 ข้อเสนอแนะเพิมเติมของนิ สิต ในด้านต่างๆ ซึงเป็ นคําถามลักษณะปลายเปิ ด
  • 2. (ข) ข้อมูลพืนฐานของนิ สิตกลุมตัวอย่าง จากผลการวิเคราะห์ขอมูลจากแบบสอบถามจํานวน ่ ้ 191 ชุด ผูตอบแบบสอบถามส่วนมากมีสถานภาพเป็ นพระภิกษุ จํานวน 1 รูปและทีเหลือเป็ น ้ สามเณร จํานวน 8 รูป และคฤหัสถ์ จํานวน คน รวมจํานวน 1 รูป/คน ข้อมูลทีเกียวกับปั ญหาของนิ สิต จากการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่า นิ สิตส่วนใหญ่มาเรียนโดยใช้ทุนส่วนตัวใน การศึกษา ด้านการฉันเพลจะเตรียมภัตตาหารมาจากวัด นิ สิตส่วนใหญเดินทางมาเรียนไป-กลับ จะโดยรถโดยสารประจําทาง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชัวโมง งานทีมอบหมายก็จะทําทุกครัง ส่วนปั ญหาทีสําคัญทีสุดคือการขาดปั จจัยสนับสนุ นการเรียน เช่น ค่าเดินทาง ค่าเทอม ค่า ภัตตาหาร เป็ นต้น ข้อมูลทีเกียวกับด้านความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยสงฆ์เลย 1. ด้านผูสอน นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นเชิงบวกใน 3 อันดับ ้ - ความคิดเห็นต่ออาจารย์ผสอนในด้านอาจารย์มีความเป็ นกันเอง ู้ - อาจารย์พดจาสุภาพและเหมาะสม ู - เปิ ดโอกาสในชันเรียนให้พระนิ สิตซักถาม และให้คาแนะนําในด้านการเรียน ํ ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบแต่อยูในระดับมาก ได้แก่ อาจารย์เป็ นคนตรง ่ ต่อเวลาในการเข้าสอนและเลิกสอนให้โอกาสนอกชันเรียนแก่พระนิ สิตเข้าพบและให้ คําแนะนําในด้านการเรียน 2. ด้านหลักสูตร นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมากโดยมีความคิดเห็นเชิงบวกใน 3 อันดับ - ความคิดเห็นต่อประโยชน์ของหลักสูตรสามารถนําไปใช้ในการพัฒนาสังคมได้ - หลักสูตรทีเรียนเป็ นหลักสูตรทีทําให้ได้รบความรูอย่างกว้างขวาง ั ้ - มีการแจ้งตารางเรียนให้พระนิ สิตทราบก่อนล่วงหน้า ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ มีการประเมินประสิทธิภาพของผูสอน ้ จากนิ สต มีการจัดวิชาลงในแต่ละภาคการศึกษาอย่างเหมาะสม ิ 3. ด้านระบบการจัดการศึกษา นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นเชิง บวก ใน 3 อันดับ ได้แก่ - ชัวโมงการบรรยายแต่ละกระบวนวิชามีความเหมาะสมกับจํานวนหน่วยกิต - เจ้าหน้าทีเต็มใจให้บริการแก่พระนิ สิต - หลักสูตรมีการปรับปรุงและพัฒนาให้กาวทันการเปลียนแปลงของสังคมอยูเสมอ ้ ่ ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ การเปิ ดโอกาสให้นิสิตเข้าไปมีสวนร่วมใน ่ การจัดการศึกษาตามความเหมาะสมน้อย 4. ด้านวิธีการสอน นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นเชิงบวกใน 3 อันดับ ได้แก่ - ผูเ้ รียนมีสวนร่วมในการเรียนการสอนการบรรยาย การสาธิต สัมมนา อภิปราย ่ ร่วม
  • 3. (ค) - มีแผนการสอนโดยกําหนดวัตถุประสงค์ เนื อหา สือ และวิธีการประเมินผล - มีเอกสารประกอบการสอนทีตรงกับเนื อหาวิชาในกระบวนวิชาทีเรียน ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ มีการส่งเสริมให้ผเู้ รียนใช้เทคโนโลยี ผสมผสานการศึกษาเพือช่วยในการเรียนอย่างสมําเสมอ 5. ด้านอาคารสถานที นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมากโดยมีความคิดเห็นเชิงบวกใน 3 อันดับ ได้แก่ - แสงไฟภายในห้องเรียนสว่างอย่างเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน - ลักษณะของห้องเรียนมีความปลอดภัย - บรรยากาศของห้องเรียนมีความโปร่งสบาย ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ สภาพแวดล้อมของอาคารมีการจัดการ ดูแลอย่างเป็ นระเบียบ สวยงาม และมีการบํารุงรักษาสถานทีเพืออํานวยความสะดวกแก่ พระนิ สิตสมําเสมอเป็ นอย่างดี 6. ด้านสือการเรียนการสอน นิ สิตมีความคิดเห็นในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นเชิง บวกใน 3 อันดับ ได้แก่ - อาจารย์ผสอนมีความสามารถใช้สือการสอนได้เป็ นอย่างดี ู้ - สือทีอาจารย์ผสอนนํามาใช้มีความทันสมัยเหมาะสมกับรายวิชา ู้ - สือทีมีอยูชวยให้ผเู้ รียนเรียนได้เร็วขึน ่่ ส่วนความคิดเห็นของนิ สิตในเชิงลบ ได้แก่ สือการสอนและอุปกรณ์การศึกษาไม่มี ความเพียงพอและทันสมัย 7. ข้อเสนอแนะของนิ สิตด้านกิจกรรมนิ สต ในเชิงบวกนิ สิตมีความเห็นว่า ได้แก่ ิ - ควรส่งเสริมกิจกรรมนิ สิตให้มีความหลากหลายประเภท - ผูบริหารคณาจารย์ควรให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมของนิ สิต รวมทังร่วมการ ้ วางแผน การสนับสนุ นการมีสวนร่วมในการจัดกิจกรรม ่ ส่วนในเชิงลบ คือ ควรมีทีทํางานของคณะกรรมการนิ สิตเป็ นสัดส่วน
  • 4. (ง) กิตติกรรมประกาศ การวิจยนี ได้รบการสนับสนุ นจากผูบริหารทีเล็งเห็นความสําคัญในการวิจยเพือทีจะ ั ั ้ ั พัฒนาการจัดการศึกษาของวิทยาลัยสงฆ์เลย รวมทังได้รบความกรุณาให้คาแนะนําในการวิจย ั ํ ั จากนิ สตทังหลายจนทําให้การวิจยฉบับนี สาเร็จลงได้ดวยความสมบูรณ์ ิ ั ํ ้ ขอขอบคุณประชากรกลุมตัวอย่าง ทีให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามทีเป็ นผู้ ่ มีสวนทําให้งานวิจยครังนี สมบูรณ์ทีสุด ่ ั และขอขอบคุณผูบริหารทีสนับสนุ นการวิจยในครังนี ้ ั ผูวิจย ้ ั
  • 5. (จ) สารบัญ บทคัดย่อ (ก) กิตติกรรมประกาศ (ง) สารบัญ (จ) สารบัญตาราง (ช) สารบัญกราฟ (ซ) บทที 1 บทนํา............................................................................................................ 1 1.1 ความเป็ นมาของปั ญหา..................................................................................... 1 1.2 วัตถุประสงค์การวิจย......................................................................................... ั 2 1.3 สมมติฐานการวิจย............................................................................................. ั 2 1.4 ขอบเขตการศึกษา.............................................................................................. 2 1.5 นิ ยามศัพท์เฉพาะ.................................................................................................. 3 1.6 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รบ.................................................................................... ั 4 บทที 2 แนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจยทีเกียวข้อง...................................................... ั 5 . แนวคิดการก่อตังวิทยาลับสงฆ์เลย.................................................................. 5 . แนวคิดการจัดการเรียนการสอน..................................................................... 7 2.3 แนวคิดเกียวกับบัณฑิตทีพึงประสงค์................................................................ 29 . งานวิจยทีเกียวข้อง..................................................................................... ั 31 . กรอบแนวคิดทีใช้ในการวิจย....................................................................... ั 36 บทที 3 วิธีดาเนินการวิจย........................................................................................... ํ ั 37 3.1 ตัวแปรในการวิจย.............................................................................................. ั 37 3.2 ประชากรและกลุมตัวอย่าง................................................................................ ่ 37 3.3 เครืองมือในการวิจย.......................................................................................... ั 37 . วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................. 38 . การวิเคราะห์ขอมูลและสถิติทีใช้ในการวิจย..................................................... ้ ั 38 บทที 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล.................................................................................... ้ 40 4.1 ผลการวิเคราะห์ขอมูลทัวไปของผูตอบแบบสอบถาม......................................... ้ ้ 40 4.2 ผลการวิเคราะห์ขอมูลปั ญหาของกลุมประชากร................................................ ้ ่ 43 4.3 ผลการวิเคราะห์ขอมูลความคิดเห็นของนิ สิต 6 ด้าน.......................................... ้ 45 1. ความคิดเห็นด้านอาจารย์ผสอน................................................................. ู้ 45
  • 6. (ฉ) สารบัญ (ต่อ) เรือง หน้า 2. ความคิดเห็นด้านหลักสูตร.......................................................................... 46 3. ความคิดเห็นด้านระบบการจัดการศึกษา.................................................... 47 4. ความคิดเห็นด้านวิธีการสอน...................................................................... 48 5. ความคิดเห็นด้านอาคารสถานที.................................................................. 49 6. ความคิดเห็นด้านสือการเรียนการสอน....................................................... 50 4.4 ข้อเสนอแนะเพิมเติมของนิ สตด้านต่างๆ.......................................................... 51 ิ 4.5 ผลการทดสอบสมมติฐาน................................................................................. 51 บทที 5 การอภิปรายผล 54 ....................................................................................................... 5.1 บทสรุป............................................................................................................... 54 5.2 อภิปรายผล........................................................................................................ 56 5.3 ข้อเสนอแนะ....................................................................................................... 58 บรรณานุกรม……………………………………………………………………………….… 59 ภาคผนวก.................................................................................................................................. 62 ภาคผนวก. ก. แบบสอบถามการวิจย........................................................................... 62 ั ภาคผนวก. ข.ประวัติผวจย............................................................................................ 69 ู้ ิ ั
  • 7. (ช) สารบัญตาราง ตารางที หน้า 2.1 เปรียบเทียบแนวคิดเกียวกับหลักการสอนของนักศึกษา 24 . แสดงสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ้ . แสดงพรรษาของผูตอบแบบสอบถาม ้ . แสดงชันปี ทีศึกษาของผูตอบแบบสอบถาม ้ . แสดงเกรดเฉลียผูตอบแบบสอบถาม ้ . แสดงสาขาวิชาของผูตอบแบบสอบถาม ้ . แสดงแหล่งทีมาของทุนในการศึกษาของนิ สต ิ . แสดงการฉันภัตตาหารเพล . แสดงวิธีการเดินทางไป-กลับในการเรียน . แสดงระยะเวลาทีใช้ในการเดินทาง . แสดงการทํางานทีได้รบมอบหมายั . แสดงค่าเฉลีย ส่วนเบียงเบนมาตรฐานและความหมายของปั ญหาการ เดินทางนิ สิต . แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็น ของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านอาจารย์ผสอน ู้ . แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลียและค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็นของ นิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านหลักสูตร . แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลียและค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็นของ นิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านระบบการจัดการศึกษา . แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็น ของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านวิธีการสอน . แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็น ของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านอาคารสถานที . แสดงจํานวน ร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบียงเบนมาตรฐานในความคิดเห็น ของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้านสือการเรียนการสอน . แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลียระดับความคิดเห็นของนิ สตทีมีสถานภาพ ิ แตกต่างกันทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนในด้านต่างๆ . แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลียระดับความคิดเห็นของนิ สตทีมีพรรษาแตกต่าง ิ กันทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนในด้านต่างๆ
  • 8. (ซ) สารบัญภาพ ภาพที หน้า . แสดงความหมายของการเรียนรู ้ . แสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการเรียนการสอน . แสดงองค์ประกอบของระบบทีสมบูรณ์ . แสดงระบบการเรียนการสอน . ระบบการเรียนการสอนของเกลเซอร์ (Glaser, ) . ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลคและอีลาย (Gerlach and Dly) ั . แสดงรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนการสอนของกรมวิชาการ และเขต การศึกษา .8 กรอบแนวคิดทีใช้ในการวิจย ั 36
  • 9. บทที ปฐมบท 1.1 ความเป็ นมาของปัญหา วิทยาลัยสงฆ์เลยเป็ นสถาบันการศึกษาของคณะสงฆ์ไทยแห่งหนึ ง เป็ นส่วนงานหนึ ง ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ก่อตังขึนเพือการขยายโอกาสทางการศึกษาแก่พระภิกษุ สามเณรในเขตการปกครองคณะสงฆ์ ภาค เพือส่งเสริมการศึกษาแก่บุคลากรทางศาสนา มีประวัติความเป็ นมาโดยสังเขปคือเมือ พ.ศ.2539 สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุ มติให้วิทยาเขตขอนแก่น จัดตัง "ศูนย์การศึกษาวัดศรีวิชย ั ั วนาราม" ณ วัดศรีวิชยวนาราม ตําบลกุดป่ อง อําเภอเมือง จังหวัดเลยโดยมีพระสุนทรปริยติเมธี ั ั เป็ น "ผูชวยอธิการบดี" ทําหน้าทีบริหารประจําศูนย์การศึกษา ต่อมาเมือ พ.ศ.2541 ได้มีการ ้่ ประชุมสภามหาวิทยาลัยครังที 8/2541 มีมติให้ยกฐานะศูนย์การศึกษาเลยเป็ น “วิทยาลัยสงฆ์ เลย” ปั จจุบนได้เปิ ดการเรียนการสอนหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ๓ คณะ ได้แก่ คณะพุทธ ั ศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะครุ ศ าสตร์ สาขาวิ ชาการอสนภาษาไทย และคณะ สังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง นอกจากนี ยงเปิ ดการเรียนการสอน ั หลักสูตรประกาศนี ยบัตร คื อ หลักสูต รประกาศนี ยบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์(ปบ.ส.) ปั จจุบันวิทยาลัยสงฆ์เลยได้ยายสถานศึกษาจากวัด ศรีวิ ชย ้ ั มาอยู่ที เลขที หมู่ที บ้านท่าบุ่ง ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีวตถุประสงค์ในการก่อตัง ดังนี 1 ั 1. เพือส่งเสริมการศึกษาด้านพระพุทธศาสนา 2. เพือการเผยแผ่พระพุทธศาสนา 3. เพือเป็ นแหล่งการศึกษาพระไตรปิ ฎกและวิชาชันสูงสําหรับพระภิกษุ สามเณรและ คฤหัสถ์ในภูมิภาคนี 4. เพือขยายโอกาสทางการศึกษาแก่พระภิกษุ สามเณร 5. เพือสนองนโยบายในการกระจายโอกาสบางการศึกษา และเปิ ดโอกาสให้บุคลากร ในท้องถิน ได้มีสวนร่วมดําเนิ นการจัดการศึกษา ่ ในการจัดการเรียนการสอนนัน วิทยาลัยสงฆ์เลยมีพนธกิจทีสําคัญในการผลิตบัณฑิต ั ให้มีความเป็ นเลิศทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนา บัณฑิตทีสําเร็จการศึกษามีความเป็ นผูนํา ้ ทางจิต และปั ญญา มีศรัทธาทีจะอุทิศตนเพือพระพุทธศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ เพือส่วนรวม การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม ด้วยการสร้างความรู ้ ั 1 วิทยาลัยสงฆ์เลย, วัตถุประสงค์การก่อตัง, http://www.mcu.ac.th/site/college/coll_index.php. สืบค้นเมือวันที กันยายน .
  • 10. ความเข้าใจในหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาแก่ประชาชน และสนับสนุ นงานกิจการคณะสงฆ์ เสริ ม สร้า งและพัฒ นาแหล่ ง เรี ย นรูด ้า นการทํา นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวัฒ นธรรม และการอนุ รัก ษ์ ้ สิงแวดล้อ ม สนั บสนุ น ให้มี ก ารนํ าภูมิ ปัญญาไทยและภูมิ ปัญญาท้องถิ นมาเป็ นรากฐานการ พัฒนา ส่งเสริมการวิจยและพัฒนางานวิชาการ เน้นการพัฒนาองค์ความรูในพระไตรปิ ฎก การ ั ้ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และพัฒนาความรูทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้แก้ปัญหา ้ ด้านศีลธรรมและจริยธรรมของสังคม เพือให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ในการจัดตังดังกล่าว วิทยาลัยสงฆ์เลยได้จดการศึกษา ั โดยการพยายามทีจะผลิต บัณฑิ ตที มีคุ ณภาพออกไปรับใช้สังคม ในขณะเดีย วกันก็ เพือผลิต บุคลากรทางศาสนาทีมีคุณภาพ มีความตระหนักถึงบทบาทหน้าทีของตนในฐานะผูนําทางจิต ้ วิญญาณ แต่การทีผลิตพระบัณฑิตทีมีคุณภาพดังกล่าว จําเป็ นทีต้องทราบปั ญหาและอุปสรรค ในจัด การศึ ก ษาเล่าเรีย น ดัง นั น วิ ทยาลัย สงฆ์เ ลยจึ ง ได้ดําเนิ น การวิ จัย สํารวจปั ญหาและ อุปสรรคของนิ สิตเพือทราบถึงข้อมูลทีจะนําไปสู่การกําหนดแนวทางในการจัดการศึกษาต่อไป ปั ญหาทีจะหยิบยกมาเป็ นประเด็น หลักทีจะค้นหาคําตอบให้ไ ด้ก็คือ นิ สิตคิด อย่างไรในเรือง เหล่านี คือ ด้านอาจารย์ผสอน ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการศึกษา ด้านวิธีการสอน ด้าน ู้ อาคารสถานที และด้านสือการเรียนการสอน 1.2 วัตถุประสงค์การวิจย ั 1.2.1 เพือทราบถึงปั ญหาของนิ สิต และการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย 1.2.2 เพือทราบถึงระดับความคิด เห็นของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย 1.2.3 เพือประมวลปั ญหาและข้อเสนอแนะของผูทีเกียวข้องในการจัดการเรียนการ ้ สอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย 1.3 สมมติฐานการวิจย ั 1.3.1 นิ สิตทีมีสถานภาพแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลยไม่แตกต่างกัน 1.3.2 นิ สิตที มีพรรษาแตกต่ างกัน มี ความคิด เห็น ต่อการจัด การเรีย นการสอนของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลยไม่แตกต่างกัน 1.4 ขอบเขตการศึกษา 1.4.1 ขอบเขตด้านประชากร ประชากรทีใช้ในการวิจัยครังนี คือ นิ สิตทีกําลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ภาคการศึกษาที 2/2554
  • 11. 1.4.2 ขอบเขตด้านเนื อหา การศึกษาครังนี ผวิจยกําหนดศึกษาเนื อหาการจัดการศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ู้ ั ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ในด้านต่างๆ 6 ด้าน คือ 1. ด้านอาจารย์ผสอน ู้ 2. ด้านหลักสูตร 3. ด้านการจัดการศึกษา 4. ด้านวิธีการสอน 5. ด้านอาคารสถานที 6. ด้านสือการเรียนการสอน 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ ความคิดเห็น หมายถึง การแสดงออกถึงความรูสึก ความเข้าใจและการรับรูของ ้ ้ พระนิ สิตต่อการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ในด้านต่างๆ ทัง 6 ด้าน คือ ด้านอาจารย์ผสอน ด้านหลักสูตร ด้านระบบการจัดการศึกษา ด้าน ู้ วิธีการสอน ด้านอาคารสถานที ด้านสือการเรียนการสอน นิสิต หมายถึง นิ สิตของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ทีลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาที 2/2554 สถานภาพ หมายถึง ลักษณะของเพศบรรพชิต จําแนกเป็ นพระภิกษุ และสามเณร อาจารย์ผู ้ส อน หมายถึ ง อาจารย์ป ระจํ า ผู้ที บอกในรายวิ ช าที เปิ ดสอนของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย หลักสูต ร หมายถึง แผนการจัด การศึ กษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย การจัดการศึก ษา หมายถึ ง การจัดและดําเนิ นการเกียวกับการจัด การศึ กษาของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ใน 6 ด้าน คือ ด้านอาจารย์ผูสอน ้ ด้านหลักสูต ร ด้านระบบการจัดการศึกษา ด้านวิธีก ารสอน ด้านอาคารสถานที ด้านสือการ เรียนการสอน วิธีการสอน หมายถึง วิธีการทีช่วยให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรูได้โดยอาศัยความสามารถ ้ ของผูสอนและการใช้เทคนิ คต่างๆ ในการถ่ายทอดเนื อหาสาระให้น่าสนใจ ้ อาคารสถานที หมายถึง สถานทีทีใช้จดการศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย ั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย สือการเรียนการสอน หมายถึง สือการสอนเป็ นเครืองมือช่วยสือความหมายใดๆ ก็ ตามทีจัดโดยอาจารย์และนิ สิต เพือเสริมการเรียนรู ้ เครืองมือการสอนทุกชนิ ดเป็ นสือการสอน เช่น หนังสือในห้องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ ทรัพยากรจากชุมชน เป็ นต้น
  • 12. 1.6 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รบ ั 1.6.1 ได้ทราบถึงสภาพการจัดการศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย 1.6.2 ได้ทราบถึ งระดับความคิ ด เห็นของนิ สิตที มีต่ อการจัด การเรีย นการสอนของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย 1.6.3 ได้รบสารสนเทศทีเกียวข้องกับปั ญหาและข้อเสนอแนะของผูทีเกียวข้องในการ ั ้ จัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
  • 13. บทที แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจยทีเกียวข้อง ั ในการวิจยเรือง “สภาพปั ญหาและความคิดเห็นของนิ สิตทีมีต่อการจัดการเรียนการสอน ั ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย” ผูวิจัยได้ทําการศึกษาแนวคิ ด ้ ทฤษฎีและผลงานวิจยทีเกียวข้อง ดังนี ั . แนวคิดการก่อตังวิทยาลับสงฆ์เลย . แนวคิดการจัดการเรียนการสอน 2.3 แนวคิดเกียวกับบัณฑิตทีพึงประสงค์ . งานวิจยทีเกียวข้อง ั . กรอบแนวคิดทีใช้ในการวิจย ั . แนวคิดการก่อตังวิทยาลัยสงฆ์เลย วิทยาลัยสงฆ์เลยเป็ นส่วนงานสังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต ขอนแก่น ตังอยูเลขที เลขที ่ หมู่ที บ้านท่าบุ่ง ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย มีประวัติการก่อตังโดยย่อคือ เมือ พ.ศ. พระสุนทรปริยติเมธี(พรหมา จนฺ ทโสภโณ) สมณ ั ศัก ดิ ในขณะนั น ซึ งเป็ นเจ้าคณะจัง หวัด เลยร่ว มกับพระสัง ฆาธิ ก ารในเขตจัง หวัด เลย ได้เสนอ โครงการก่อตังวิทยาลัยสงฆ์เลยต่อมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น และได้รบ ั อนุ มัติ ให้ก่อ ตังศูน ย์ก ารศึก ษาเลย สัง กัด วิทยาเขตขอนแก่ น ต่อ มาเมื อวันที สิง หาคม พ.ศ. ได้รบการอนุ มัติจ ากสภามหาวิ ทยาลัย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ทยาลัย ให้ยกฐานะศูน ย์ ั การศึกษาเลยเป็ นวิทยาลัยสงฆ์เลย วัตถุประสงค์ในการก่อตังวิทยาลัยสงฆ์เลย เพือตอบสนองความต้องการของศึ กษาของพระภิก ษุ สามเณร เพือสนองนโยบายของ รัฐบาลในการกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ทวถึงแก่ผดอยโอกาส เพือเปิ ดโอกาสให้บุคลากรใน ั ู้ ้ ท้องถินได้มีสวนร่วมดําเนิ นการศึกษาระดับบาลีอุดมศึกษาให้เกิดประโยชน์แก่พระภิกษุ สามเณรใน ่ ชนบท และสามารถนําความรูดังกล่าวไปประยุก ต์ใช้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้อ ย่างพึง ้ ประสงค์ และมีประสิทธิภาพ ดังนี . เพื อพัฒ นาทรัพ ยากรบุ ค คลทางพระพุ ท ธศาสนาในท้อ งถิ น ให้มี คุ ณ ธรรม มี จริยธรรม มีความสามารถและมีศกยภาพในการบริหารกิจการคณะสงฆ์และสังคม ั . เพือขยายโอกาสให้พระสังฆาธิการ ครูสอนพระปริยติธรรม และ พระภิกษุ สามเณรที ั สนองงานคณะสงฆ์ในท้องถิน ได้ศึกษาวิชาการด้านพระพุทธศาสนาในระดับอุดมศึกษา . เพือผลิตบัณฑิตทีมีความรู ้ ความสามารถด้านพระพุทธศาสนา . เพือเป็ นแหล่งบริการด้านพระพุทธศาสนา ทํานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม ํ
  • 14. 6 ปั จจุบนทีวิทยาลัยสงฆ์เลยได้เปิ ดหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน ๔ สาขาวิชา คือ ั 1. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย 2. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 3. สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง ปั จจุบนมีโครงการหลักสูตรประกาศนี ยบัตร คือ ั โครงการหลักสูตรประกาศนี ยบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ปบ.ส.) โดยมีพนธกิจตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในด้านต่างๆ ั ดังนี ด้านการผลิตบัณฑิต ผลิต และพัฒนาบัณฑิ ต ให้มี คุ ณลัก ษณะอัน พึงประสงค์ ๙ ประการ คื อ มี ปฏิปทาน่ า เลือมใส ใฝ่ รใฝ่ คิด เป็ นผูนําด้านจิตใจและปั ญญา มีความสามารถในการแก้ปัญหา มีศรัทธาอุทิศ ู้ ้ ตนเพือพระพุทธศาสนา รูจกเสียสละเพือส่วนรวม รูเ้ ท่าทันความเปลียนแปลงของสังคม มีโลกทัศน์ ้ั กว้างไกล มีศกยภาพทีจะพัฒนาตนเอง ให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม ั ด้านการวิจยและพัฒนา ั การวิจยและค้นคว้า เพือสร้างองค์ความรูควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน เน้น ั ้ การพัฒนาองค์ความรูในพระไตรปิ ฎก โดยวิธีสหวิทยาการแล้วนําองค์ความรูทีค้นพบมาประยุกต์ใช้ ้ ้ แก้ปั ญหา ศี ล ธรรม และจริ ย ธรรมของสั ง คม รวมทั งพัฒ นา คุ ณ ภาพงานวิ ช าการด้า น พระพุทธศาสนา ด้านการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม ั ส่ ง เสริ ม พระพุ ท ธศาสนาและบริ ก ารวิ ช าการแก่ สัง คม ตามปณิ ธ านการจั ด ตั ง มหาวิทยาลัย ด้วยการปรับปรุงกิจกรรมต่างๆ ให้ประสานสอดคล้อง เอือต่อการส่งเสริม สนับสนุ น กิจการคณะสงฆ์ สร้างความรู ้ ความเข้าใจหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา สร้างจิตสํานึ ก ด้าน คุ ณธรรม จริ ย ธรรมแก่ ประชาชน จัด ประชุ ม สัม มนา และฝึ ก อบรม เพื อพัฒนาพระสงฆ์และ บุคลากรทางศาสนา ให้มีศกยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่หลักคําสอน และเป็ นแกนหลักในการ ั พัฒนาจิตใจในวงกว้าง ด้านการทํานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ํ เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรูดานการทํานุ บํารุ งศิ ลปวัฒนธรรม ให้เอือ ต่ อ ้ ้ การศึกษา เพือสร้างจิตสํานึ กและความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย สนับสนุ นให้มีการนําภูมิปัญญา ท้องถิน มาเป็ นรากฐานของการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ เปาประสงค์ของวิทยาลัยสงฆ์เลย ้ . จัด การศึ ก ษา ส่ง เสริม และพัฒนาวิ ชาการทางพระพุทธศาสนาประยุก ต์เข้ากับ ศาสตร์ต่างๆ เพือการผลิตและพัฒนาคุณภาพบัณฑิ ต และทรัพยากรมนุ ษย์ให้เป็ นทียอมรับของ สังคม
  • 15. 7 . เพือให้มีโครงสร้างที กะทัดรัดและมีระบบการบริหารทีมี ความคล่องตัว สามารถ ดําเนิ นงานทุกด้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล โป่ งใส ตรวจสอบได้ . เพือให้บุคลากรทุกระดับในวิทยาเขตขอนแก่น เป็ นผูมีความรูความสามารถให้ทัน ้ ้ ต่อความเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิงแวดล้อม และเป็ นผูชีนําทางวิชาการด้าน ้ พระพุทธศาสนา . เพือให้สามารถปฏิบัติภารกิจหลักในด้านการบริหาร การจัดการศึกษา การวิจัย การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม และการทํานุ บารุงศิลปวัฒนธรรมได้ตาม ั ํ เปาหมาย ้ . เพือพัฒนาวิ ทยาลัย สงฆ์เลยให้เป็ นศูนย์กลางการศึ กษาด้านพุทธศาสนา สะสม อนุ รกษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาท้อ งถิน พัฒนาองค์ความรูดานศิลปะและวัฒนธรรม เพือมุ่งสู่การ ั ้ ้ เป็ นศูนย์ก ลางการพัฒนาองค์ค วามรู ้ และเป็ นผูนํ าด้านการวิจัย ด้านพระพุทธศาสนา ปรัชญา ้ ศิลปะและวัฒนธรรมในภูมิภาคนี . เพือให้สามารถระดมทุ น จากแหล่ง ต่ างๆ ให้มี เพีย งพอต่ อ การจัด หาและพัฒนา อาคารสถานที บุ ค ลากร ครุ ภัณฑ์ทางการศึ ก ษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ภาคเอกชน ชุมชนและสังคมมีสวนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษาของคณะสงฆ์เพิมมากขึน ่ 2.2 แนวคิดเกียวกับการจัดการเรียนการสอน การเรียนการสอน เป็ นคําทีคุนเคยกันดีในแวดวงการการศึกษา เป็ นคําทีมาจากคําว่า ้ “การเรียน” และ “การสอน” เนื องมาจากคําทังสองมีกระบวนการทีสัมพันธ์กัน เกียวเนื องกัน จนกระทังไม่ สามารถแยกกันอยู่ได้ และกระบวนการทังสองเกี ยวข้อ งกับผูมีบทบาทสําคัญของ ้ การศึกษา คือ บทบาทของผูสอนและผูเ้ รียน ดังนันในฐานะของผูสอนซึงถือว่าเป็ นบทบาทในการ ้ ้ ทีจะส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดความเจริญเติบโต มีความงอกงามทังทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม จึงควรมีความรู ้ ความเข้าใจเกียวกับความหมาย องค์ประกอบ หลักการสําคัญและ ลักษณะทีดี ของการสอนการเรียนรู ้ ตลอดจนความสัมพัน ธ์ระหว่างหลักการเรียนรูและหลักการ ้ สอนเพือจะสามารถนําไปปฏิบติจนเกิดผลดี และมีประสิทธิภาพต่อการจัดการศึกษาต่อไป ั 2.2.1 ความหมายของการเรียน 1 พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ได้ให้ความหมายของการเรียนไว้ว่า “เป็ นการศึ ก ษาเพื อให้เ จนใจ จํา ได้ ให้เ กิ ด ความรู ้ ความเข้า ใจหรื อ ความชํา นาญ” นั นเป็ น ความหมายโดยทัวไป ซึงการเรียนสามารถเกิดขึนได้ทุกเวลา และทุกสถานที เกิดขึนได้ตลอดชีวิต เกิดขึนทังทีตังใจและบังเอิญ 1 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ. 2525. (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์อกษรเจริญทัศน์,2526) ั หน้า 690
  • 16. 8 ความหมายของการศึกษาในทัศนะของท่านพุทธทาส 2 ให้แนวความคิด ไว้ว่า “การ เรีย นเป็ นการพัฒนาวิ ญญาณ ให้สามารถรับรู ้ สิงต่ าง ๆ ได้ต รงตามความเป็ นไปที แท้จ ริง ของ ธรรมชาติ โดยไม่มีการปรับแต่งหรือปราศจากอวิชชา” สวัสดิ จิตต์จนะ3 ได้ให้ความหมายของการเรียนว่า “เป็ นปฏิกิริยาทีมีต่อประสบการณ์ ซึงจะแสดงออกให้เห็นในลักษณะของพฤติกรรมทีเปลียนแปลงไป” นอกจากนันยังกล่าวว่า การ เรียนมีความหมายแตกต่างไปจากการเรียนรู ้ กล่าวคือ การเรียนเป็ นการกระทํา ส่วนการเรียนรู ้ เป็ นผลของการกระทํา การเรียนจึงเกิดขึนก่อน และการเรียนรูจะเกิดขึนได้ในโอกาสต่อมา ้ สุพิน บุญชูวงศ์4 ได้แสดงความคิดเห็นไว้วา “การเรียน” เป็ นคําสัน ๆ ของคําว่า “การ ่ เรียนรู”้ มาจากคําภาษาอังกฤษว่า learning ซึงเป็ นคําทีใช้ในศาสตร์ทางจิตวิทยาเป็ นกระบวนการที บุคคลมีการเปลียนแปลงพฤติกรรมอันเนื องมาจากประสบการณ์ ซึงเป็ นความคิดทีสอดคล้องกับ อาภรณ์ ใจเทียง5 ทีกล่าวว่า การเรียนรู ้ เป็ นคําทีใช้ ในศาสตร์ทางจิตวิทยา เมือนํามาใช้ค่กบการสอน จะเรียกสัน ๆ ว่า “การเรียน” ู ั ดังนัน การเรียน หรือ การเรียนรู ้ จึงมีความหมายทีแยกกันไม่ได้ เนื องจากเป็ นเหตุ เป็ นผลต่อกัน ซึงจะนําความคิดเห็นของนักการศึกษาทีให้ความหมายไว้มานําเสนออีก ดังนี คาเตอร์ วี. กู๊ด (Cater V. Good) 6 ได้ให้ความหมายของการเรียนรูไว้ว่า เป็ นการ ้ เปลียนปฏิกิริยาตอบสนอง หรือพฤติกรรม อันเนื องมาจากบุคคลได้รบประสบการณ์ ในขณะทีมี ั สติสมปชัญญะสมบูรณ์ แต่บางครังก็อาจเป็ นประสบการณ์ทีเกิดขึนโดยไม่รตว ั ู้ ั 7 กันยา สุวรรณแสง ให้ความหมายไว้วา “การเรียนรู ้ คือ กระบวนการทีประสบการณ์ ่ ตรง และ ประสบการณ์ทางอ้อม กระทําในอินทรีย ์ เกิดการเปลียนแปลงพฤติกรรมทีค่อนข้างถาวร แต่ไม่รวมถึงการเปลียนแปลงพฤติกรรมอันเนื องมาจากเหตุอืน ๆ เช่น ความเจ็บป่ วย ฤทธิ ยาและ สารเคมี ฯลฯ อาภรณ์ ใจเทียง8 ให้ความหมายว่า “การเรีย นรู ้ คือกระบวนการที บุคคลเกิ ดการ เปลียนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวร อันเนื องมาจากประสบการณ์หรือการฝึ กหัด” โดยสามารถแสดง ภาพได้ ดังนี 2 สวัสดิ จิตต์จนะ.หลักการสอน.(พิษณุโลก:ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม,2537) หน้า5 3 เรืองเดียวกัน หน้า 5 4 ่ สุพน บุญชูวงศ์. หลักการสอน. (กรุงเทพมหานคร : ฝายเอกสารตํารา สถาบันราชภัฎสวนดุสต,2539) หน้า 2 ิ ิ 5 อาภรณ์ ใจเทียง. หลักการสอน. (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2537 )หน้า 13 6 อภิวนท์ ชาญวิชย. หลักการสอน.(ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม,2540) หน้า3 ั ั 7 อาภรณ์ ใจเทียง. เรืองเดียวกัน,หน้า 13 8 อาภรณ์ ใจเทียง. เรืองเดียวกัน,หน้า 7
  • 17. 9 ผูเ้ รียนได้รบ ั มีการเปลียนแปลง ประสบการณ์หรือ เกิด พฤติกรรมทีถาวร การฝึ กหัด การเรียนรู้ ภาพที 2.1 แสดงความหมายของการเรียนรู ้ จากความหมายของการเรียนรูทีกล่าวมาข้างต้น จึงพอสรุปได้วา “การเรียนเป็ นความ ้ ่ พยายามของบุค คลหรือผูเ้ รีย นที จะตอบสนองสิงแวดล้อม หรือ ประสบการณ์ทีได้จ นกระทังเกิ ด กระบวนการเปลียนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวร ซึงเรียกว่า การเรียนรู”้ 2.2.2 ความหมายของการสอน การสอนเป็ นกระบวนการทีสลับซับซ้อนมากกว่าการเป็ นเพียง “กิจกรรมหรือบทบาท ของผูสอน” การเป็ นภาระกิจทีต้องใช้ศาสตร์และศิลป์ จึงจะก่อให้เกิดประสบการณ์และสิงแวดล้อมที ้ มีความหมายต่อการเปลียนแปลงพฤติกรรมของผูเ้ รียน 9 พจนานุ ก รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ให้ความหมายของการสอนไว้ว่า “เป็ นการบอกวิชาความรู ้ การแสดงให้เข้าใจโดยวิธีบอกหรือทําให้เห็นเป็ นตัวอย่าง เพือให้รดีรชว” ู้ ู้ ั 10 พุท ธทาสภิ ก ขุ ได้ย ําให้เ ห็ น หน้า ที ของการสอนไว้ว่า “เป็ นการนํ า วิ ญญาณ ซึ ง หมายถึง การนําทางให้ผเู้ รียนมีความรูทีตรงกับความจริงของธรรมชาติ เห็นความเปลียนแปลงของ ้ ธรรมชาติ เพือการดํารงชีวิตทีปราศจากทุกข์ คาร์เตอร์ วี.กู๊ด 11 ให้ความหมายของการสอนไว้ ประการ ดังนี . การสอนในความหมายกว้าง ๆ คื อ การจัด สภาพการณ์ สถานการณ์ หรือจัด กิจกรรมทีจะช่วยให้การเรียนรูของผูเ้ รียนดําเนิ นไปอย่างราบรืน ซึงรวมทังกิจกรรมทีจัดอย่างมี ้ ระเบียบ แบบแผนและกิจกรรมทีจัดขึนเพือให้เกิดการเรียนรูอย่างไม่มีพิธีรีตอง ้ . การสอนในความหมายแคบ คื อ การอบรม สังสอนผูเ้ รียนในสถานการศึ กษา ทัวไป ธีระ รุญเจริญ12 ให้ความหมายของการสอนไว้ว่า การสอนหมายถึงกระบวนการที ผูสอนและผูเ้ รียนร่วมกันสร้างสิงแวดล้อมทางการเรียนรู ้ รวมทังการสร้างค่านิ ยม และความเชือ ้ ต่าง ๆ ในอันทีจะช่วยให้ผเู้ รียนบรรลุเปาหมายทีตังไว้ ้ 9 ราชบัณฑิตยสถาน. เรืองเดียวกัน, หน้า 784 10 สวัสดิ จิตต์จนะ.เรืองเดียวกัน, หน้า 7 11 กาญจนา บุญรมย์.หลักการสอน.(อุบลราชธานี : คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยครูอุบลราชธานี,2536) หน้า 6
  • 18. 10 อาภรณ์ ใจเทียง13 ให้ความหมายไว้ว่า การสอนคือกระบวนการปฏิสมพันธ์ระหว่าง ั ผูสอนกับผูเ้ รียน เพือทําให้ผูเ้ รียนเกิดการเปลียนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ทีกําหนด ซึง ้ ต้องอาศัยทังศาสตร์และศิลป์ ของผูสอน ้ 14 สุ พิ น บุ ญ ชูว งศ์ ให้ค วามหมายว่า การสอนเป็ นกระบวนการที ทํา หน้า ที เป็ น เครืองมือช่วยให้คนได้มีประสบการณ์ทีดี มีการเปลียนแปลงในทางทีดีขน จนสามารถดํารงชีพได้ ึ อย่างราบรืน เป็ นประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม สรุปแล้วการสอนคือ “กระบวนการทีผูสอนต้องใช้ความสามารถในการจัดประสบการณ์ ้ หรือสร้างสิงแวดล้อม ให้ผเู้ รียนเกิดการเปลียนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ทีกําหนด” 2.2.3 องค์ประกอบของการเรียนการสอน การเรียนการสอนเป็ นกระบวนการของผูเ้ รียนและผูสอน ทีต้องเกียวข้องสัมพันธ์กัน ้ จึงต้องอาศัยองค์ประกอบหลายด้าน ซึงนักการศึกษาหลายท่านให้ทรรศนะไว้ สุพิน บุ ญชูว งศ์15 กล่าวถึ ง องค์ประกอบของการสอนไว้ ประการ ได้แก่ ครู นักเรียนและสิงทีสอน สรุปได้ดงนี ั . ครู เป็ นองค์ประกอบที ขาดไม่ ไ ด้ บุ ค ลิก ภาพและความสามารถของผูสอนที มี ้ อิทธิพลต่อการเรียนรูของผูเ้ รียน ผูสอนควรมีบุคลิกภาพทีดีและรูจกเลือกใช้วธีสอนทีเหมาะสมเพือ ้ ้ ้ั ิ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนประสบผลสําเร็จในการเรียนรู ้ . นั ก เรีย นหรือ ผูเรีย น เป็ นองค์ประกอบที สําคัญเท่ากับผูสอน ความสําเร็จ ใน ้ ้ การศึ กษาเป็ นเปาหมายทีสําคัญของผูเ้ รียน ผูสอนจึง ควรเป็ นผูแนะแนว แนะนํา และจัดมวล ้ ้ ้ ประสบการณ์ให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูได้มากทีสุด ้ . สิงทีจะสอน ได้แก่ เนื อหาวิชาต่าง ๆ ครูจะต้องจัดเนื อหาให้มีความสัมพันธ์กัน น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย ระดับชนชันและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของการเรียนการสอน ลําพอง บุญช่วย16 กล่าวถึงองค์ประกอบของการเรียนการสอนไว้ ประการพร้อมทัง แสดงแผนภูมิประกอบไว้ดงนี ั . ครูผสอน ู้ . ผูเ้ รียน . หลักสูตร . วิธีสอน . วัตถุประสงค์ของการเรียน . สือการสอน 12 ธีระ รุญเจริญ. การเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช,2525) หน้า 3 13 อาภรณ์ ใจเทียง. เรืองเดียวกัน,หน้า 2 14 สุพน บุญชูวงศ์. เรืองเดียวกัน,หน้า 3 ิ 15 เรืองเดียวกัน,หน้า 4 16 ลําพอง บุญช่วย. การสอนเชิ งระบบ. (ปทุมธานี: วิทยาลัยครูเพชรบุรวทยาลังกรณ์, 2530) หน้า 1 ีิ
  • 19. 11 . การประเมินผล ซึงองค์ประกอบเหล่านี จะสัมพันธ์เกียวข้องกัน ดังแสดงในแผนภูมิ วิธีสอน ครู วัตถุประสงค์ การฝึ กประเมิน หลักสู ตร ผู้เรียน สื อการสอน ภาพที 2.2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการเรียนการสอน อาภรณ์ ใจเทียง17 วิเคราะห์และแยกย่อยเป็ นองค์ประกอบของการเรียนการสอนเป็ น 2 ด้าน ได้แก่ . ด้านองค์ประกอบย่อย หมายถึง องค์ประกอบด้านโครงสร้างทีมาประกอบกันเป็ น การสอน อันประกอบด้วย . ครู หรือผูสอนหรือวิทยากร ้ . นักเรียน หรือผูเ้ รียน . หลักสูตร หรือสิงทีจะสอน . องค์ประกอบย่อย หมายถึง องค์ประกอบด้านรายละเอียดของการสอนซึงจะต้อง ประกอบด้วยกระบวนการเหล่านี จึงจะเป็ นการสอนทีสมบูรณ์ ได้แก่ 2.1 การตังจุดประสงค์การสอน 2.2 การกําหนดเนื อหา 2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2.4 การใช้สือการสอน 2.5 การวัดผลและประเมินผล ซึงองค์ประกอบของการเรีย นการสอนทังองค์ประกอบรวมและองค์ประกอบย่อ ยนั น เมื อพิจ ารณาแล้ว จะเห็ น ว่า องค์ประกอบรวมเป็ นส่ว นสร้า งให้เ กิ ด การเรีย นการสอน ส่ว น 17 อาภรณ์ ใจเทียง. เรืองเดียวกัน,หน้า 6
  • 20. 12 องค์ประกอบย่อยเป็ นส่วนเสริมให้การเรียนการสอนมีความสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพและมีคุณค่า แก่ผเู้ รียนมาก นอกจากนัน กฤษณา ศักดิศรี18 ยังกล่าวถึงองค์ประกอบสําคัญของการเรียนการสอน ทีเกียวกับผูเ้ รียนไว้อย่างชัดเจนว่า การเรียนการสอนจะบรรลุเปาหมาย ก็ตองอาศัยองค์ประกอบ ้ ้ จากผูเ้ รียน หรือองค์ประกอบของการเกิด “การเรียนรู”้ ซึงมีหลายประเด็น ดังนี . แรงขับ (Drive) มี ประเภท คือ แรงขับปฐมภูมิ (Primary Drive) เช่น ความหิวกระหาย แรงขับทุติยภูมิ (Secondary Drive) เป็ นเรืองของความต้องการทางจิตใจและ สัง คม เช่น ความวิ ต กกัง วล ความต้อ งการความรัก ความปลอดภัย ฯลฯ แรงขับทังสอง ประเภท มีผลให้เกิดปฏิกิริยา อันจะนําไปสูการเรียนรู ้ ่ . สิ งเร้า (Stimulus) เป็ นตัว การทํ า ให้บุ ค คลมี ป ฏิ กิ ริ ย าโต้ต อบออกมาเป็ น ตัวกําหนดพฤติกรรมว่าจะแสดงอาการตอบสนองออกมาในลักษณะใด สิงเร้าอาจเป็ นเหตุการณ์ หรือวัตถุ และอาจเกิดภายในหรือภายนอกร่างกายก็ได้ เช่น เสียงนาฬิกาปลุกเร้าให้ตืน กําหนดวัน สอบเร้าให้เตรียมตัวสอบ . อาการตอบสนอง (Response) คื อ พฤติ ก รรมที แสดงออกมาเมื อได้รับการ กระตุนจากสิงเร้า หรือพูดว่า คือผลทางพฤติกรรมของสิงเร้า เป็ นการกระทําของร่างกายและอาจ ้ เป็ นได้ชดหรือไม่ชดก็ได้ ซึงมักจะเกิดตามหลังสิงเร้าเสมอ ั ั . สิงเสริมแรง (Reinforcement) คือสิงทีมาเพิมกําลังให้เกิดการเชือมโยงระหว่างสิง เร้ากับอาการตอบสนอง เช่นรางวัล การทําโทษ ซึงมีผลต่อการเรียนรูมาก อาจแบ่งสิงเสริมแรงออก ้ ได้เป็ น ประเภท คือ . สิงเสริมแรงปฐมภูมิ เป็ นสิงเสริมแรงทีเกิดขึนตามธรรมชาติและบําบัดความ ต้องการ หรือลดแรงขับโดยตรง เช่น อาหารเป็ นสิงเสริมแรงแก่บุคคลทีกําลังหิว . สิงเสริมแรงทุติยภูมิ เช่น เงิน ชือเสียง เมือพิจารณาจากองค์ประกอบของการเกิดการเรียนรูขางต้น ยังสามารถกล่าวเพิมเติม ้้ เกียวกับองค์ประกอบทีจะช่วยให้เกิดการเรียนรูได้ดีอีก คือ ้ . วุฒิภาวะ (Readiness) หมายถึง ความเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคมของผูเ้ รียน . ความพร้อม (Readiness) หมายถึง ความพร้อมในวุฒิภาวะ หรือความสามารถใน การรับประสบการณ์หรือสิงทีจะเรียนรู ้ . ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Differences) หมายถึง ความสามารถ เฉพาะบุคคลซึงมีความแตกต่างกันไป . การฝึ กหัด (Exercise) หมายถึง การทําซําๆ หลายๆ ครังเพือให้เกิดความชํานาญ . ผลลัพธ์ (Effect) หมายถึง ผลย้อ นกลับที ผูเ้ รีย นทราบผลทางการเรีย น ผูสอน ้ ทราบผลความก้าวหน้า จะทําให้เกิดความพึงพอใจทุกฝ่ าย 18 กฤษณา ศักดิศรี. จิตวิทยาการศึกษา.(กรุงเทพมหานคร: บํารุงสาสน์,2530) หน้า 481