SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
ขับเคลื่อนโลจิสติกส์และการตลาดอย่างไร ในยุคโลกไร้พรมแดน โดย ดร . ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บรรยายวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 18-2010
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Logistics Made Global Trade Driven Logistics   เคลื่อนย้าย จัดเก็บ กระจายสินค้า เป็นกลไกในการขับเคลื่อนการค้าของโลก Supply Chain  ทำให้เกิดบูรณาการเครือข่ายตอบสนองความต้องการ Value Chain  ทำให้เกิดขีดความสามารถในการแข่งขัน
การค้าเสรีภายใต้โลกาภิวัฒน์ (  Globalization ) EFTA NAFTA CAFTA India Sapta ASEAN-India ASEAN-China ASEAN-Japan ASEAN-CER ASEAN-Korea Mercosur
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
บทบาทโลจิสติกส์ภายข้อตกลง AEC :  ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน “  ขจัดภาษีนำเข้าสินค้าทุกรายการ ” ส่งออกสินค้าไปอาเซียน ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า การเป็นฐานการผลิตร่วมกัน  Customs Union & Co-Production ที่มา :  กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ลดภาษีตามลำดับ เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา ภาษี  0% ปี  255 8 อาเซียน  - 6 ภาษี  0% ปี  2553
AEC   Customs Union  Asian one country  one currency  one Market   ( 2015)   (2020)   ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเขตเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก การเปิดเสรีภาคโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว “  Priority Sectors: PS  4  สาขาภายในปี ค . ศ .2010 ” โลจิสติกส์ สาขาอื่น ปี  2551 (2008) 51% ปี  2553 (2010) 70% 49% ปี  2549 (2006) 70% ปี  2558 (2015) ปี  2556 (2013) 70% 30% 49% 51% สาขา  PS : เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],www.tanitsorat.com
Logistics Driven Under ASIAN Connectivity  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],โอกาสของธุรกิจไทยใน  AEC
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ผลกระทบของ AEC   ต่อประชากรในอาเซียน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Demand &Customer Satisfaction
การประยุกต์ทฤษฎีด้านโลจิสติกส์มาสู่การเป็นกลยุทธทางการตลาด    ( Logistics Implementation) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กิจกรรมเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้าย  –   จัดเก็บ  –   รวบรวม  –   กระจาย สินค้าบริการ  ,  ข้อมูลข่าวสาร   จากแหล่งกำเนิด  (Origin Source)  จนสินค้าได้มีการส่งมอบไป ถึงแหล่งที่มีความต้องการสุดท้าย  (Consumers Source) ภายใต้ต้นทุนที่แข่งขันได้ บนความพึงพอใจของลูกค้า
THE END ข้อมูลเพิ่มเติ่ม  www.tanitsorat.com

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie ขับเคลื่อนโลจิสติ

Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอลSmart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอลOBELS MFU
 
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...Software Park Thailand
 
Thailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSCThailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSCpantapong
 
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยมอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยPongsawat Krishnamra
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017Ratchakrit Klongpayabal
 
Infrastructure no 1
Infrastructure no 1Infrastructure no 1
Infrastructure no 1Santi Ch.
 
Information professional and digital economy
Information professional and digital economyInformation professional and digital economy
Information professional and digital economyMaykin Likitboonyalit
 

Ähnlich wie ขับเคลื่อนโลจิสติ (18)

E Commerce International Market 1
E Commerce International Market 1E Commerce International Market 1
E Commerce International Market 1
 
Technology trend for scg
Technology trend for scgTechnology trend for scg
Technology trend for scg
 
Thailand E-Commerce Trend by Pawoot TARAD.com
Thailand E-Commerce Trend by Pawoot TARAD.comThailand E-Commerce Trend by Pawoot TARAD.com
Thailand E-Commerce Trend by Pawoot TARAD.com
 
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอลSmart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
 
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
 
Future+health Vision
Future+health VisionFuture+health Vision
Future+health Vision
 
Thailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSCThailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSC
 
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยมอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
e-Commerce
e-Commercee-Commerce
e-Commerce
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
 
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
 
Infrastructure no 1
Infrastructure no 1Infrastructure no 1
Infrastructure no 1
 
Information professional and digital economy
Information professional and digital economyInformation professional and digital economy
Information professional and digital economy
 
It
ItIt
It
 
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
 

ขับเคลื่อนโลจิสติ

  • 1. ขับเคลื่อนโลจิสติกส์และการตลาดอย่างไร ในยุคโลกไร้พรมแดน โดย ดร . ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บรรยายวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 18-2010
  • 2.
  • 3. Logistics Made Global Trade Driven Logistics เคลื่อนย้าย จัดเก็บ กระจายสินค้า เป็นกลไกในการขับเคลื่อนการค้าของโลก Supply Chain ทำให้เกิดบูรณาการเครือข่ายตอบสนองความต้องการ Value Chain ทำให้เกิดขีดความสามารถในการแข่งขัน
  • 4. การค้าเสรีภายใต้โลกาภิวัฒน์ ( Globalization ) EFTA NAFTA CAFTA India Sapta ASEAN-India ASEAN-China ASEAN-Japan ASEAN-CER ASEAN-Korea Mercosur
  • 5.
  • 6. บทบาทโลจิสติกส์ภายข้อตกลง AEC : ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน “ ขจัดภาษีนำเข้าสินค้าทุกรายการ ” ส่งออกสินค้าไปอาเซียน ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า การเป็นฐานการผลิตร่วมกัน Customs Union & Co-Production ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ลดภาษีตามลำดับ เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา ภาษี 0% ปี 255 8 อาเซียน - 6 ภาษี 0% ปี 2553
  • 7. AEC Customs Union Asian one country one currency one Market ( 2015) (2020) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเขตเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก การเปิดเสรีภาคโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว “ Priority Sectors: PS 4 สาขาภายในปี ค . ศ .2010 ” โลจิสติกส์ สาขาอื่น ปี 2551 (2008) 51% ปี 2553 (2010) 70% 49% ปี 2549 (2006) 70% ปี 2558 (2015) ปี 2556 (2013) 70% 30% 49% 51% สาขา PS : เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. กิจกรรมเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้าย – จัดเก็บ – รวบรวม – กระจาย สินค้าบริการ , ข้อมูลข่าวสาร จากแหล่งกำเนิด (Origin Source) จนสินค้าได้มีการส่งมอบไป ถึงแหล่งที่มีความต้องการสุดท้าย (Consumers Source) ภายใต้ต้นทุนที่แข่งขันได้ บนความพึงพอใจของลูกค้า

Hinweis der Redaktion

  1. จากภาวะเศรษฐกิจโลก ที่ยังต้องเผชิญความเสี่ยงสูงต่อการฟื้นตัว ทั้งจากปัจจัยของประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ ทั้งสหรัฐ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น ที่ยังไม่มีสัญญาณ การฟื้นตัวที่ชัดเจน ส่งผลให้เศรษฐกิจโลกไม่กระเตื้องขึ้นอย่างเต็มที่ ที่สำคัญ การเจรจาการค้าพหุภาคีใน WTO ก็ไม่มีทีท่าจะสรุปได้ ทำให้หลายประเทศ หันไปจับคู่เปิดเขตการค้าเสรี ( FTA) มากขึ้น จนเป็นกระแสไปทั่วโลก โดยมุ่งหวังที่จะขยายปริมาณการค้า ทำให้หลายประเทศหันมาใช้ยุทธศาสตร์การจัดทำเขตการค้าเสรี ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ รวมทั้งไทยเองก็ได้ใช้ FTA เป็นเครื่องมือเพื่ออำนาจต่อรองและขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีการค้าโลกเช่นเดียวกัน การทำเขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) เป็นการรวมกลุ่มเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันให้เหลือน้อยที่สุดหรือเป็น 0 %   และใช้อัตราภาษีปกติที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม   ซึ่งการทำ FTA จะรวมถึงการเปิดเสรีการค้าบริการ (Services) และการลงทุน ( Investment) ด้วย
  2. เพิ่มช่องทางการส่งออกของไทย การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะทำให้ขนาดเศรษฐกิจของอาเซียนมีขนาดใหญ่เป็นลำดับ 3 ของโลกรองจาก เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือและสหภาพยุโรป ในขณะที่ประเทศทั่วโลกต่างได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจอย่างมากโดยเฉพาะประเทศในกลุ่ม G 3 อย่างสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ที่ถือเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย ดังนั้น การรวมตัวของอาเซียนในการลดภาษีและอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษีจึงเป็นความหวังของผู้ส่งออก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรวมตัวกันทำก่อให้เกิดตลาดขนาดใหญ่ซึ่งประกอบด้วยประชากรมากกว่า 560 ล้านคน รวมทั้งการผ่อนคลายกฎระเบียบและการอำนวยความสะดวกทางการค้าด้านต่างๆ เช่น การลด / ยกเลิกภาษีที่ที่เป็นภาษีและมิใช่ภาษี กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า การอำนวยความสะดวกด้านการค้า ความร่วมมือด้านมาตรฐานสินค้า ( MRA) ย่อมทำให้ผู้ส่งออกเกิดความมั่นใจและมีช่องทางในการส่งออกมากขึ้น
  3. ผลลัพธ์ของ AEC ประโยชน์สำคัญๆ ที่คาดว่าประเทศสมาชิกจะได้รับร่วมกันจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วย ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในภูมิภาค เนื่องจากมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน แรงงานได้อย่างเสรีมากขึ้น ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมการใช้วัตถุดิบ / ชิ้นส่วนที่ผลิตในภูมิภาค นอกจากนี้ การรวมตัวทางเศรษฐกิจจะก่อให้เกิดตลาดขนาดใหญ่ที่มีประชากรมากว่า 560 ล้านคน ช่วยดึงดูดการค้าและการลงทุนจากนอกภูมิภาค เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นผลจากการประหยัดจากขนาด ( economy of scale) การแบ่งงานกันทำ ( division of labor) และการพัฒนาความชำนาญในการผลิต ( specialization) รวมทั้งการพัมฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ร่วมกัน เสริมสร้างอำนาจการต่อรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การรวมตัวของอาเซียนจะก่อให้เกิดพันธมิตรและหุ้นส่วนทางธุรกิจ ลดการพึ่งพาตลาดภายนอก ซึ่งจะช่วยเพิ่มอำนาจต่อรองในเวทีเจรจาทั้งระดับภูมิภาคและพหุภาคี และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของแต่ละประเทศ อันเป็นผลจากขนาดตลาดและความร่วมมือเพื่อพัฒนาด้านต่างๆ ระหว่างกัน ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ผู้บริโภค ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อหาสินค้าได้หลากหลายมากขึ้นในราคาที่ถูกลง