SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 2
                                   การแจกแจงปกติ
                                          (20 ชั่วโมง)

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. นําความรูเรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล
2. หาพื้นที่ใตเสนโคงปกติและนําความรูเกี่ยวกับพื้นที่ใตเสนโคงปกติไปใชได

ขอเสนอแนะ
         1. ความสําคัญของคะแนนมาตรฐาน
              คะแนนมาตรฐานจะบอกใหทราบวาคาสังเกตนันๆ อยูหางจากคาเฉลียเลขคณิตเปนกีเ่ ทา
                                                        ้                 ่
ของสวนเบียงเบนมาตรฐาน และอยูในทิศทางใดเมือเทียบกับคาเฉลีย เนืองจาก Z = X − µ
          ่                              ่               ่ ่
                                                                                  σ
                คาสังเกตทีมคามากกวาคาเฉลียจะมีคะแนนมาตรฐานเปนบวกสวนคาสังเกตทีมคานอยกวา
                           ่ี              ่                                        ่ี
คาเฉลียเลขคณิตจะมีคะแนนมาตรฐานเปนลบ คาสังเกตทีมคาเทากับคาเฉลียเลขคณิตพอดีจะมีคะแนนมาตรฐาน
       ่                                            ่ี           ่
เปนศูนย
                สวนใหญแลวเราจะแปลงคาสังเกตหรือหาคะแนนมาตรฐานของคาสังเกตแตละชุดทีมี     ่
การแจกแจงแบบสมมาตรเพือใหมมาตรวัดเดียวกันเนืองจากคะแนนมาตรฐานเปนคะแนนทีไมมหนวย
                             ่   ี                   ่                                ่ ี
จากนั้นจึงทําการเปรียบเทียบคาสังเกตโดยพิจารณาจากคะแนนมาตรฐานของคาสังเกตนั้นๆ เชน
เปรียบเทียบสวนสูงของนักเรียนสองคนที่มีอายุตางกันโดยการแปลงสวนสูงของนักเรียนแตละคน
ใหเปนคะแนนมาตรฐานเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรียนใน
กลุมอายุนั้น ๆ คะแนนมาตรฐานของสวนสูงจะบอกใหทราบวานักเรียนแตละคนมีความสูงอยูใน
ตําแหนงใดในการแจกแจงของกลุมนักเรียนอายุเดียวกันนั้น
                การแปลงหรือหาคะแนนมาตรฐานเปนการแปลงแบบเชิงเสน (linear transformation)
การแปลงแบบเชิงเสนนี้ไมทําใหการแจกแจงของคาสังเกตกอนและหลังการแปลงเปลี่ยนแปลงไป
และคาเฉลียเลขคณิตและสวนเบียงเบนมาตรฐานของขอมูลหลังการแปลงก็หาไดโดยวิธงายๆ อนึงคาทีได
           ่                   ่                                                ี       ่ ่
จากการแปลงแบบเชิ ง เสนของขอมูลที่มีการแจกแจงแบบปกติจะยังคงมีการแจกแจงแบบปกติ
นอกจากนี้คะแนนมาตรฐานของการแจกแจงแบบใดๆ ก็ตามที่คํานวณจากขอมูลประชากรทั้งหมด
(กลาวคือใชสตร Zi = Xi − µ เมื่อ i คือ 1, 2, 3, ..., N) คะแนนมาตรฐานนั้นจะมีคาเฉลี่ยเลขคณิต
              ู
                         σ
( µ ) เปน 0 และสวนเบียงเบนมาตรฐาน ( σ ) เปน 1 ทําใหไดวาคะแนนมาตรฐานจากขอมูลเดิมทีมการ
                        ่                                                             ่ี
แจกแจงแบบปกติมีคาเฉลี่ยเลขคณิต µ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ ที่มีคาใดๆ จะมีการแจกแจง
แบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต µ = 0 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ = 1
68

          การแจกแจงของคะแนนมาตรฐานของขอมูลไมจาเปนตองมีการแจกแจงแบบปกติ ขึนอยูกบ
                                                            ํ                                 ้ ั
ลักษณะของขอมูลชุดนั้นๆ เวนเสียแตวาขอมูลเดิมมีการแจกแจงแบบปกติ
          2. ตารางแจกแจงความนาจะเปนสะสมของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานมีหลายแบบ
กลาวคือ
              (1) แสดงเพียงครึ่งดานขวาการแจกแจง โดยแสดงคา z ที่เปนศูนยเปนตนไป (z ≥ 0)
และคาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = 0 ถึง คา z ที่ตองการ ใหสังเกตเมื่อ z = 0.00 คาที่
แสดงคือ .0000




              (2) แสดงเพียงดานขวาของการแจกแจง โดยแสดงคา z ที่เปนศูนยเปนตนไป และ
คาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = − ∞ ถึง คา z ที่ตองการ ใหสังเกตเมื่อ z = 0.00 คาที่
แสดงคือ .5000
69

             (3) แสดงการแจกแจงทั้งหมด โดยแสดงคา z ที่เปนลบดวย เชน –3.40 เปนตนไป
และคาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = − ∞ ถึง คา z ที่ตองการ




         3. การแจกแจงของขอมูลมีหลายชนิด การแจกแจงของอายุการใชงาน มักมีการแจกแจงแบบอืนทีไมใช
                                                                                      ่ ่
แบบปกติ เชน การแจกแจงแบบชีกาลัง การแจกแจงแบบสม่าเสมอ
                           ้ํ                    ํ




          การแจกแจงแบบปกติ (normal)                         การแจกแจงแบบสม่ําเสมอ (uniform)




                                                   การแจกแจงแบบชี้กําลัง (exponential)
70

กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1 คะแนนมาตรฐาน
          ใหนักเรียนเก็บขอมูลคะแนนสอบวิชาใดวิชาหนึ่งของทุกคนในหองแปลงคะแนนดิบ
เหลานั้นใหเปนคะแนนมาตรฐานโดยสูตร Zi = Xi − µ       (หรือใหนักเรียนแตละคนหาคะแนน
                                                    σ
มาตรฐานของคะแนนสอบทีตนเองได โดยผูสอนคํานวณคาเฉลียเลขคณิตและสวนเบียงเบนมาตรฐาน
                              ่                           ่                ่
ไวให) จากนั้นใหรวมกันตอบคําถามตอไปนี้
                        
           1. มีนกเรียนกีคนทีไดคะแนนมาตรฐานเปนบวก คิดเปนรอยละเทาใดของนักเรียนทังหมด
                    ั       ่ ่                                                        ้
และคะแนนมาตรฐานที่เปนบวกนี้หมายความวาอยางไร
           2. มีนกเรียนกีคนทีไดคะแนนมาตรฐานเปนลบ คิดเปนรอยละเทาใดของนักเรียนทังหมด
                      ั      ่ ่                                                     ้
และคะแนนมาตรฐานที่เปนลบนี้หมายความวาอยางไร
           3. ผูที่ไดคะแนนมาตรฐานระหวาง –1 ถึง 1 มีกี่คน คิดเปนรอยละเทาใดของทั้งหมด
และผูที่ไดคะแนนในชวงนี้หมายความวาอยางไร
           4. ตีความหมายคะแนนมาตรฐานของนักเรียนแตละคน
           5. หาคาเฉลียเลขคณิต ( µ ) และหาสวนเบียงเบนมาตรฐาน ( σ ) ของคะแนนมาตรฐาน
                          ่                         ่
ของนักเรียนทังหอง (ใหใชสตรทีคานวณจากขอมูลระดับประชากร) สังเกตคาเฉลียเลขคณิตและสวน
              ้                 ู ่ํ                                     ่
เบียงเบนมาตรฐานของคะแนนมาตรฐานวามีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนศูนยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
   ่
เปนหนึ่งหรือไม
           แนวคิดในการทํากิจกรรมนี้ หากนักเรียนในหองมีจานวนมากพอและการแจกแจงของคะแนน
                                                        ํ
สอบคอนขางสมมาตรหรือใกลเคียงกับการแจกแจงแบบปกติ ผูที่ไดคะแนนมาตรฐานเปนบวกและ
ลบจะมีพอๆ กัน หรือรอยละ 50 ของนักเรียนทั้งหมด (ถามีการแจกแจงเปนแบบปกติจริง) ผูที่มี
คะแนนมาตรฐานอยูระหวาง –1 ถึง 1 ควรมีประมาณ รอยละ 68 อยางไรก็ตามไมวาการแจกแจง
ของคะแนนสอบจะเปนอยางไร คาเฉลียเลขคณิตของคะแนนมาตรฐานจะตองเปนศูนยและสวนเบียง
                                      ่                                                  ่
เบนมาตรฐานของคะแนนมาตรฐานตองเปนหนึงเสมอ่
หมายเหตุ        คาสของ Zi ขางตน อาจเรียกไดหลายชื่อ เชน คะแนน z (z score) หรือคา z (z value)
           หรือคะแนนมาตรฐาน (standard score) หรือ คามาตรฐาน ซึ่งเปนชื่อกลาง ๆ ใชไดทั่วไป
           ไมวาคาของ xi จะเปนคะแนนหรือไมเปนคะแนน เชนอาจเปนน้ําหนักตัว หรือ ราคา
           สินคา ฯลฯ
กิจกรรมที่ 2 รูปกราฟของการแจกแจงแบบปกติ
           หากนักเรียนสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตได ใหคนและศึกษารูปการแจกแจงแบบปกติที่มี
คาเฉลี่ยเลขคณิตตางๆ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานตางๆ เปรียบเทียบกับการแจกแจงแบบปกติ
มาตรฐานที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนศูนยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปนหนึ่ง
           เว็บไซตทแนะนํา ซึงมีภาพเคลือนไหวแสดงรูปรางของการแจกแจงแบบปกติตางๆ รวมทัง
                    ี่       ่         ่                                              ้
ความสัมพันธกับฟงกชันของการแจกแจงแบบปกติเมื่อกําหนดคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบน
71

มาตรฐานไดแก http://davidmlane.com/hyperstat/normal_distribution.html แลวคลิกที่ Flash Demo by
Juha Puranen ภายใตหัวขอ Other Sites หรือไปที่ http://noppa5.pc.helsinki.fi/koe/flash/flash.html โดย
ตรง ไปที่หัวขอ Distributions จากนั้นเลือก Normal distribution

กิจกรรมที่ 3 (เพิ่มเติมในกรณีท่มีเวลาพิเศษ)
                               ี
        ใหนกเรียนลองหาพืนทีใตเสนโคงปกติมาตรฐาน กรณีทมตารางแจกแจงความนาจะเปนสะสม
            ั            ้ ่                            ี่ ี
แบบตางๆ ตามที่เสนอไวในขอเสนอแนะ

การประเมินผล
            เนืองจากในการเรียนการสอนเรือง การแจกแจงแบบปกติ ใหความสําคัญกับการนําความรู
               ่                          ่
เรืองคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล และการหาพืนทีใตเสนโคงปกติและนําความรูเ กียวกับ
   ่                                                     ้ ่                            ่
พื้นที่ใตเสนโคงปกติไปใชได ดังนั้นในการประเมินผลผูสอนอาจประเมินจากแบบฝกหัด ขอสอบที่
เนนการนําความรูเรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล ความหมายของคามาตรฐานที่
คํานวณได ความสัมพันธระหวางคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน และการหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติ
            นอกจากนั้นอาจประเมินผลโดยพิจารณาจากกิจกรรมกลุมที่ใหคํานวณคะแนนมาตรฐาน
ความหมายของคาทีได และการหาพืนทีใตเสนโคงปกติมาตรฐานกรณีทมตารางแจกแจงความนาจะเปน
                    ่                 ้ ่                       ี่ ี
สะสมแบบตางๆ หากมีเวลาในการสอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับตารางเหลานี้

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
         1. สมมุติวา คะแนนทดสอบ IQ สําหรับผูที่มีอายุระหวาง 20 ถึง 34 ป มีการแจกแจงที่
ประมาณไดวาเปนแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต ( µ ) 110 และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( σ ) 25
              1.1 จะมีรอยละเทาใดของผูที่อยูในชวงอายุน้ที่มีคะแนน IQ มากกวา 160
                                                             ี
              1.2 รอยละ 95 ของผูที่มีอายุในชวงนี้ ซึ่งเปนรอยละที่อยูชวงกลางของการแจกแจงมี
คะแนน IQ อยูระหวางคาใด
         2. ถาเด็กหญิงคนหนึ่งสอบ SAT วิชาคณิตศาสตรได 680 คะแนน สมมุติวาคะแนนสอบ
SAT นี้มีก ารแจกแจงแบบปกติที่มีคา เฉลี่ยเลขคณิต 500 คะแนน และสวนเบี่ย งเบนมาตรฐาน
100 คะแนน และถาเด็ก ชายคนหนึ่ง ทําคะแนนสอบ ACT วิชาคณิตศาสตรได 27 คะแนน สมมุติ
วาคะแนนสอบ ACT นีมการแจกแจงแบบปกติทมคาเฉลียเลขคณิต 18 คะแนน และสวนเบี่ยงเบน
                       ้ ี                       ี่ ี  ่
มาตรฐาน 6 คะแนน ถาการทดสอบทังสองแบบวัดความสามารถ เชิงคณิตศาสตรแบบเดียวกัน เด็ก
                                        ้
ชายหรือเด็กหญิง มีคะแนนสอบดีกวากัน
         3. จงใชตารางแจกแจงปกติมาตรฐาน เขียนรูปและแรเงาพืนทีใตโคงเพื่อตอบคําถามตอไปนี้
                                                                  ้ ่
              3.1 พื้นที่ใตโคงที่มคา z < 2.85
                                      ี
              3.2 พื้นที่ใตโคงที่มคา z > 2.85
                                    ี
72

                   3.3 พื้นที่ใตโคงที่มีคา z > –1.66
                   3.4 พื้นที่ใตโคงที่มีคา –1.66 < z < 2.85
            4. สมมุตวาความกวางของศีรษะของผูขับขี่มอเตอรไซตรับจางมีการแจกแจงแบบปกติที่
                           ิ
มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 22.8 นิ้วและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.1 นิ้ว ในการทําหมวกกันน็อคตองทํา
คราวละมากๆ ใหทกคนใสไดยกเวนผูทมความกวางของศีรษะเล็กเกินไป หรือใหญเกินไป กลุมละ 5%
                       ุ                        ี่ ี                                                 
ซึ่งจะตองสั่งเปนพิเศษ อยากทราบวาผูที่มีขนาดศีรษะเทาใดที่จะตองสั่งหมวกกันน็อคเปนพิเศษ
            5. เครื่องกดน้ําอัดลมเครื่องหนึ่งไดถูกตั้งไวใหจายน้ําอัดลมโดยเฉลี่ย 7.00 ออนซ ตอถวย
สมมุติวาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้ําอัดลมที่จายคือ 0.10 ออนซ และปริมาณน้ําอัดลมที่จายมีการ            
แจกแจงแบบปกติจงหา
                   5.1 เปอรเซ็นตทเี่ ครืองกดน้าอัดลมนีจะจายน้าอัดลมระหวาง 7.10 ถึง 7.25 ออนซ
                                           ่          ํ               ้     ํ
                   5.2 เปอรเซ็นตที่เครื่องกดน้ําอัดลมนี้จะจายน้ําอัดลมอยางนอย 7.25 ออนซ
                   5.3 เปอรเซ็นตทเี่ ครืองกดน้าอัดลมนีจะจายน้าอัดลมระหวาง 6.80 ถึง 7.25 ออนซ
                                             ่          ํ           ้     ํ
            6. ถาฉลากขางกระปองของแฮมที่นําเขามาจากตางประเทศระบุวามีน้ําหนัก 9.00 ปอนด
แตในการตรวจสอบพบวาน้ําหนักที่ซึ่งไดมีการแจกแจงแบบปกติที่มีคาเฉลี่ย เลขคณิต 9.20 ปอนด
และสวนเบียงเบนมาตรฐาน 0.25 ปอนด จงหาวา
             ่
                   6.1 จะมีแฮมบรรจุกระปองทีมนาหนักนอยกวาน้าหนักทีระบุไวบนฉลากในสัดสวนเทาใด
                                                          ่ ี ้ํ              ํ   ่
                   6.2 ถาบริษัทที่นําเขาตองการลดสัดสวนของแฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักนอยกวาที่
ระบุไวบนฉลากโดยมีทางเลือกสองทางไดแก
            วิธที่ 1 เพิมน้าหนักโดยเฉลียใหเปน 9.25 ปอนดโดยใหสวนเบียงเบนมาตรฐานมีคาคงเดิม
               ี             ่ ํ                   ่                                 ่                       
            วิธีที่ 2 ลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 0.15 ปอนดโดยใหน้ําหนักเฉลี่ยมีคาคงเดิม
ทานจะแนะนําใหใชทางเลือกใด
            7. ถายอดขายประจําปของนวนิยายเรื่องหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติแตไมทราบคาเฉลี่ย
เลขคณิตและสวนเบียงเบนมาตรฐาน อยางไรก็ตามจากขอมูลทีเ่ ก็บมาทราบวารอยละ 40 ของทังหมดมี
                         ่                                                                                  ้
ยอดขายเกิน 470,000 บาท และรอยละ 10 ของทังหมดมียอดขายเกิน 500,000 บาท แลวคาเฉลียเลขคณิต
                                                                 ้                                  ่
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของยอดขายควรมีคาเทาใด
            8. ถาคะแนนสอบเชาวปญญาของผูทมอายุ 20 ถึง 34 ป และผูทมอายุ 60 ถึง 64 ป มีการแจก
                                                            ี่ ี                    ี่ ี
แจงปกติโดยประมาณ โดยกลุมทีมอายุ 20 ถึง 34 ป มีคาเฉลียเลขคณิต 110 คะแนน สวนเบียงเบนมาตร
                                     ่ ี                                ่                       ่
ฐาน 25 คะแนน และกลุมทีมอายุ 60 ถึง 64 ป มีคาเฉลียเลขคณิต 90 คะแนน สวนเบียงเบนมาตรฐาน 25
                               ่ ี                                 ่                        ่
คะแนน
            นางสาวชวนชืนมีอายุ 30 ป สอบไดคะแนน 135 คะแนน ในขณะทีนางชวนชมซึงเปนแม
                               ่                                                            ่             ่
มีอายุ 62 ป สอบได 120 คะแนน ใครสอบไดคะแนนดีกวากันเมือเปรียบเทียบกับผูสอบในกลุมอายุ
                                                                                ่               
นั้นๆ (รอยละของผูที่ไดคะแนนต่ํากวาชวนชื่นและชวนชมในกลุมอายุนั้นๆ เปนเทาใด)
73

        9. พืนทีใตโคงปกติมาตรฐานตังแตควอรไทลทหนึงไปทางดานซายมือมีพนทีเ่ ทาใด ควอรไทลทหนึง
             ้ ่                    ้             ี่ ่                   ื้                    ี่ ่
และควอรไทลที่สามของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานมีคาเทาใด

เฉลยแบบทดสอบประจําบท
1. 1.1 ประมาณ 2.28 %
   1.2 ระหวาง 60 ถึง 160
2. เด็กหญิงมีคะแนนมาตรฐาน 1.8 สวนเด็กชายมีคะแนนมาตรฐาน 1.5 ดังนั้นเด็กหญิงสอบได
   คะแนนดีกวาเด็กชาย
3. 3.1 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9978
   3.2 พื้นที่ใตโคงคือ 0.0022
   3.3 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9515
   3.4 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9493
4. ผูที่มีขนาดศีรษะนอกชวง 22.8 ± 1.81 นิ้ว หรือผูที่มีศีรษะเล็กกวา 21 นิ้ว หรือใหญกวา 24.6 นิ้ว
   โดยประมาณจะตองสั่งหมวกกันน็อคเปนพิเศษ
5. 5.1 15.25% (จากคา z เทากับ 1 ถึง 2.5)
   5.2 0.62%
   5.3 97.10% (จากคา z เทากับ -2 ถึง 2.5)
6. 6.1 รอยละ 21.19
   6.2 การเพิ่มน้ําหนักเฉลี่ย ทําใหไดคา z เทากับ –1.00 และใหคาสัดสวนคือ 0.1587
          การลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทําใหไดคา z เทากับ –1.33 และใหคาสัดสวนคือ 0.0918
          ดังนั้นการลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานลงจะเปนทางเลือกที่ดีกวาเพราะทําใหมีสดสวนของ
                                                                                       ั
          แฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักต่ํากวามาตรฐานนอยกวา
         470, 000 − µ                  500, 000 − µ
7. จาก                = 0.25     และ                = 1.28    ทําใหไดคาเฉลี่ยเทากับ 462,719 บาท
              σ                             σ
   และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 29,126 บาทโดยประมาณ
8. คะแนนมาตรฐานของชวนชื่นคือ 1 ขณะที่คะแนนมาตรฐานของชวนชมคือ 1.2 ดังนั้นแมของ
   ชวนชืนมีคะแนนสัมพัทธทสงกวา (แตชวนชืนมีคะแนนดิบสูงกวา) หรือพิจารณาจากเปอรเช็นไทล
          ่                  ่ี ู         ่
   ของชวนชื่นคือ 84 ขณะที่เปอรเซ็นไทลของชวนชมคือ 88.5 โดยประมาณ
9. พืนทีนบตังแตควอรไทลทหนึงไปทางซายมือของการแจกแจงแบบใดๆ ตองเปน 0.2500 ควอรไทล
      ้ ่ ั ้              ี่ ่
   ที่หนึ่งและควอรไทลที่สามของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานคือ –0.675 และ 0.675 โดย
   ประมาณ
74

                                     เฉลยแบบฝกหัด 2.1
                                                                         75 − 70
1. คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.3                   15   =
                                                                    =    1
                                                                         3
                                                                         80 − 80
    คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.4           =      20
                                                                    =   0
    คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.3 สูงกวาคามาตรฐานของ
    คะแนนในชั้น ม.4 แสดงวาวิชัยเรียนคณิตศาสตรในชั้น ม.3 ไดดีกวา
                                                                      12 − µ
2. ถาให µ คือคาเฉลี่ยเลขคณิตจะไดวา                 1   =          1.1
                                                        µ =       12 – 1.1
                                                  µ       =       10.9
    ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาที่ใชในการวิ่งของนักกีฬาทั้งหมดเปน 10.9 วินาที
                                                                      80 − 85                  1
3. คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาไทย                         =           15          =        −
                                                                                               3
                                                                      60 − 75                  3
    คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ                     =           20          =        −
                                                                                               4
                                                                      70 − 65
    คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร                    =            5          =            1
    ดังนั้น จิตราเรียนวิชาวิทยาศาสตรไดดีที่สุด
                                                                    x − 25
4. คามาตรฐานของอายุคนงาน                               2   =         2
                                                   x      =        4 + 25
                                                   x      =        29
    ดังนั้น คนงานที่มีอายุต้งแต 29 ปขึ้นไป จึงจะมีโอกาสไดรับเลือกเขาเปนคนงานของโรงงานนี้
                            ั
                                                            70 − 70
5. คามาตรฐานของวิชาที่ 1 ของนาย ก                      =      5                =   0
                                                            75 − 70                  1
    คามาตรฐานของวิชาที่ 2 ของนาย ก                     =     10                =    2
                                                            75 − 80                      1
    คามาตรฐานของวิชาที่ 3 ของนาย ก                     =     15                =   −
                                                                                         3
75

                                                                              0+ 1 −1
                                                                                 2 3
   ดังนั้น คามาตรฐานเฉลี่ยของวิชาที่ 1, 2 และ 3 ของนาย ก                 =      3
                                                                          =    1
                                                                              18
                                                         75 − 70
   คามาตรฐานของวิชาที่ 1 ของนางสาว ข            =          5             =   1
                                                         50 − 70
   คามาตรฐานของวิชาที่ 2 ของนางสาว ข            =         10             =   –2
                                                         95 − 80
   คามาตรฐานของวิชาที่ 3 ของนางสาว ข            =         15            1=
                                                                         1− 2 +1
   ดังนั้น คามาตรฐานเฉลี่ยอขงวิชาที่ 1, 2 และ 3 ของนางสาว ข       =          3
                                                                   =     0
   แตเกณฑของหนวยงานผูสอบคัดเลือกไดจะตองไดคามาตรฐานเฉลี่ยของคะแนนทั้ง 3 วิชา
   ไมต่ํากวา 0
   ดังนั้น นาย ก และนางสาว ข จะสอบคัดเลือกไดทั้งสองคน
                                                                              650 − µ
6. ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตคือ µ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ σ จะไดวา 3 =
                                                                                 σ
                                      µ + 3σ         =   650                       (1)
                                                         540 − µ
   และ                                1.9            =
                                                            σ
                                      µ + 1.9σ= 540                         (2)
   จาก (1) และ (2) จะได             1.1σ     = 110
                                        σ     = 100
   และ                                  µ     = 650 – 300
                                        µ     = 350
   ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบคือ 350 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
   ของคะแนนสอบคือ 100 คะแนน
                                                                   90 − 289
7. (1) คามาตรฐานของผูปวยโรคหัวใจในรัฐอลาสกา =                      54
                                                   =        –3.69
         ดังนั้น โรคหัวใจในรัฐอลาสกาจะมีความรุนแรงนอยกวารัฐอื่น ๆ
76

                                                                      240 − 289
   (2) คามาตรฐานของผูปวยโรคหัวใจในรัฐคาลิฟอรเนีย          =            54
                                                              =      –0.91
                                                                      166 − 200
         คามาตรฐานของผูปวยโรคมะเร็งในรัฐคาลิฟอรเนีย       =            31
                                                              =      –1.10
         ดังนั้น ในรัฐคาลิฟอรเนียโรคหัวใจมีความรุนแรงมากกวาโรคมะเร็ง เมื่อเทียบกับที่พบ
         ในรัฐอื่น ๆในระดับประเทศ
                               x i −µ
8. เนื่องจาก zi          =
                                  σ
                               x − 20
   (1)         2         =        5
               x         =     10 + 20
               x         =     30
                                x − 25
   (2)         –1        =        3
                x        =     –3 + 25
                x        =     22
                                x − 100
   (3)         –1.5      =        10
                     x   =     –15 + 100
                     x   =     85
                               x − ( −10 )
   (4)         2.5       =
                                  0.2
               0.5       =     x + 10
                x        =     0.5 – 10
                x        =     –9.5
77

                                   เฉลยแบบฝกหัด 2.2
1. (1) ให x เปนคาของขอมูล โดยกําหนดให           µ   = 400 และ       σ   = 100
                                        x −µ
        จาก            z       =
                                          σ
                                        538 − 400
        จะได          z       =          100
                               =       1.38




                                        0        1.38            Z

        จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.38 เทากับ 0.4162
        ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเมื่อ z > 1.38 เทากับ 0.5 – 0.4162 = 0.0838
        นั่นคือ มีขอมูล 8.38% ของขอมูลทั้งหมด มีคามากกวา 538
                                       179 − 400
   (2) จะได           z       =          100
                               =       –2.21




                                                                     Z
                               -2.21        0
        จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –2.21 ถึง z = 0 เทากับ 0.4864
        ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z > –2.21 เทากับ 0.5 + 0.4865 = 0.9864
        นั่นคือ มีขอมูล 98.64% ของขอมูลทั้งหมด มีคามากกวา 179
78

                                   356 − 400
(3) จะได          z       =          100
                           =       –0.44




                                                            Z
                               -0.44 0

    จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.44 ถึง z = 0 เทากับ 0.1700
    ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –0.44 เทากับ 0.5 – 0.1700 = 0.3300
    นั่นคือ มีขอมูล 33% ของขอมูลทั้งหมด มีคานอยกวา 356
                                   621 − 400
(4) จะได          z       =          100
                           =       2.21




                                                             Z
                                     0        2.21
    จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.21 เทากับ 0.4864
    ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปก เมื่อ z < 2.21 เทากับ 0.5 + 0.4864 = 0.9864
    นั่นคือ มีขอมูล 98.65% ของขอมูลทั้งหมด มีคานอยกวา 621
79

                                    318 − 400
(5) จะได          z1      =          100              =    –0.82
                                    671 − 400
                   z2      =          100              =    2.71




                                                             Z
                               -0.82 0          2.71
    จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.71 เทากับ 0.4966
    จะไดพ้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.82 ถึง z = 0 เทากับ 0.2939
            ื
    ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –0.82 < z < 2.71 เทากับ 0.4966 + 0.2939 = 0.7905
    นั่นคือ มีขอมูล 79.05% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 318 และ 671
                                    484 − 400
(6) จะได          z1      =          100              =    0.84
                                    565 − 400
                   z2      =          100              =    1.65




                                                             Z
                                      0 0.84 1.65

    จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.84 เทากับ 0.2995
    จะไดพ้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.65 เทากับ 0.4505
            ื
    ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ 0.84 < z < 1.65 เทากับ 0.4505 – 0.2995 = 0.1510
    นั่นคือ มีขอมูล 15.09% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 484 และ 565
80

                                         249 − 400
   (7) จะได           z1       =          100           =        –1.51
                                         297 − 400
                       z2       =          100           =        –1.03




                                                                      Z
                                    -1.51 -1.03 0


        จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1.51 ถึง z = 0 เทากับ 0.4345
        จะไดพ้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1.03 ถึง z = 0 เทากับ 0.3485
                ื
        ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.51 < z < –1.03 เทากับ 0.4345 – 0.3485 = 0.0860
        นั่นคือ มีขอมูล 8.6% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 249 และ 297

2. (1) ให x เปนน้ําหนักของกาแฟ (กรัม) โดยกําหนด         µ   = 115.5 และ   σ   = 0.3
                                         x −µ
               จาก     z        =
                                           σ
                                         115 − 115.5
               จะได z1         =            0.3       ≈          –1.667
                                         115.5 − 115.5
                       z2       =             0.3      =          0




                                                                 Z
                                 -1.667 0
        จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.66 เทากับ 0.4515
                                           และ z = 0 ถึง z = 1.67 เทากับ 0.4525
        จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ
                                                               0.001 × 0.007
                                                    0.4515 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.4522
                                                             ⎜               ⎟
                                                             ⎝               ⎠
81

    ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.667 < z < 0 เทากับ 0.4522
    นั่นคือ มีขวดกาแฟ 45.22% ของขวดกาแฟทั้งหมด ที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนัก
    ระหวาง 115 กรัม และ 115.5 กรัม
                                    114.9 − 115.5
(2) จะได         z1      =              0.3      =        –2
                                    115.5 − 115.5
                  z2      =              0.3      =        0




                                                           Z
                              -2      0
    จะไดพ้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –2 < z < 0 เทากับ 0.4772
            ื
    นั่นคือ มีขวดกาแฟ 47.72% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง
    114.9 กรัม และ 115.5 กรัม
                                    115.2 − 115.5
(3) จะได         z1      =              0.3      =        –1
                                    115.9 − 115.5
                  z2      =              0.3      ≈        1.333




                                                               Z
                                   -1 0 1.333

    จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.33 เทากับ 0.4082
                                         และ z = 0 ถึง z = 1.34 เทากับ 0.4099
    จะได พื้นที่เสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.333 เทากับ
                                0.0017 × 0.003
                     0.4082 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.4087
                              ⎜                ⎟
                              ⎝                ⎠
82

    และพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1 ถึง z = 0 เทากับ 0.3413
    ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1 < z < 1.333 เทากับ 0.4087 + 0.3413 = 0.75
    นั่นคือ มีขวดกาแฟ 75% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง
    115.2 กรัม และ 115.9 กรัม
                                     114.7 − 115.5
(4) จะได          z1      =              0.3        ≈       –2.667
                                     115 − 115.5
                   z2      =             0.3         ≈       –1.667




                                                         Z
                   -2.667 -1.667 0

    จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.66 เทากับ 0.4961
                                           และ z = 0 ถึง z = 2.67 เทากับ 0.4962
    จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.667 เทากับ 0.4961+0.00007=0.49617
    และพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.4522
    ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –2.667 < z < –1.667 เทากับ 0.49617–0.4522 = 0.0440
    นั่นคือ มีขวดกาแฟ 4.4% ของกาแฟทั้งหมด ที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง
    114.7 กรัม และ 115 กรัม
                                        115.5 − 115.5
(5) จะได          z       =                 0.3       =   0
    ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z > 0 เทากับ 0.5
    นั่นคือ มีขวดกาแฟ 50% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักมากกวา
    115.5 กรัม




                                                             Z
                                     0
83

                                           115 − 115.5
   (6) จะได         z        =                0.3        ≈       –1.667
       จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.4522
       ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –1.667 เทากับ 0.5 – 0.4522 = 0.0478
       นั่นคือ มีขวดกาแฟ 4.78% ขวดกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักมากกวา
       115 กรัม




                                                                  Z
                                  -1.667 0

3. (1) ให x เปนคะแนนสอบของนายไผท โดยกําหนด           µ   = 64 และ    σ   =8
                                       x − µ
       จาก           z        =
                                          σ
                                       62 − 64
       จะได         z        =             8         =        –0.25




                                                              Z
                                  -0.25 0
       จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.25 ถึง z = 0 เทากับ 0.0987
       ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –0.25 เทากับ 0.5 – 0.0987 = 0.4013
       นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนไผท คือ 40.13 ในกลุมนักเรียนชาย
84

(2) ให x เปนคะแนนสอบของอาภัสรา โดยกําหนด µ = 60 และ σ = 10
                                    73 − 60
    จาก              z       =         10          =       1.3
    จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.3 เทากับ 0.4032




                                                              Z
                                        0     1.3
     ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < 1.3 เทากับ 0.5 + 0.4032 = 0.9032
     นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนอาภัสรา คือ 90.32 ในกลุมนักเรียนหญิง
     คะแนนของอาภัสราในกลุมนักเรียนชาย โดยกําหนด
                                         73 − 64
     จะได             z       =            8 =          1.125




                                                              Z
                                        0 1.125

     จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.12 เทากับ 0.3686
                                        และ z = 0 ถึง z = 1.13 เทากับ 0.3708
                                                                           0.0022 × 0.005
     จะไดพื้นที่ใตเสนโคงระหวาง z = 0 ถึง z = 1.125 เทากับ 0.3686 + ⎛ 0.01 ⎞
                                                                         ⎜                ⎟
                                                                         ⎝                ⎠
                                                                 = 0.3697
     ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < 1.125 เทากับ 0.5 + 0.3697 = 0.8697
     นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนอาภัสรา คือ 86.97 ในกลุมนักเรียนชาย
85

4. (1) ให x เปนคะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 25
       จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง P25 เทากับ 0.25




                                     0.25
                                                                         Z
                                            P25 0

         จากตาราง          พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.2518 คา z เทากับ 0.68
                           พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.2486 คา z เทากับ 0.67
                                                                          0.01 × 0.0014
         ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.25 คา z เทากับ 0.67 + ⎛ 0.0032 ⎞ ≈ 0.6744
                                                                        ⎜               ⎟
                                                                        ⎝               ⎠
                                            x − µ
         จาก                    z =
                                               σ
                                            x − 72
                        –0.6744 =         12
                               x = 72 – 8.0928
                               x = 63.91
         นั่นคือ คะแนน ที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 25 คือ 63.91

   (2) ให x เปนคะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 90
       จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง P90 เทากับ 0.90 – 0.5 = 0.4




                                                                     Z
                                             0            P90

         จากตาราง          พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4015 คา z เทากับ 1.29
                           พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3997 คา z เทากับ 1.28
                                                                         0.01 ×0.0003
         ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4 คา z เทากับ 1.28 + ⎛ 0.0018 ⎞
                                                                       ⎜              ⎟   ≈   1.2817
                                                                       ⎝              ⎠
86

                                          x − 72
           จาก           1.2817        =    12
                               x = 72 + 15.3804
                               x = 87.38
           นั่นคือ คะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 90 คือ 87.38

5. ให x เปนความหนาของแผนพลาสติก
                                  x −µ
   จาก           z       =
                                    σ
                                  0.0595 − 0.0625
   จะได         z1      =            0.0025              =        –1.2
                                  0.0659 − 0.0625
                 z2      =            0.0025              =        1.36




                                                               Z
                                -1.2       0   1.36

   จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.36 เทากับ 0.4131
   และจะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.2 เทากับ 0.3849
   ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.2 < z < 1.36 เทากับ 0.4131 + 0.3849 = 0.7980
   นั่นคือ มีแผนพลาสติก 79.8% ของพลาสติกทั้งหมดที่ผลิตไดมีความหนาอยูระหวาง 0.595
   เซนติเมตร และ 0.0659 เซนติเมตร

6. เพราะวา 50.04% ของนาฬิกาทั้งหมดที่ผลิตไดมีความคลาดเคลื่อนระหวาง x กับ 0.136
   วินาที
                                  x −µ
   จาก           z       =
                                    σ
                                  0.136 − 0.00
                 z       =            0.4             =   0.34
87




                                    50.04%

                                                                Z
                                X       0 0.136

     จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.34 เทากับ 0.1331
     จากรูป จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติจาก z = 0 ถึง x เทากับ 0.5004 – 0.1331 = 0.3673
     จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3686 คา z เทากับ 1.12
                    พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3665 คา z เทากับ 1.11
                                                                        0.01 × 0.0008
     ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3673 คา z เทากับ 1.11 + ⎛ 0.0021 ⎞ ≈ 1.1138
                                                                      ⎜               ⎟
                                                                      ⎝               ⎠
                                                x − 0.00
     จะได          –1.1138            =          0.4
                            x          =       –0.446
     นั่นคือ x เทากับ –0.446 วินาที

7.




                                                                Z
                               X = 11.88 µ = 12.00


     จากรูป จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติจาก x = 11.88 ถึง µ = 12.00 เทากับ 0.5–0.1151 = 0.3849
     จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3849 คา z เทากับ 1.20
                                 x −µ
     จาก             z =
                                   σ
                                 11.88 − 12.00
                 –1.20 =
                                        σ
                                 − 0.12
                     σ   =        − 1.2
                                             =            0.1
     ดังนั้น ความแปรปรวนของน้ําหนักสุทธิของกระปองบรรจุถ่วที่ผลิตโดยบริษัทนี้เทากับ 0.01
                                                         ั
88

8. (1) กําหนด    σ   = 3, x = 6 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.09



                                       0.41

                              0.09
                                                                  Z
                                 X=6          0
        จากตาราง        พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4099 คา z เทากับ 1.34
                        พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4115 คา z เทากับ 1.35
                                                                           × 0.0001 ⎞
        ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.09 คา z เทากับ 1.34 + ⎛ 0.01
                                                                     ⎜              ⎟     = 1.3406
                                                                    ⎝     0.0016    ⎠
                                                       6−µ
        จะได           –1.3406               =
                                                        3
                              µ       =      6 + 4.0218
                              µ       =      10.0218
        ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตประมาณ 10.0218 เปนคา a ที่ตองการ

   (2) กําหนด µ = 10, x = 12 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.60
       จากรูป พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง µ ถึง x = 12 เทากับ 0.6 – 0.5 = 0.1




                                                  µ X = 12
        จากตาราง          พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1026 คา z เทากับ 0.26
                          พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.0987 คา z เทากับ 0.25
                                                                        0.01 × 0.0013
        ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1 คา z เทากับ 0.25 + ⎛ 0.0039 ⎞
                                                                      ⎜               ⎟   ≈   0.2533
                                                                      ⎝               ⎠
                                                       12 − 10
        จะได           0.2533                =
                                                          σ
                                                          2
                              σ               =
                                                       0.2533
                              σ            7.90
                                              ≈
        ดังนั้น สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานประมาณ 7.90 เปนคา b ที่ตองการ
89

(3) กําหนด µ = 10, σ = 2 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.18
    จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1808 คา z เทากับ 0.47
                 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1772 คา z เทากับ 0.46




                                  X       µ

                                                                    0.01 × 0.0028
     ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.18 คา z เทากับ 0.46 + ⎛ 0.0036 ⎞ = 0.4678
                                                                  ⎜               ⎟
                                                                  ⎝               ⎠
                                                x − 10
     จะได             –0.4678         =          2
                              x        =       10 – 0.9356
                              x        =       9.0644
     ดังนั้น คะแนนที่สนใจศึกษาประมาณ 9.06 เปนคา c ที่ตองการ

(4) กําหนด   µ   = 3,   σ   = 1 และ x = 2
                                      2−3
     จะได          z        =         1             =        –1
     จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –1 เทากับ 0.5 – 0.3413 = 0.1587




                                 z = –1   µ

     ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนนที่ต่ํากวา 2 เทากับ 0.1587 เปนคา d ที่ตองการ
90

9. (1) ให x เปนคะแนนสอบ SAT โดยกําหนด            µ   = 505 และ   σ   = 111
                                       x −µ
       จาก           z        =
                                         σ
                                       400 − 505
       จะได         z1       =               111        =       –0.946
                                           600 − 505
                        z2         =         111         =       0.856
       จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.94 เทากับ 0.3264
                        พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.95 เทากับ 0.3289
       จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.946 เทากับ
                   0.0025 × 0.006
       0.3264 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.3279
                 ⎜                    ⎟
                 ⎝                    ⎠




                                                                   Z
                                  -0.946       0 0.856

       จากตาราง         พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.85 เทากับ 0.3023
                        พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.86 เทากับ 0.3051
       จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.856 เทากับ
                   0.0028 × 0.006
       0.3023 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.30398
                 ⎜                    ⎟
                 ⎝                    ⎠
       ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่อยูระหวาง 400 และ 600 เทากับ
       0.3279 + 0.30398 = 0.63188
                                      700 − 505
   (2) จะได         z        =         111                ≈   1.757




                                                                   Z
                                           0       1.757
91

         จากตาราง         พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.75 เทากับ 0.4599
                          พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.76 เทากับ 0.4608
         จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.757 เทากับ
           0.0009 × 0.007
0.4599 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.46053
         ⎜                 ⎟
         ⎝                 ⎠
          ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่มากกวา 700 เทากับ
0.5 – 0.46053 = 0.03947
                                         450 − 505
    (3) จะได           z       =          111           ≈       –0.495




                                                                   Z
                                      -0.495 0

         จากตาราง         พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.49 เทากับ 0.1879
                          พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.50 เทากับ 0.1915
         จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.495 เทากับ
           0.0036 × 0.005
0.1879 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.1897
         ⎜                 ⎟
         ⎝                 ⎠
          ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่นอยกวา 450 เทากับ
0.5 – 0.1897 = 0.3103

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
kanjana2536
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
NU
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
eakbordin
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Janova Kknd
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
Inmylove Nupad
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01
manrak
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
Wan Ngamwongwan
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
พัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
แบบฝึกหัด อังกฤษ ป.2 school object
แบบฝึกหัด อังกฤษ ป.2 school objectแบบฝึกหัด อังกฤษ ป.2 school object
แบบฝึกหัด อังกฤษ ป.2 school object
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 

Ähnlich wie การแจกแจงปกติ

การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
kaew393
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
othanatoso
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
Taew Nantawan
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
Nitinop Tongwassanasong
 
2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา
Nichaphon Tasombat
 

Ähnlich wie การแจกแจงปกติ (20)

Add m6-1-chapter2
Add m6-1-chapter2Add m6-1-chapter2
Add m6-1-chapter2
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมายสถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
Ch06(stat1 normal curve(ok)
Ch06(stat1 normal curve(ok)Ch06(stat1 normal curve(ok)
Ch06(stat1 normal curve(ok)
 
คณิต M6
คณิต M6คณิต M6
คณิต M6
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
statistic_research.ppt
statistic_research.pptstatistic_research.ppt
statistic_research.ppt
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
Ar
ArAr
Ar
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา
 

การแจกแจงปกติ

  • 1. บทที่ 2 การแจกแจงปกติ (20 ชั่วโมง) ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. นําความรูเรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล 2. หาพื้นที่ใตเสนโคงปกติและนําความรูเกี่ยวกับพื้นที่ใตเสนโคงปกติไปใชได ขอเสนอแนะ 1. ความสําคัญของคะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐานจะบอกใหทราบวาคาสังเกตนันๆ อยูหางจากคาเฉลียเลขคณิตเปนกีเ่ ทา ้   ่ ของสวนเบียงเบนมาตรฐาน และอยูในทิศทางใดเมือเทียบกับคาเฉลีย เนืองจาก Z = X − µ ่  ่ ่ ่ σ คาสังเกตทีมคามากกวาคาเฉลียจะมีคะแนนมาตรฐานเปนบวกสวนคาสังเกตทีมคานอยกวา ่ี ่ ่ี คาเฉลียเลขคณิตจะมีคะแนนมาตรฐานเปนลบ คาสังเกตทีมคาเทากับคาเฉลียเลขคณิตพอดีจะมีคะแนนมาตรฐาน ่ ่ี ่ เปนศูนย สวนใหญแลวเราจะแปลงคาสังเกตหรือหาคะแนนมาตรฐานของคาสังเกตแตละชุดทีมี ่ การแจกแจงแบบสมมาตรเพือใหมมาตรวัดเดียวกันเนืองจากคะแนนมาตรฐานเปนคะแนนทีไมมหนวย ่ ี ่ ่ ี จากนั้นจึงทําการเปรียบเทียบคาสังเกตโดยพิจารณาจากคะแนนมาตรฐานของคาสังเกตนั้นๆ เชน เปรียบเทียบสวนสูงของนักเรียนสองคนที่มีอายุตางกันโดยการแปลงสวนสูงของนักเรียนแตละคน ใหเปนคะแนนมาตรฐานเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรียนใน กลุมอายุนั้น ๆ คะแนนมาตรฐานของสวนสูงจะบอกใหทราบวานักเรียนแตละคนมีความสูงอยูใน ตําแหนงใดในการแจกแจงของกลุมนักเรียนอายุเดียวกันนั้น การแปลงหรือหาคะแนนมาตรฐานเปนการแปลงแบบเชิงเสน (linear transformation) การแปลงแบบเชิงเสนนี้ไมทําใหการแจกแจงของคาสังเกตกอนและหลังการแปลงเปลี่ยนแปลงไป และคาเฉลียเลขคณิตและสวนเบียงเบนมาตรฐานของขอมูลหลังการแปลงก็หาไดโดยวิธงายๆ อนึงคาทีได ่ ่ ี ่ ่ จากการแปลงแบบเชิ ง เสนของขอมูลที่มีการแจกแจงแบบปกติจะยังคงมีการแจกแจงแบบปกติ นอกจากนี้คะแนนมาตรฐานของการแจกแจงแบบใดๆ ก็ตามที่คํานวณจากขอมูลประชากรทั้งหมด (กลาวคือใชสตร Zi = Xi − µ เมื่อ i คือ 1, 2, 3, ..., N) คะแนนมาตรฐานนั้นจะมีคาเฉลี่ยเลขคณิต ู σ ( µ ) เปน 0 และสวนเบียงเบนมาตรฐาน ( σ ) เปน 1 ทําใหไดวาคะแนนมาตรฐานจากขอมูลเดิมทีมการ ่  ่ี แจกแจงแบบปกติมีคาเฉลี่ยเลขคณิต µ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ ที่มีคาใดๆ จะมีการแจกแจง แบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต µ = 0 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ = 1
  • 2. 68 การแจกแจงของคะแนนมาตรฐานของขอมูลไมจาเปนตองมีการแจกแจงแบบปกติ ขึนอยูกบ ํ ้ ั ลักษณะของขอมูลชุดนั้นๆ เวนเสียแตวาขอมูลเดิมมีการแจกแจงแบบปกติ 2. ตารางแจกแจงความนาจะเปนสะสมของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานมีหลายแบบ กลาวคือ (1) แสดงเพียงครึ่งดานขวาการแจกแจง โดยแสดงคา z ที่เปนศูนยเปนตนไป (z ≥ 0) และคาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = 0 ถึง คา z ที่ตองการ ใหสังเกตเมื่อ z = 0.00 คาที่ แสดงคือ .0000 (2) แสดงเพียงดานขวาของการแจกแจง โดยแสดงคา z ที่เปนศูนยเปนตนไป และ คาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = − ∞ ถึง คา z ที่ตองการ ใหสังเกตเมื่อ z = 0.00 คาที่ แสดงคือ .5000
  • 3. 69 (3) แสดงการแจกแจงทั้งหมด โดยแสดงคา z ที่เปนลบดวย เชน –3.40 เปนตนไป และคาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = − ∞ ถึง คา z ที่ตองการ 3. การแจกแจงของขอมูลมีหลายชนิด การแจกแจงของอายุการใชงาน มักมีการแจกแจงแบบอืนทีไมใช ่ ่ แบบปกติ เชน การแจกแจงแบบชีกาลัง การแจกแจงแบบสม่าเสมอ ้ํ ํ การแจกแจงแบบปกติ (normal) การแจกแจงแบบสม่ําเสมอ (uniform) การแจกแจงแบบชี้กําลัง (exponential)
  • 4. 70 กิจกรรมเสนอแนะ กิจกรรมที่ 1 คะแนนมาตรฐาน ใหนักเรียนเก็บขอมูลคะแนนสอบวิชาใดวิชาหนึ่งของทุกคนในหองแปลงคะแนนดิบ เหลานั้นใหเปนคะแนนมาตรฐานโดยสูตร Zi = Xi − µ (หรือใหนักเรียนแตละคนหาคะแนน σ มาตรฐานของคะแนนสอบทีตนเองได โดยผูสอนคํานวณคาเฉลียเลขคณิตและสวนเบียงเบนมาตรฐาน ่  ่ ่ ไวให) จากนั้นใหรวมกันตอบคําถามตอไปนี้  1. มีนกเรียนกีคนทีไดคะแนนมาตรฐานเปนบวก คิดเปนรอยละเทาใดของนักเรียนทังหมด ั ่ ่ ้ และคะแนนมาตรฐานที่เปนบวกนี้หมายความวาอยางไร 2. มีนกเรียนกีคนทีไดคะแนนมาตรฐานเปนลบ คิดเปนรอยละเทาใดของนักเรียนทังหมด ั ่ ่ ้ และคะแนนมาตรฐานที่เปนลบนี้หมายความวาอยางไร 3. ผูที่ไดคะแนนมาตรฐานระหวาง –1 ถึง 1 มีกี่คน คิดเปนรอยละเทาใดของทั้งหมด และผูที่ไดคะแนนในชวงนี้หมายความวาอยางไร 4. ตีความหมายคะแนนมาตรฐานของนักเรียนแตละคน 5. หาคาเฉลียเลขคณิต ( µ ) และหาสวนเบียงเบนมาตรฐาน ( σ ) ของคะแนนมาตรฐาน ่ ่ ของนักเรียนทังหอง (ใหใชสตรทีคานวณจากขอมูลระดับประชากร) สังเกตคาเฉลียเลขคณิตและสวน ้ ู ่ํ ่ เบียงเบนมาตรฐานของคะแนนมาตรฐานวามีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนศูนยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ่ เปนหนึ่งหรือไม แนวคิดในการทํากิจกรรมนี้ หากนักเรียนในหองมีจานวนมากพอและการแจกแจงของคะแนน ํ สอบคอนขางสมมาตรหรือใกลเคียงกับการแจกแจงแบบปกติ ผูที่ไดคะแนนมาตรฐานเปนบวกและ ลบจะมีพอๆ กัน หรือรอยละ 50 ของนักเรียนทั้งหมด (ถามีการแจกแจงเปนแบบปกติจริง) ผูที่มี คะแนนมาตรฐานอยูระหวาง –1 ถึง 1 ควรมีประมาณ รอยละ 68 อยางไรก็ตามไมวาการแจกแจง ของคะแนนสอบจะเปนอยางไร คาเฉลียเลขคณิตของคะแนนมาตรฐานจะตองเปนศูนยและสวนเบียง ่ ่ เบนมาตรฐานของคะแนนมาตรฐานตองเปนหนึงเสมอ่ หมายเหตุ คาสของ Zi ขางตน อาจเรียกไดหลายชื่อ เชน คะแนน z (z score) หรือคา z (z value) หรือคะแนนมาตรฐาน (standard score) หรือ คามาตรฐาน ซึ่งเปนชื่อกลาง ๆ ใชไดทั่วไป ไมวาคาของ xi จะเปนคะแนนหรือไมเปนคะแนน เชนอาจเปนน้ําหนักตัว หรือ ราคา สินคา ฯลฯ กิจกรรมที่ 2 รูปกราฟของการแจกแจงแบบปกติ หากนักเรียนสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตได ใหคนและศึกษารูปการแจกแจงแบบปกติที่มี คาเฉลี่ยเลขคณิตตางๆ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานตางๆ เปรียบเทียบกับการแจกแจงแบบปกติ มาตรฐานที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนศูนยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปนหนึ่ง เว็บไซตทแนะนํา ซึงมีภาพเคลือนไหวแสดงรูปรางของการแจกแจงแบบปกติตางๆ รวมทัง ี่ ่ ่  ้ ความสัมพันธกับฟงกชันของการแจกแจงแบบปกติเมื่อกําหนดคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบน
  • 5. 71 มาตรฐานไดแก http://davidmlane.com/hyperstat/normal_distribution.html แลวคลิกที่ Flash Demo by Juha Puranen ภายใตหัวขอ Other Sites หรือไปที่ http://noppa5.pc.helsinki.fi/koe/flash/flash.html โดย ตรง ไปที่หัวขอ Distributions จากนั้นเลือก Normal distribution กิจกรรมที่ 3 (เพิ่มเติมในกรณีท่มีเวลาพิเศษ) ี ใหนกเรียนลองหาพืนทีใตเสนโคงปกติมาตรฐาน กรณีทมตารางแจกแจงความนาจะเปนสะสม ั ้ ่ ี่ ี แบบตางๆ ตามที่เสนอไวในขอเสนอแนะ การประเมินผล เนืองจากในการเรียนการสอนเรือง การแจกแจงแบบปกติ ใหความสําคัญกับการนําความรู ่ ่ เรืองคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล และการหาพืนทีใตเสนโคงปกติและนําความรูเ กียวกับ ่ ้ ่ ่ พื้นที่ใตเสนโคงปกติไปใชได ดังนั้นในการประเมินผลผูสอนอาจประเมินจากแบบฝกหัด ขอสอบที่ เนนการนําความรูเรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล ความหมายของคามาตรฐานที่ คํานวณได ความสัมพันธระหวางคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน และการหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติ นอกจากนั้นอาจประเมินผลโดยพิจารณาจากกิจกรรมกลุมที่ใหคํานวณคะแนนมาตรฐาน ความหมายของคาทีได และการหาพืนทีใตเสนโคงปกติมาตรฐานกรณีทมตารางแจกแจงความนาจะเปน ่ ้ ่ ี่ ี สะสมแบบตางๆ หากมีเวลาในการสอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับตารางเหลานี้ ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. สมมุติวา คะแนนทดสอบ IQ สําหรับผูที่มีอายุระหวาง 20 ถึง 34 ป มีการแจกแจงที่ ประมาณไดวาเปนแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต ( µ ) 110 และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( σ ) 25 1.1 จะมีรอยละเทาใดของผูที่อยูในชวงอายุน้ที่มีคะแนน IQ มากกวา 160 ี 1.2 รอยละ 95 ของผูที่มีอายุในชวงนี้ ซึ่งเปนรอยละที่อยูชวงกลางของการแจกแจงมี คะแนน IQ อยูระหวางคาใด 2. ถาเด็กหญิงคนหนึ่งสอบ SAT วิชาคณิตศาสตรได 680 คะแนน สมมุติวาคะแนนสอบ SAT นี้มีก ารแจกแจงแบบปกติที่มีคา เฉลี่ยเลขคณิต 500 คะแนน และสวนเบี่ย งเบนมาตรฐาน 100 คะแนน และถาเด็ก ชายคนหนึ่ง ทําคะแนนสอบ ACT วิชาคณิตศาสตรได 27 คะแนน สมมุติ วาคะแนนสอบ ACT นีมการแจกแจงแบบปกติทมคาเฉลียเลขคณิต 18 คะแนน และสวนเบี่ยงเบน ้ ี ี่ ี  ่ มาตรฐาน 6 คะแนน ถาการทดสอบทังสองแบบวัดความสามารถ เชิงคณิตศาสตรแบบเดียวกัน เด็ก ้ ชายหรือเด็กหญิง มีคะแนนสอบดีกวากัน 3. จงใชตารางแจกแจงปกติมาตรฐาน เขียนรูปและแรเงาพืนทีใตโคงเพื่อตอบคําถามตอไปนี้ ้ ่ 3.1 พื้นที่ใตโคงที่มคา z < 2.85 ี 3.2 พื้นที่ใตโคงที่มคา z > 2.85 ี
  • 6. 72 3.3 พื้นที่ใตโคงที่มีคา z > –1.66 3.4 พื้นที่ใตโคงที่มีคา –1.66 < z < 2.85 4. สมมุตวาความกวางของศีรษะของผูขับขี่มอเตอรไซตรับจางมีการแจกแจงแบบปกติที่ ิ มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 22.8 นิ้วและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.1 นิ้ว ในการทําหมวกกันน็อคตองทํา คราวละมากๆ ใหทกคนใสไดยกเวนผูทมความกวางของศีรษะเล็กเกินไป หรือใหญเกินไป กลุมละ 5% ุ  ี่ ี  ซึ่งจะตองสั่งเปนพิเศษ อยากทราบวาผูที่มีขนาดศีรษะเทาใดที่จะตองสั่งหมวกกันน็อคเปนพิเศษ 5. เครื่องกดน้ําอัดลมเครื่องหนึ่งไดถูกตั้งไวใหจายน้ําอัดลมโดยเฉลี่ย 7.00 ออนซ ตอถวย สมมุติวาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้ําอัดลมที่จายคือ 0.10 ออนซ และปริมาณน้ําอัดลมที่จายมีการ  แจกแจงแบบปกติจงหา 5.1 เปอรเซ็นตทเี่ ครืองกดน้าอัดลมนีจะจายน้าอัดลมระหวาง 7.10 ถึง 7.25 ออนซ ่ ํ ้ ํ 5.2 เปอรเซ็นตที่เครื่องกดน้ําอัดลมนี้จะจายน้ําอัดลมอยางนอย 7.25 ออนซ 5.3 เปอรเซ็นตทเี่ ครืองกดน้าอัดลมนีจะจายน้าอัดลมระหวาง 6.80 ถึง 7.25 ออนซ ่ ํ ้ ํ 6. ถาฉลากขางกระปองของแฮมที่นําเขามาจากตางประเทศระบุวามีน้ําหนัก 9.00 ปอนด แตในการตรวจสอบพบวาน้ําหนักที่ซึ่งไดมีการแจกแจงแบบปกติที่มีคาเฉลี่ย เลขคณิต 9.20 ปอนด และสวนเบียงเบนมาตรฐาน 0.25 ปอนด จงหาวา ่ 6.1 จะมีแฮมบรรจุกระปองทีมนาหนักนอยกวาน้าหนักทีระบุไวบนฉลากในสัดสวนเทาใด ่ ี ้ํ ํ ่ 6.2 ถาบริษัทที่นําเขาตองการลดสัดสวนของแฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักนอยกวาที่ ระบุไวบนฉลากโดยมีทางเลือกสองทางไดแก วิธที่ 1 เพิมน้าหนักโดยเฉลียใหเปน 9.25 ปอนดโดยใหสวนเบียงเบนมาตรฐานมีคาคงเดิม ี ่ ํ ่  ่  วิธีที่ 2 ลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 0.15 ปอนดโดยใหน้ําหนักเฉลี่ยมีคาคงเดิม ทานจะแนะนําใหใชทางเลือกใด 7. ถายอดขายประจําปของนวนิยายเรื่องหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติแตไมทราบคาเฉลี่ย เลขคณิตและสวนเบียงเบนมาตรฐาน อยางไรก็ตามจากขอมูลทีเ่ ก็บมาทราบวารอยละ 40 ของทังหมดมี ่ ้ ยอดขายเกิน 470,000 บาท และรอยละ 10 ของทังหมดมียอดขายเกิน 500,000 บาท แลวคาเฉลียเลขคณิต ้ ่ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของยอดขายควรมีคาเทาใด 8. ถาคะแนนสอบเชาวปญญาของผูทมอายุ 20 ถึง 34 ป และผูทมอายุ 60 ถึง 64 ป มีการแจก   ี่ ี  ี่ ี แจงปกติโดยประมาณ โดยกลุมทีมอายุ 20 ถึง 34 ป มีคาเฉลียเลขคณิต 110 คะแนน สวนเบียงเบนมาตร  ่ ี  ่ ่ ฐาน 25 คะแนน และกลุมทีมอายุ 60 ถึง 64 ป มีคาเฉลียเลขคณิต 90 คะแนน สวนเบียงเบนมาตรฐาน 25  ่ ี  ่ ่ คะแนน นางสาวชวนชืนมีอายุ 30 ป สอบไดคะแนน 135 คะแนน ในขณะทีนางชวนชมซึงเปนแม ่ ่ ่ มีอายุ 62 ป สอบได 120 คะแนน ใครสอบไดคะแนนดีกวากันเมือเปรียบเทียบกับผูสอบในกลุมอายุ ่  นั้นๆ (รอยละของผูที่ไดคะแนนต่ํากวาชวนชื่นและชวนชมในกลุมอายุนั้นๆ เปนเทาใด)
  • 7. 73 9. พืนทีใตโคงปกติมาตรฐานตังแตควอรไทลทหนึงไปทางดานซายมือมีพนทีเ่ ทาใด ควอรไทลทหนึง ้ ่ ้ ี่ ่ ื้ ี่ ่ และควอรไทลที่สามของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานมีคาเทาใด เฉลยแบบทดสอบประจําบท 1. 1.1 ประมาณ 2.28 % 1.2 ระหวาง 60 ถึง 160 2. เด็กหญิงมีคะแนนมาตรฐาน 1.8 สวนเด็กชายมีคะแนนมาตรฐาน 1.5 ดังนั้นเด็กหญิงสอบได คะแนนดีกวาเด็กชาย 3. 3.1 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9978 3.2 พื้นที่ใตโคงคือ 0.0022 3.3 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9515 3.4 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9493 4. ผูที่มีขนาดศีรษะนอกชวง 22.8 ± 1.81 นิ้ว หรือผูที่มีศีรษะเล็กกวา 21 นิ้ว หรือใหญกวา 24.6 นิ้ว โดยประมาณจะตองสั่งหมวกกันน็อคเปนพิเศษ 5. 5.1 15.25% (จากคา z เทากับ 1 ถึง 2.5) 5.2 0.62% 5.3 97.10% (จากคา z เทากับ -2 ถึง 2.5) 6. 6.1 รอยละ 21.19 6.2 การเพิ่มน้ําหนักเฉลี่ย ทําใหไดคา z เทากับ –1.00 และใหคาสัดสวนคือ 0.1587 การลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทําใหไดคา z เทากับ –1.33 และใหคาสัดสวนคือ 0.0918 ดังนั้นการลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานลงจะเปนทางเลือกที่ดีกวาเพราะทําใหมีสดสวนของ ั แฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักต่ํากวามาตรฐานนอยกวา 470, 000 − µ 500, 000 − µ 7. จาก = 0.25 และ = 1.28 ทําใหไดคาเฉลี่ยเทากับ 462,719 บาท σ σ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 29,126 บาทโดยประมาณ 8. คะแนนมาตรฐานของชวนชื่นคือ 1 ขณะที่คะแนนมาตรฐานของชวนชมคือ 1.2 ดังนั้นแมของ ชวนชืนมีคะแนนสัมพัทธทสงกวา (แตชวนชืนมีคะแนนดิบสูงกวา) หรือพิจารณาจากเปอรเช็นไทล ่ ่ี ู ่ ของชวนชื่นคือ 84 ขณะที่เปอรเซ็นไทลของชวนชมคือ 88.5 โดยประมาณ 9. พืนทีนบตังแตควอรไทลทหนึงไปทางซายมือของการแจกแจงแบบใดๆ ตองเปน 0.2500 ควอรไทล ้ ่ ั ้ ี่ ่ ที่หนึ่งและควอรไทลที่สามของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานคือ –0.675 และ 0.675 โดย ประมาณ
  • 8. 74 เฉลยแบบฝกหัด 2.1 75 − 70 1. คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.3 15 = = 1 3 80 − 80 คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.4 = 20 = 0 คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.3 สูงกวาคามาตรฐานของ คะแนนในชั้น ม.4 แสดงวาวิชัยเรียนคณิตศาสตรในชั้น ม.3 ไดดีกวา 12 − µ 2. ถาให µ คือคาเฉลี่ยเลขคณิตจะไดวา 1 = 1.1 µ = 12 – 1.1 µ = 10.9 ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาที่ใชในการวิ่งของนักกีฬาทั้งหมดเปน 10.9 วินาที 80 − 85 1 3. คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาไทย = 15 = − 3 60 − 75 3 คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ = 20 = − 4 70 − 65 คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร = 5 = 1 ดังนั้น จิตราเรียนวิชาวิทยาศาสตรไดดีที่สุด x − 25 4. คามาตรฐานของอายุคนงาน 2 = 2 x = 4 + 25 x = 29 ดังนั้น คนงานที่มีอายุต้งแต 29 ปขึ้นไป จึงจะมีโอกาสไดรับเลือกเขาเปนคนงานของโรงงานนี้ ั 70 − 70 5. คามาตรฐานของวิชาที่ 1 ของนาย ก = 5 = 0 75 − 70 1 คามาตรฐานของวิชาที่ 2 ของนาย ก = 10 = 2 75 − 80 1 คามาตรฐานของวิชาที่ 3 ของนาย ก = 15 = − 3
  • 9. 75 0+ 1 −1 2 3 ดังนั้น คามาตรฐานเฉลี่ยของวิชาที่ 1, 2 และ 3 ของนาย ก = 3 = 1 18 75 − 70 คามาตรฐานของวิชาที่ 1 ของนางสาว ข = 5 = 1 50 − 70 คามาตรฐานของวิชาที่ 2 ของนางสาว ข = 10 = –2 95 − 80 คามาตรฐานของวิชาที่ 3 ของนางสาว ข = 15 1= 1− 2 +1 ดังนั้น คามาตรฐานเฉลี่ยอขงวิชาที่ 1, 2 และ 3 ของนางสาว ข = 3 = 0 แตเกณฑของหนวยงานผูสอบคัดเลือกไดจะตองไดคามาตรฐานเฉลี่ยของคะแนนทั้ง 3 วิชา ไมต่ํากวา 0 ดังนั้น นาย ก และนางสาว ข จะสอบคัดเลือกไดทั้งสองคน 650 − µ 6. ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตคือ µ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ σ จะไดวา 3 = σ µ + 3σ = 650 (1) 540 − µ และ 1.9 = σ µ + 1.9σ= 540 (2) จาก (1) และ (2) จะได 1.1σ = 110 σ = 100 และ µ = 650 – 300 µ = 350 ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบคือ 350 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนสอบคือ 100 คะแนน 90 − 289 7. (1) คามาตรฐานของผูปวยโรคหัวใจในรัฐอลาสกา = 54 = –3.69 ดังนั้น โรคหัวใจในรัฐอลาสกาจะมีความรุนแรงนอยกวารัฐอื่น ๆ
  • 10. 76 240 − 289 (2) คามาตรฐานของผูปวยโรคหัวใจในรัฐคาลิฟอรเนีย = 54 = –0.91 166 − 200 คามาตรฐานของผูปวยโรคมะเร็งในรัฐคาลิฟอรเนีย = 31 = –1.10 ดังนั้น ในรัฐคาลิฟอรเนียโรคหัวใจมีความรุนแรงมากกวาโรคมะเร็ง เมื่อเทียบกับที่พบ ในรัฐอื่น ๆในระดับประเทศ x i −µ 8. เนื่องจาก zi = σ x − 20 (1) 2 = 5 x = 10 + 20 x = 30 x − 25 (2) –1 = 3 x = –3 + 25 x = 22 x − 100 (3) –1.5 = 10 x = –15 + 100 x = 85 x − ( −10 ) (4) 2.5 = 0.2 0.5 = x + 10 x = 0.5 – 10 x = –9.5
  • 11. 77 เฉลยแบบฝกหัด 2.2 1. (1) ให x เปนคาของขอมูล โดยกําหนดให µ = 400 และ σ = 100 x −µ จาก z = σ 538 − 400 จะได z = 100 = 1.38 0 1.38 Z จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.38 เทากับ 0.4162 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเมื่อ z > 1.38 เทากับ 0.5 – 0.4162 = 0.0838 นั่นคือ มีขอมูล 8.38% ของขอมูลทั้งหมด มีคามากกวา 538 179 − 400 (2) จะได z = 100 = –2.21 Z -2.21 0 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –2.21 ถึง z = 0 เทากับ 0.4864 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z > –2.21 เทากับ 0.5 + 0.4865 = 0.9864 นั่นคือ มีขอมูล 98.64% ของขอมูลทั้งหมด มีคามากกวา 179
  • 12. 78 356 − 400 (3) จะได z = 100 = –0.44 Z -0.44 0 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.44 ถึง z = 0 เทากับ 0.1700 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –0.44 เทากับ 0.5 – 0.1700 = 0.3300 นั่นคือ มีขอมูล 33% ของขอมูลทั้งหมด มีคานอยกวา 356 621 − 400 (4) จะได z = 100 = 2.21 Z 0 2.21 จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.21 เทากับ 0.4864 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปก เมื่อ z < 2.21 เทากับ 0.5 + 0.4864 = 0.9864 นั่นคือ มีขอมูล 98.65% ของขอมูลทั้งหมด มีคานอยกวา 621
  • 13. 79 318 − 400 (5) จะได z1 = 100 = –0.82 671 − 400 z2 = 100 = 2.71 Z -0.82 0 2.71 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.71 เทากับ 0.4966 จะไดพ้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.82 ถึง z = 0 เทากับ 0.2939 ื ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –0.82 < z < 2.71 เทากับ 0.4966 + 0.2939 = 0.7905 นั่นคือ มีขอมูล 79.05% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 318 และ 671 484 − 400 (6) จะได z1 = 100 = 0.84 565 − 400 z2 = 100 = 1.65 Z 0 0.84 1.65 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.84 เทากับ 0.2995 จะไดพ้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.65 เทากับ 0.4505 ื ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ 0.84 < z < 1.65 เทากับ 0.4505 – 0.2995 = 0.1510 นั่นคือ มีขอมูล 15.09% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 484 และ 565
  • 14. 80 249 − 400 (7) จะได z1 = 100 = –1.51 297 − 400 z2 = 100 = –1.03 Z -1.51 -1.03 0 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1.51 ถึง z = 0 เทากับ 0.4345 จะไดพ้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1.03 ถึง z = 0 เทากับ 0.3485 ื ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.51 < z < –1.03 เทากับ 0.4345 – 0.3485 = 0.0860 นั่นคือ มีขอมูล 8.6% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 249 และ 297 2. (1) ให x เปนน้ําหนักของกาแฟ (กรัม) โดยกําหนด µ = 115.5 และ σ = 0.3 x −µ จาก z = σ 115 − 115.5 จะได z1 = 0.3 ≈ –1.667 115.5 − 115.5 z2 = 0.3 = 0 Z -1.667 0 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.66 เทากับ 0.4515 และ z = 0 ถึง z = 1.67 เทากับ 0.4525 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.001 × 0.007 0.4515 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.4522 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠
  • 15. 81 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.667 < z < 0 เทากับ 0.4522 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 45.22% ของขวดกาแฟทั้งหมด ที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนัก ระหวาง 115 กรัม และ 115.5 กรัม 114.9 − 115.5 (2) จะได z1 = 0.3 = –2 115.5 − 115.5 z2 = 0.3 = 0 Z -2 0 จะไดพ้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –2 < z < 0 เทากับ 0.4772 ื นั่นคือ มีขวดกาแฟ 47.72% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง 114.9 กรัม และ 115.5 กรัม 115.2 − 115.5 (3) จะได z1 = 0.3 = –1 115.9 − 115.5 z2 = 0.3 ≈ 1.333 Z -1 0 1.333 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.33 เทากับ 0.4082 และ z = 0 ถึง z = 1.34 เทากับ 0.4099 จะได พื้นที่เสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.333 เทากับ 0.0017 × 0.003 0.4082 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.4087 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠
  • 16. 82 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1 ถึง z = 0 เทากับ 0.3413 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1 < z < 1.333 เทากับ 0.4087 + 0.3413 = 0.75 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 75% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง 115.2 กรัม และ 115.9 กรัม 114.7 − 115.5 (4) จะได z1 = 0.3 ≈ –2.667 115 − 115.5 z2 = 0.3 ≈ –1.667 Z -2.667 -1.667 0 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.66 เทากับ 0.4961 และ z = 0 ถึง z = 2.67 เทากับ 0.4962 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.667 เทากับ 0.4961+0.00007=0.49617 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.4522 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –2.667 < z < –1.667 เทากับ 0.49617–0.4522 = 0.0440 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 4.4% ของกาแฟทั้งหมด ที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง 114.7 กรัม และ 115 กรัม 115.5 − 115.5 (5) จะได z = 0.3 = 0 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z > 0 เทากับ 0.5 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 50% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักมากกวา 115.5 กรัม Z 0
  • 17. 83 115 − 115.5 (6) จะได z = 0.3 ≈ –1.667 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.4522 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –1.667 เทากับ 0.5 – 0.4522 = 0.0478 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 4.78% ขวดกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักมากกวา 115 กรัม Z -1.667 0 3. (1) ให x เปนคะแนนสอบของนายไผท โดยกําหนด µ = 64 และ σ =8 x − µ จาก z = σ 62 − 64 จะได z = 8 = –0.25 Z -0.25 0 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.25 ถึง z = 0 เทากับ 0.0987 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –0.25 เทากับ 0.5 – 0.0987 = 0.4013 นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนไผท คือ 40.13 ในกลุมนักเรียนชาย
  • 18. 84 (2) ให x เปนคะแนนสอบของอาภัสรา โดยกําหนด µ = 60 และ σ = 10 73 − 60 จาก z = 10 = 1.3 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.3 เทากับ 0.4032 Z 0 1.3 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < 1.3 เทากับ 0.5 + 0.4032 = 0.9032 นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนอาภัสรา คือ 90.32 ในกลุมนักเรียนหญิง คะแนนของอาภัสราในกลุมนักเรียนชาย โดยกําหนด 73 − 64 จะได z = 8 = 1.125 Z 0 1.125 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.12 เทากับ 0.3686 และ z = 0 ถึง z = 1.13 เทากับ 0.3708 0.0022 × 0.005 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงระหวาง z = 0 ถึง z = 1.125 เทากับ 0.3686 + ⎛ 0.01 ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 0.3697 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < 1.125 เทากับ 0.5 + 0.3697 = 0.8697 นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนอาภัสรา คือ 86.97 ในกลุมนักเรียนชาย
  • 19. 85 4. (1) ให x เปนคะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 25 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง P25 เทากับ 0.25 0.25 Z P25 0 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.2518 คา z เทากับ 0.68 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.2486 คา z เทากับ 0.67 0.01 × 0.0014 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.25 คา z เทากับ 0.67 + ⎛ 0.0032 ⎞ ≈ 0.6744 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ x − µ จาก z = σ x − 72 –0.6744 = 12 x = 72 – 8.0928 x = 63.91 นั่นคือ คะแนน ที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 25 คือ 63.91 (2) ให x เปนคะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 90 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง P90 เทากับ 0.90 – 0.5 = 0.4 Z 0 P90 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4015 คา z เทากับ 1.29 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3997 คา z เทากับ 1.28 0.01 ×0.0003 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4 คา z เทากับ 1.28 + ⎛ 0.0018 ⎞ ⎜ ⎟ ≈ 1.2817 ⎝ ⎠
  • 20. 86 x − 72 จาก 1.2817 = 12 x = 72 + 15.3804 x = 87.38 นั่นคือ คะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 90 คือ 87.38 5. ให x เปนความหนาของแผนพลาสติก x −µ จาก z = σ 0.0595 − 0.0625 จะได z1 = 0.0025 = –1.2 0.0659 − 0.0625 z2 = 0.0025 = 1.36 Z -1.2 0 1.36 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.36 เทากับ 0.4131 และจะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.2 เทากับ 0.3849 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.2 < z < 1.36 เทากับ 0.4131 + 0.3849 = 0.7980 นั่นคือ มีแผนพลาสติก 79.8% ของพลาสติกทั้งหมดที่ผลิตไดมีความหนาอยูระหวาง 0.595 เซนติเมตร และ 0.0659 เซนติเมตร 6. เพราะวา 50.04% ของนาฬิกาทั้งหมดที่ผลิตไดมีความคลาดเคลื่อนระหวาง x กับ 0.136 วินาที x −µ จาก z = σ 0.136 − 0.00 z = 0.4 = 0.34
  • 21. 87 50.04% Z X 0 0.136 จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.34 เทากับ 0.1331 จากรูป จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติจาก z = 0 ถึง x เทากับ 0.5004 – 0.1331 = 0.3673 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3686 คา z เทากับ 1.12 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3665 คา z เทากับ 1.11 0.01 × 0.0008 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3673 คา z เทากับ 1.11 + ⎛ 0.0021 ⎞ ≈ 1.1138 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ x − 0.00 จะได –1.1138 = 0.4 x = –0.446 นั่นคือ x เทากับ –0.446 วินาที 7. Z X = 11.88 µ = 12.00 จากรูป จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติจาก x = 11.88 ถึง µ = 12.00 เทากับ 0.5–0.1151 = 0.3849 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3849 คา z เทากับ 1.20 x −µ จาก z = σ 11.88 − 12.00 –1.20 = σ − 0.12 σ = − 1.2 = 0.1 ดังนั้น ความแปรปรวนของน้ําหนักสุทธิของกระปองบรรจุถ่วที่ผลิตโดยบริษัทนี้เทากับ 0.01 ั
  • 22. 88 8. (1) กําหนด σ = 3, x = 6 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.09 0.41 0.09 Z X=6 0 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4099 คา z เทากับ 1.34 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4115 คา z เทากับ 1.35 × 0.0001 ⎞ ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.09 คา z เทากับ 1.34 + ⎛ 0.01 ⎜ ⎟ = 1.3406 ⎝ 0.0016 ⎠ 6−µ จะได –1.3406 = 3 µ = 6 + 4.0218 µ = 10.0218 ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตประมาณ 10.0218 เปนคา a ที่ตองการ (2) กําหนด µ = 10, x = 12 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.60 จากรูป พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง µ ถึง x = 12 เทากับ 0.6 – 0.5 = 0.1 µ X = 12 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1026 คา z เทากับ 0.26 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.0987 คา z เทากับ 0.25 0.01 × 0.0013 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1 คา z เทากับ 0.25 + ⎛ 0.0039 ⎞ ⎜ ⎟ ≈ 0.2533 ⎝ ⎠ 12 − 10 จะได 0.2533 = σ 2 σ = 0.2533 σ 7.90 ≈ ดังนั้น สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานประมาณ 7.90 เปนคา b ที่ตองการ
  • 23. 89 (3) กําหนด µ = 10, σ = 2 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.18 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1808 คา z เทากับ 0.47 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1772 คา z เทากับ 0.46 X µ 0.01 × 0.0028 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.18 คา z เทากับ 0.46 + ⎛ 0.0036 ⎞ = 0.4678 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ x − 10 จะได –0.4678 = 2 x = 10 – 0.9356 x = 9.0644 ดังนั้น คะแนนที่สนใจศึกษาประมาณ 9.06 เปนคา c ที่ตองการ (4) กําหนด µ = 3, σ = 1 และ x = 2 2−3 จะได z = 1 = –1 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –1 เทากับ 0.5 – 0.3413 = 0.1587 z = –1 µ ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนนที่ต่ํากวา 2 เทากับ 0.1587 เปนคา d ที่ตองการ
  • 24. 90 9. (1) ให x เปนคะแนนสอบ SAT โดยกําหนด µ = 505 และ σ = 111 x −µ จาก z = σ 400 − 505 จะได z1 = 111 = –0.946 600 − 505 z2 = 111 = 0.856 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.94 เทากับ 0.3264 พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.95 เทากับ 0.3289 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.946 เทากับ 0.0025 × 0.006 0.3264 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.3279 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ Z -0.946 0 0.856 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.85 เทากับ 0.3023 พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.86 เทากับ 0.3051 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.856 เทากับ 0.0028 × 0.006 0.3023 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.30398 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่อยูระหวาง 400 และ 600 เทากับ 0.3279 + 0.30398 = 0.63188 700 − 505 (2) จะได z = 111 ≈ 1.757 Z 0 1.757
  • 25. 91 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.75 เทากับ 0.4599 พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.76 เทากับ 0.4608 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.757 เทากับ 0.0009 × 0.007 0.4599 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.46053 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่มากกวา 700 เทากับ 0.5 – 0.46053 = 0.03947 450 − 505 (3) จะได z = 111 ≈ –0.495 Z -0.495 0 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.49 เทากับ 0.1879 พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.50 เทากับ 0.1915 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.495 เทากับ 0.0036 × 0.005 0.1879 + ⎛ 0.01 ⎞ = 0.1897 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่นอยกวา 450 เทากับ 0.5 – 0.1897 = 0.3103