SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายงาน
    เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
          และกฎหมายที่เกียวข้อง
                         ่
                     เสนอ
            คุณครู จุฑารัตน์ ใจบุญ
                  จัดทาโดย
           นางสาว กมลชภัทร์ บุญเกื้อ
              ชัน ม.6/1 เลขที่ 25
                ้
รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึงของวิชาการงานอาชีพและ
                          ่
                  เทคโนโลยี ง.33102
        โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
คำนำ


           รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ง.33102

จัดทาขึ้นเพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ของยุคปัจจุบนนี้ และเพื่อนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในระดับชั้นต่อไป
            ั



                 หากผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย
                                                        ้




                                                                  จัดทาโดย

                                                          นางสาว กมลชภัทร์ บุญเกื้อ

                                                               ชั้นม.6/1 เลขที่ 25
สำรบัญ

   เรื่อง                       หน้ ำ

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์            1-2

กฎหมายทางคอมพิวเตอร์            3 - 10
อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมำยทีเ่ กียวข้ อง
                                                   ่

                                   อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์
         เทคโนโลยีที่ทนสมัย แม้จะช่วยอานวยความสะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่ งที่ตองยอมรับความจริ งก็
                        ั                                                           ้
คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่น ข้อด้อยของตนทั้งสิ้ น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจากปั ญหาอื่นๆ
เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เป็ นปั ญหาหลักที่นบว่ายิงมี
                                                                                            ั ่
ความรุ นแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และ แหล่งที่เป็ นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ
อินเทอร์ เน็ต นับว่ารุ นแรงกว่าปั ญหาไวรัสคอมพิวเตอร์ เสี ยด้วยซ้ า หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นาไอทีมาใช้
งาน จึงต้องตระหนักในปั ญหานี้เป็ นอย่างยิง จาเป็ นต้องลงทุนด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษา
                                          ่
กระทาอย่างสม่าเสมอต่อเนื่ องแต่ไม่วาจะมีการป้ องกันดีเพียงใด ปั ญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ ก็มีอยู่
                                      ่
เรื่ อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่

      Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็ นอย่างยิง บุลากรใน
                                                                                    ่
                                                                ั
องค์กร หน่วยงานคุณไล่พนักงานออกจากงาน, สร้างความไม่พึงพอใจให้กบพนักงาน นี่แหล่ะปั ญหาของ
อาชญกรรมได้เช่นกัน

         Buffer overflow เป็ นรู ปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทาอันตรายให้กบระบบได้มากที่สุด โดยอาชญา
                                                                              ั
กรจะอาศัยช่องโหว่ของระบบปฏิบติการ และขีดจากัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม การส่ งคาสั่ง
                                       ั
ให้เครื่ องแม่ข่ายเป็ นปริ มาณมากๆ ในเวลาเดียวกัน ซึ่ งส่ งผลให้เครื่ องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ
หน่วยความจาไม่เพียงพอ จนกระทังเกิดการแฮงค์ของระบบ เช่นการสร้างฟอร์ มรับส่ งเมล์ท่ีไม่ได้ป้องกัน ผู ้
                                     ่
ไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์ มนั้นในการส่ งข้อมูลกระหน่ าระบบได้

     Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้างระบบ Backdoors เพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการ
ทางาน ซึ่ งหากอาชญากรรู ้เท่าทัน ก็สามารถใช้ประโยชน์จาก Backdoors นั้นได้เช่นกัน

       CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นิยมมากในการพัฒนาเว็บเซอร์ วส มักเป็ นช่องโหว่รุนแรงอีกทาง
                                                                 ิ
หนึ่งได้เช่นกัน

      Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้างฟิ ลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็ น
                            ั
ช่องทางที่อานวยความสะดวกให้กบอาชญากรได้เป็ นอย่างดี โดยการเปิ ดดูรหัสคาสั่ง (Source Code) ก็
สามารถตรวจสอบและนามาใช้งานได้ทนที
                                ั
Failing to Update การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผใช้นาไปปรับปรุ งเป็ นทางหนึ่งที่
                                                                     ู้
อาชญากร นาไปจู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์ น้ นๆ ได้เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของเว็บไซต์ หรื อระบบ จะทา
                                             ั
การปรับปรุ ง (Updated) ซอตฟ์ แวร์ ท่ีมีช่องโหว่น้ น ก็สายเกินไปเสี ยแล้ว
                                                  ั

        Illegal Browsing ธุ รกรรมทางอินเทอร์ เน็ต ย่อมหนี ไม่พนการส่ งค่าผ่านทางบราวเซอร์ แม้กระทัง
                                                                  ้                                   ่
รหัสผ่านต่างๆ ซึ่ งบราวเซอร์ บางรุ่ น หรื อรุ่ นเก่าๆ ย่อมไม่มีความสามารถในการเข้ารหัส หรื อป้ องกันการ
เรี ยกดูขอมูล นี่ก็เป็ นอีกจุดอ่อนของธุ รกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน
         ้

        Malicious scripts ก็เขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผูใช้เรี ยกเว็บไซต์ดูบนเครื่ องของตน มันใจ
                                                            ้                                    ่
หรื อว่าไม่เจอปั ญหา อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแผงในเอกสารเว็บ เมื่อถูกเรี ยก โปรแกรมนันจะถูกดึง
                                                                                             ่
                                                                                    ่
ไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอ็นต์ และทางานตามที่กาหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยเราเองไม่รู้วาเรานันแหล่ะเป็ นผู ้
                                                                                           ่
สั่งรันโปรแกรมนั้นด้วยตนเอง น่ากลัวเสี ยจริ งๆๆ

          Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ตามแต่จะกาหนด จะถูกเรี ยกทางาน
ทันทีเมื่อมีการเรี ยกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่ง
คุกกี้ที่บนทึกข้อมูลต่างๆ ของผูใช้ส่งกลับไปยังอาชญากร ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสาหรับหน่วยงานที่ใช้
          ั                         ้
                                  ่
ไอทีต้ งแต่เริ่ มแรก และดารงอยูอย่างอมตะตลอดกาล ในปี 2001 พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสี ยหาย
       ั
ได้สูงสุ ด เป็ นมูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท ในทัวโลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa
                                                 ่
ตามลาดับที่ไม่หย่อนกว่ากัน
กฎหมำยทำงคอมพิวเตอร์




                                    พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2550

                                   ทุกคนทีใช้ คอมพิวเตอร์ ต้องรู้
                                          ่

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่
เป็ นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ ให้
ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
                                                            ั
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า “พระราชบัญญัติวาด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
                                                  ่
๒๕๕๐”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิ บวันนับแต่วนประกาศในราชกิจจานุ เบกษา
                                ั                                 ั
เป็ นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติน้ ี “ระบบคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์
ที่เชื่อมการทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุ ดคาสั่ง หรื อสิ่ งอื่นใด และแนวทางปฏิบติงานให้
                                                                                             ั
อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
                                                      ่         ่                         ่
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสัง ชุดคาสัง หรื อสิ่ งอื่นใดบรรดาที่อยูในระบบ
คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุ รกรรมทางอิเล็กทรอนิ กส์ดวย  ้
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ ง
แสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริ มาณ ระยะเวลาชนิ ดของบริ การ หรื ออื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ น้ น
                                                    ั
“ผูให้บริ การ” หมายความว่า
    ้
(๑) ผูให้บริ การแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่ อินเทอร์ เน็ต หรื อให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่าน
      ้
                                 ่
ทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่วาจะเป็ นการให้บริ การในนามของตนเอง หรื อในนามหรื อเพื่อประโยชน์
ของบุคคลอื่น
(๒) ผูให้บริ การเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
        ้
 “ผูใช้บริ การ” หมายความว่า ผูใช้บริ การของผูให้บริ การไม่วาต้องเสี ยค่าใช้บริ การหรื อไม่ก็ตาม
    ้                          ้               ้               ่
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผูซ่ ึ งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี
                                        ้                         ั
“รัฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรี ผรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี
                                     ู้

                     ่
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรี วาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี
และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศใน
                                    ั
ราชกิจจานุ เบกษาแล้วให้ใช้บงคับได้
                           ั

หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

มาตรา ๕ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ
             ้
นั้น มิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้ง
ปรับ

มาตรา ๖ ผูใดล่วงรู ้มาตรการป้ องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ที่ผอื่นจัดทาขึ้นเป็ นการเฉพาะถ้านา
            ้                                                    ู้
มาตรการดังกล่าวไปเปิ ดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่น ต้องระวางโทษจาคุกไม่
                                                                             ู้
เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๗ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ
            ้
นั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๘ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซ่ ึง
          ้
                       ้         ่
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นที่อยูระหว่างการส่ งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นมิได้มีไว้
                                                                                         ั
เพื่อประโยชน์สาธารณะหรื อเพื่อให้บุคคลทัวไปใช้ประโยชน์ได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับ
                                           ่                 ้
ไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

            ้                                             ่        ่
มาตรา ๙ ผูใดทาให้เสี ยหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรื อเพิมเติมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน ซึ่ ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อ
                       ้
ทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผูอื่นถูกระงับ
           ้                                                                   ้
ชะลอ ขัดขวาง หรื อรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่
                                                    ้
เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๑๑ ผูใดส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิ ดหรื อปลอมแปลง
           ้
แหล่งที่มาของการส่ งข้อมูลดังกล่าว อันเป็ นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท

มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรื อมาตรา ๑๐
                                            ่
(๑) ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ประชาชน ไม่วาความเสี ยหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรื อในภายหลัง และไม่วา  ่
จะเกิดขึ้นพร้อมกันหรื อไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
(๒) เป็ นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ที่
เกี่ยวกับการรักษาความมันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมันคงในทางเศรษฐกิจ
                          ่                                                    ่
ของประเทศ หรื อการบริ การสาธารณะ หรื อเป็ นการกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ที่มี
ไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปี ถึงสิ บห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสาม
แสนบาท
มาตรา ๑๓ ผูใดจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ชุดคาสั่งที่จดทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการกระทา
              ้                               ั
ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรื อมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๑๔ ผูใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดงต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ง
                ้                          ั
แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
(๑) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ปลอมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน หรื อ
                                                                     ่
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่นหรื อประชาชน
                     ั                                                      ู้
(๒) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อ
                                                           ั
ความมันคงของประเทศหรื อก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
       ่
(๓) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ อันเป็ นความผิดเกี่ยวกับความมันคงแห่ง
                                                                                             ่
ราชอาณาจักรหรื อความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ ที่มีลกษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น
                                                                       ั                                   ั
ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้
              ่
                                                         ่
(๕) เผยแพร่ หรื อส่ งต่อซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยรู ้อยูแล้วว่าเป็ นข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตาม (๑)(๒) (๓) หรื อ
(๔)
มาตรา ๑๕ ผูให้บริ การผูใดจงใจสนับสนุนหรื อยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบ
            ้          ้
                  ่
คอมพิวเตอร์ ที่อยูในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผูกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔
                                                              ้

มาตรา ๑๖ ผูใดนาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้ซ่ ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็ น
                ้                                        ่
ภาพของผูอื่น และภาพนั้นเป็ นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรื อดัดแปลงด้วยวิธีการทาง
           ้
อิเล็กทรอนิกส์หรื อวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผอื่นนั้นเสี ยชื่อเสี ยง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง
                                                                ู้
หรื อได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อ
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็ นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์
โดยสุ จริ ต ผูกระทาไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเ้ สี ยหายใน
              ้
ความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสี ยก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรื อ บุตรของผูเ้ สี ยหายร้องทุกข์ได้
และให้ถือว่าเป็ นผูเ้ สี ยหาย

มาตรา ๑๗ ผูใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีนอกราชอาณาจักรและ
            ้
(๑) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรื อผูเ้ สี ยหายได้ร้องขอให้
      ้
ลงโทษ หรื อ
(๒) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรื อคนไทยเป็ นผูเ้ สี ยหายและผูเ้ สี ยหายได้ร้อง
        ้
ขอให้ลงโทษ
จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร

หมวด ๒
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๑๘ ภายใต้บงคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสื บสวนและสอบสวนในกรณี ที่มีเหตุอนควรเชื่อได้
                     ั                                                                           ั
ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจอย่างหนึ่ งอย่างใด ดังต่อไปนี้
เฉพาะที่จาเป็ นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิดและหาตัวผูกระทาความผิด
                                                                                            ้
(๑) มีหนังสื อสอบถามหรื อเรี ยกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีมาเพื่อให้
                                                                                ่
ถ้อยคา ส่ งคาชี้แจงเป็ นหนังสื อ หรื อส่ งเอกสาร ข้อมูล หรื อหลักฐานอื่นใดที่อยูในรู ปแบบที่สามารถเข้าใจได้
(๒) เรี ยกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากผูให้บริ การเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรื อ
                                              ้
จากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง
(๓) สั่งให้ผให้บริ การส่ งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผูใช้บริ การที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรื อที่อยูในความ
             ู้                                 ้            ้                            ่
ครอบครองหรื อควบคุมของผูให้บริ การให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
                               ้
(๔) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีเหตุอนควรเชื่อได้
                                                                                               ั
                                                                                        ่
ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ในกรณี ที่ระบบคอมพิวเตอร์ น้ นยังมิได้อยูในความครอบครอง
                                                                             ั
ของพนักงานเจ้าหน้าที่
(๕) สั่งให้บุคคลซึ่ งครอบครองหรื อควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่ ง
มอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ดงกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
                                         ั
(๖) ตรวจสอบหรื อเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ที่
ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคลใด อันเป็ นหลักฐานหรื ออาจใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทา
ความผิด หรื อเพื่อสื บสวนหาตัวผูกระทาความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ขอมูลจราจรทาง
                                    ้                                                  ้
คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จาเป็ นให้ดวยก็ได้
                                           ้
(๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคลใด หรื อสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทาการถอดรหัสลับ หรื อให้ความร่ วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการถอดรหัสลับ
ดังกล่าว
(๘) ยึดหรื ออายัดระบบคอมพิวเตอร์ เท่าที่จาเป็ นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทราบรายละเอียดแห่งความผิด
และผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี
       ้

มาตรา ๑๙ การใช้อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
(๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อมีคาสั่งอนุ ญาตให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการ
                           ื่
                                                          ่
ตามคาร้อง ทั้งนี้ คาร้องต้องระบุเหตุอนควรเชื่ อได้วาบุคคลใดกระทาหรื อกาลังจะกระทาการอย่างหนึ่งอย่าง
                                     ั
ใดอันเป็ นความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี เหตุที่ตองใช้อานาจ ลักษณะของการกระทาความผิด รายละเอียด
                                                    ้
เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการกระทาความผิดและผูกระทาความผิด เท่าที่สามารถจะระบุได้ ประกอบคาร้อง
                                                      ้
ด้วยในการพิจารณาคาร้องให้ศาลพิจารณาคาร้องดังกล่าวโดยเร็ วเมื่อศาลมีคาสั่งอนุ ญาตแล้ว ก่อนดาเนินการ
ตามคาสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสาเนาบันทึกเหตุอนควรเชื่อที่ทาให้ตองใช้อานาจตามมาตรา ๑๘
                                                               ั                  ้
(๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรื อผูครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้เป็ นหลักฐาน แต่ถาไม่
                                                ้                               ั                   ้
มีเจ้าของหรื อผูครอบครองเครื่ องคอมพิวเตอร์ อยู่ ณ ที่น้ น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งมอบสาเนาบันทึกนั้น
                ้                                           ั
ให้แก่เจ้าของหรื อ
ผูครอบครองดังกล่าวในทันทีที่กระทาได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผเู ้ ป็ นหัวหน้าในการดาเนินการตามมาตรา
   ้
๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
(๘) ส่ งสาเนาบันทึกรายละเอียดการดาเนินการและเหตุผลแห่งการดาเนินการให้ศาลที่มีเขตอานาจภายในสี่
สิ บแปดชัวโมงนับแต่เวลาลงมือดาเนินการ เพื่อเป็ นหลักฐานการทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามมาตรา ๑๘
           ่
                                                  ่
(๔) ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอนควรเชื่ อได้วามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี และต้องไม่
                                  ั
เป็ นอุปสรรคในการดาเนินกิจการของเจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นเกินความจาเป็ น การ
                                                        ้                           ั
ยึดหรื ออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่ งมอบสาเนาหนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดมอบให้
เจ้าของหรื อผูครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้เป็ นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรื ออายัด
              ้                               ั
ไว้เกินสามสิ บวันมิได้ ในกรณี จาเป็ นที่ตองยึดหรื ออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจ
                                         ้                                 ื่
เพื่อขอขยายเวลายึดหรื ออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้งเดียวหรื อหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกิน
หกสิ บวัน เมื่อหมดความจาเป็ นที่จะยึดหรื ออายัดหรื อครบกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่ตอง
                                                                                                ้
ส่ งคืนระบบคอมพิวเตอร์ที่ยึดหรื อถอนการอายัดโดยพลัน หนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดตามวรรคห้าให้
เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๒๐ ในกรณี ที่การกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี เป็ นการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมันคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่กาหนดไว้ในภาคสอง
                                                  ่
ลักษณะ ๑ หรื อลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรื อที่มีลกษณะขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อ
                                                                ั
ศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี อาจยืนคาร้อง พร้อม
                                                                                      ่
แสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอานาจขอให้มีคาสั่งระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น ั
ได้ ในกรณี ที่ศาลมีคาสั่งให้ระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ทาการระงับการทาให้แพร่ หลายนั้นเอง หรื อสังให้ผให้บริ การระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง
                                                       ่ ู้
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นก็ได้
                     ั

มาตรา ๒๑ ในกรณี ที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่า ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใดมีชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์รวมอยูดวย  ่ ้
พนักงานเจ้าหน้าที่อาจยืนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อขอให้มีคาสั่งห้ามจาหน่ายหรื อเผยแพร่ หรื อสั่งให้
                       ่
เจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นระงับการใช้ ทาลายหรื อแก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นได้
                ้                             ั                                                 ั
หรื อจะกาหนดเงื่อนไขในการใช้ มีไว้ในครอบครอง หรื อเผยแพร่ ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ดงกล่าวก็ได้
                                                                                        ั
ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคาสั่งที่มีผลทาให้ขอมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบ
                                                                    ้
คอมพิวเตอร์ หรื อชุดคาสั่งอื่นเกิดความเสี ยหาย ถูกทาลาย ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรื อเพิ่มเติมขัดข้อง หรื อ
ปฏิบติงานไม่ตรงตามคาสั่งที่กาหนดไว้ หรื อโดยประการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ เว้นแต่เป็ น
     ั
ชุดคาสั่งที่มุ่งหมายในการป้ องกันหรื อแก้ไขชุดคาสั่งดังกล่าวข้างต้น ตามที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา

มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิ ดเผยหรื อส่ งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใดความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้
                            ้
                                                   ั ้
บังคับกับการกระทาเพื่อประโยชน์ในการดาเนิ นคดีกบผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี หรื อเพื่อ
ประโยชน์ในการดาเนินคดีกบพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อานาจหน้าที่
                          ั
โดยมิชอบ หรื อเป็ นการกระทาตามคาสังหรื อที่ได้รับอนุ ญาตจากศาลพนักงานเจ้าหน้าที่ผใดฝ่ าฝื นวรรคหนึ่ง
                                      ่                                            ู้
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ผใดกระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้ผอื่นล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ขอมูลจราจร
                             ู้                               ู้       ้               ้
ทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อ
                                ้
ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๒๔ ผูใดล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่
             ้           ้                                                       ้
พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิ ดเผยข้อมูลนั้นต่อผูหนึ่งผูใด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสอง
                                                             ้      ้
ปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตาม
พระราชบัญญัติน้ ี ให้อางและรับฟังเป็ นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
                      ้
ความอาญาหรื อกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสื บพยานได้ แต่ตองเป็ นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจมีคามัน
                                                     ้                                          ่
สัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรื อโดยมิชอบประการอื่น

มาตรา ๒๖ ผูให้บริ การต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้ไม่นอยกว่าเก้าสิ บวันนับแต่วนที่ขอมูล
                 ้                                                        ้                       ั ้
นั้นเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณี จาเป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสังให้ผให้บริ การผูใดเก็บรักษาข้อมูล
                                                                      ่ ู้            ้
จราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้เกินเก้าสิ บวัน แต่ไม่เกินหนึ่งปี เป็ นกรณี พิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้ ผู ้
ให้บริ การจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผูใช้บริ การเท่าที่จาเป็ นเพื่อให้สามารถระบุตวผูใช้บริ การ นับตั้งแต่เริ่ ม
                                     ้                                          ั ้
ใช้บริ การและต้องเก็บรักษาไว้เป็ นเวลาไม่นอยกว่าเก้าสิ บวันนับตั้งแต่การใช้บริ การสิ้ นสุ ดลง ความในวรรค
                                            ้
              ั ้
หนึ่งจะใช้กบผูให้บริ การประเภทใด อย่างไร และเมื่อใด ให้เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา
ผูให้บริ การผูใดไม่ปฏิบติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท
  ้            ้       ั

มาตรา ๒๗ ผูใดไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลหรื อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรื อมาตรา ๒๐
              ้        ั
หรื อไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรับเป็ น
            ั
รายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะปฏิบติให้ถูกต้อง
                                          ั

มาตรา ๒๘ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้รัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูมีความรู้และความ
                                                                                    ้
ชานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรี กาหนด

มาตรา ๒๙ ในการปฏิบติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็ นพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อ
                     ั
ตารวจชั้นผูใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอานาจรับคาร้องทุกข์หรื อรับคากล่าวโทษ
           ้
และมีอานาจในการสื บสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ในการจับ ควบคุม ค้น การทา
สานวนสอบสวนและดาเนินคดีผกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี บรรดาที่เป็ นอานาจของพนักงานฝ่ าย
                              ู้
ปกครองหรื อตารวจชั้นผูใหญ่ หรื อพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้
                         ้
พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป ให้
                                                 ้
นายกรัฐมนตรี ในฐานะผูกากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติ และรัฐมนตรี มีอานาจ ร่ วมกันกาหนดระเบียบ
                       ้
เกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบติในการดาเนินการตามวรรคสอง
                           ั
มาตรา ๓๐ ในการปฏิบติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ตองแสดงบัตรประจาตัวต่อบุคคลซึ่ งเกี่ยวข้อง บัตร
                   ั                           ้
ประจาตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็ นไปตามแบบที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
  ้
พลเอก สุ รยุทธ์ จุลานนท์
นายกรัฐมนตรี

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปั จจุบนระบบคอมพิวเตอร์ ได้
                                                                               ั
เป็ นส่ วนสาคัญ ของการประกอบกิจการ และการดารงชีวิตของมนุษย์ หากมีผกระทาด้วยประการใด ๆ ให้
                                                                          ู้
ระบบคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถทางานตามคาสั่งที่กาหนดไว้ หรื อทาให้การทางานผิดพลาดไปจากคาสั่งที่
กาหนดไว้ หรื อใช้วธีการใด ๆ เข้าล่วงรู ้ขอมูล แก้ไข หรื อทาลายข้อมูลของบุคคลอื่น ในระบบคอมพิวเตอร์
                   ิ                     ้
โดยมิชอบ หรื อใช้ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเผยแพร่ ขอมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ หรื อมีลกษณะอันลามก
                                                   ้                ั               ั
อนาจาร ย่อมก่อให้เกิดความเสี ยหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมันคงของรัฐ รวมทั้ง
                                                                                  ่
ความสงบสุ ขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกาหนดมาตรการเพื่อป้ องกันและปราบปรามการ
กระทาดังกล่าว จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี

ที่มา : http://www.cowboythai.com/forum/index.php?topic=1443.msg9206;topicse
เอกสำรอ้ำงอิง


http://www.dld.go.th/ict/article/security/sec02.html

http://www.gotoknow.org/posts/372559http://www.cowboythai.com/forum/index.p
hp?topic=1443.msg9206;topicse
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืดJiraprapa Noinoo
 
รายงานก้อย
รายงานก้อยรายงานก้อย
รายงานก้อยJiraprapa Noinoo
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยNakkarin Keesun
 
รายงาน อาย
รายงาน อายรายงาน อาย
รายงาน อายJiraprapa Noinoo
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องMind Candle Ka
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมJariya Huangjing
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสMind Candle Ka
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์4971
 
รายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยวรายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยวAtcharaspk
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 

Was ist angesagt? (15)

รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
รายงานก้อย
รายงานก้อยรายงานก้อย
รายงานก้อย
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัย
 
รายงาน อาย
รายงาน อายรายงาน อาย
รายงาน อาย
 
Poopdf
PoopdfPoopdf
Poopdf
 
โบว์Pdf
โบว์Pdfโบว์Pdf
โบว์Pdf
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิวอาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิว
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบส
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยวรายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยว
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 

Ähnlich wie อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1

รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืดJiraprapa Noinoo
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
รายงานเมย์
รายงานเมย์รายงานเมย์
รายงานเมย์Kanjana ZuZie NuNa
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลAY'z Felon
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11Tidatep Kunprabath
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวMind Candle Ka
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์Tidatep Kunprabath
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์Tidatep Kunprabath
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..Sirisak Promtip
 
จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..Sirisak Promtip
 

Ähnlich wie อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1 (18)

รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
รายงานเมย์
รายงานเมย์รายงานเมย์
รายงานเมย์
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอล
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาว
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
จิรทีปต์ ณ นคร
จิรทีปต์  ณ นครจิรทีปต์  ณ นคร
จิรทีปต์ ณ นคร
 
จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..
 
จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..
 

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1

  • 1. รายงาน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกียวข้อง ่ เสนอ คุณครู จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาว กมลชภัทร์ บุญเกื้อ ชัน ม.6/1 เลขที่ 25 ้ รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึงของวิชาการงานอาชีพและ ่ เทคโนโลยี ง.33102 โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
  • 2. คำนำ รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ง.33102 จัดทาขึ้นเพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ของยุคปัจจุบนนี้ และเพื่อนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในระดับชั้นต่อไป ั หากผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ จัดทาโดย นางสาว กมลชภัทร์ บุญเกื้อ ชั้นม.6/1 เลขที่ 25
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้ ำ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 1-2 กฎหมายทางคอมพิวเตอร์ 3 - 10
  • 4. อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมำยทีเ่ กียวข้ อง ่ อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีที่ทนสมัย แม้จะช่วยอานวยความสะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่ งที่ตองยอมรับความจริ งก็ ั ้ คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่น ข้อด้อยของตนทั้งสิ้ น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจากปั ญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เป็ นปั ญหาหลักที่นบว่ายิงมี ั ่ ความรุ นแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และ แหล่งที่เป็ นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์ เน็ต นับว่ารุ นแรงกว่าปั ญหาไวรัสคอมพิวเตอร์ เสี ยด้วยซ้ า หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นาไอทีมาใช้ งาน จึงต้องตระหนักในปั ญหานี้เป็ นอย่างยิง จาเป็ นต้องลงทุนด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษา ่ กระทาอย่างสม่าเสมอต่อเนื่ องแต่ไม่วาจะมีการป้ องกันดีเพียงใด ปั ญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ ก็มีอยู่ ่ เรื่ อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่ Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็ นอย่างยิง บุลากรใน ่ ั องค์กร หน่วยงานคุณไล่พนักงานออกจากงาน, สร้างความไม่พึงพอใจให้กบพนักงาน นี่แหล่ะปั ญหาของ อาชญกรรมได้เช่นกัน Buffer overflow เป็ นรู ปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทาอันตรายให้กบระบบได้มากที่สุด โดยอาชญา ั กรจะอาศัยช่องโหว่ของระบบปฏิบติการ และขีดจากัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม การส่ งคาสั่ง ั ให้เครื่ องแม่ข่ายเป็ นปริ มาณมากๆ ในเวลาเดียวกัน ซึ่ งส่ งผลให้เครื่ องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความจาไม่เพียงพอ จนกระทังเกิดการแฮงค์ของระบบ เช่นการสร้างฟอร์ มรับส่ งเมล์ท่ีไม่ได้ป้องกัน ผู ้ ่ ไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์ มนั้นในการส่ งข้อมูลกระหน่ าระบบได้ Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้างระบบ Backdoors เพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการ ทางาน ซึ่ งหากอาชญากรรู ้เท่าทัน ก็สามารถใช้ประโยชน์จาก Backdoors นั้นได้เช่นกัน CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นิยมมากในการพัฒนาเว็บเซอร์ วส มักเป็ นช่องโหว่รุนแรงอีกทาง ิ หนึ่งได้เช่นกัน Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้างฟิ ลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็ น ั ช่องทางที่อานวยความสะดวกให้กบอาชญากรได้เป็ นอย่างดี โดยการเปิ ดดูรหัสคาสั่ง (Source Code) ก็ สามารถตรวจสอบและนามาใช้งานได้ทนที ั
  • 5. Failing to Update การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผใช้นาไปปรับปรุ งเป็ นทางหนึ่งที่ ู้ อาชญากร นาไปจู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์ น้ นๆ ได้เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของเว็บไซต์ หรื อระบบ จะทา ั การปรับปรุ ง (Updated) ซอตฟ์ แวร์ ท่ีมีช่องโหว่น้ น ก็สายเกินไปเสี ยแล้ว ั Illegal Browsing ธุ รกรรมทางอินเทอร์ เน็ต ย่อมหนี ไม่พนการส่ งค่าผ่านทางบราวเซอร์ แม้กระทัง ้ ่ รหัสผ่านต่างๆ ซึ่ งบราวเซอร์ บางรุ่ น หรื อรุ่ นเก่าๆ ย่อมไม่มีความสามารถในการเข้ารหัส หรื อป้ องกันการ เรี ยกดูขอมูล นี่ก็เป็ นอีกจุดอ่อนของธุ รกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน ้ Malicious scripts ก็เขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผูใช้เรี ยกเว็บไซต์ดูบนเครื่ องของตน มันใจ ้ ่ หรื อว่าไม่เจอปั ญหา อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแผงในเอกสารเว็บ เมื่อถูกเรี ยก โปรแกรมนันจะถูกดึง ่ ่ ไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอ็นต์ และทางานตามที่กาหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยเราเองไม่รู้วาเรานันแหล่ะเป็ นผู ้ ่ สั่งรันโปรแกรมนั้นด้วยตนเอง น่ากลัวเสี ยจริ งๆๆ Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ตามแต่จะกาหนด จะถูกเรี ยกทางาน ทันทีเมื่อมีการเรี ยกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่ง คุกกี้ที่บนทึกข้อมูลต่างๆ ของผูใช้ส่งกลับไปยังอาชญากร ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสาหรับหน่วยงานที่ใช้ ั ้ ่ ไอทีต้ งแต่เริ่ มแรก และดารงอยูอย่างอมตะตลอดกาล ในปี 2001 พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสี ยหาย ั ได้สูงสุ ด เป็ นมูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท ในทัวโลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa ่ ตามลาดับที่ไม่หย่อนกว่ากัน
  • 6. กฎหมำยทำงคอมพิวเตอร์ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2550 ทุกคนทีใช้ คอมพิวเตอร์ ต้องรู้ ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่ เป็ นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ ั มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า “พระราชบัญญัติวาด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ่ ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิ บวันนับแต่วนประกาศในราชกิจจานุ เบกษา ั ั เป็ นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติน้ ี “ระบบคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมการทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุ ดคาสั่ง หรื อสิ่ งอื่นใด และแนวทางปฏิบติงานให้ ั อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ ่ ่ ่ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสัง ชุดคาสัง หรื อสิ่ งอื่นใดบรรดาที่อยูในระบบ คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุ รกรรมทางอิเล็กทรอนิ กส์ดวย ้ “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ ง แสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริ มาณ ระยะเวลาชนิ ดของบริ การ หรื ออื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ น้ น ั “ผูให้บริ การ” หมายความว่า ้
  • 7. (๑) ผูให้บริ การแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่ อินเทอร์ เน็ต หรื อให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่าน ้ ่ ทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่วาจะเป็ นการให้บริ การในนามของตนเอง หรื อในนามหรื อเพื่อประโยชน์ ของบุคคลอื่น (๒) ผูให้บริ การเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น ้ “ผูใช้บริ การ” หมายความว่า ผูใช้บริ การของผูให้บริ การไม่วาต้องเสี ยค่าใช้บริ การหรื อไม่ก็ตาม ้ ้ ้ ่ “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผูซ่ ึ งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี ้ ั “รัฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรี ผรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี ู้ ่ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรี วาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศใน ั ราชกิจจานุ เบกษาแล้วให้ใช้บงคับได้ ั หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ ้ นั้น มิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้ง ปรับ มาตรา ๖ ผูใดล่วงรู ้มาตรการป้ องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ที่ผอื่นจัดทาขึ้นเป็ นการเฉพาะถ้านา ้ ู้ มาตรการดังกล่าวไปเปิ ดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่น ต้องระวางโทษจาคุกไม่ ู้ เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๗ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ ้ นั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๘ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซ่ ึง ้ ้ ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นที่อยูระหว่างการส่ งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นมิได้มีไว้ ั เพื่อประโยชน์สาธารณะหรื อเพื่อให้บุคคลทัวไปใช้ประโยชน์ได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับ ่ ้ ไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ้ ่ ่ มาตรา ๙ ผูใดทาให้เสี ยหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรื อเพิมเติมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน ซึ่ ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อ ้ ทั้งจาทั้งปรับ
  • 8. มาตรา ๑๐ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผูอื่นถูกระงับ ้ ้ ชะลอ ขัดขวาง หรื อรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่ ้ เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๑ ผูใดส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิ ดหรื อปลอมแปลง ้ แหล่งที่มาของการส่ งข้อมูลดังกล่าว อันเป็ นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรื อมาตรา ๑๐ ่ (๑) ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ประชาชน ไม่วาความเสี ยหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรื อในภายหลัง และไม่วา ่ จะเกิดขึ้นพร้อมกันหรื อไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท (๒) เป็ นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ที่ เกี่ยวกับการรักษาความมันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมันคงในทางเศรษฐกิจ ่ ่ ของประเทศ หรื อการบริ การสาธารณะ หรื อเป็ นการกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ที่มี ไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปี ถึงสิ บห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสาม แสนบาท มาตรา ๑๓ ผูใดจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ชุดคาสั่งที่จดทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการกระทา ้ ั ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรื อมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๔ ผูใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดงต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ง ้ ั แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ (๑) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ปลอมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน หรื อ ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่นหรื อประชาชน ั ู้ (๒) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อ ั ความมันคงของประเทศหรื อก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน ่ (๓) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ อันเป็ นความผิดเกี่ยวกับความมันคงแห่ง ่ ราชอาณาจักรหรื อความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ ที่มีลกษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น ั ั ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้ ่ ่ (๕) เผยแพร่ หรื อส่ งต่อซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยรู ้อยูแล้วว่าเป็ นข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตาม (๑)(๒) (๓) หรื อ (๔)
  • 9. มาตรา ๑๕ ผูให้บริ การผูใดจงใจสนับสนุนหรื อยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบ ้ ้ ่ คอมพิวเตอร์ ที่อยูในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผูกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ้ มาตรา ๑๖ ผูใดนาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้ซ่ ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็ น ้ ่ ภาพของผูอื่น และภาพนั้นเป็ นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรื อดัดแปลงด้วยวิธีการทาง ้ อิเล็กทรอนิกส์หรื อวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผอื่นนั้นเสี ยชื่อเสี ยง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง ู้ หรื อได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็ นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยสุ จริ ต ผูกระทาไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเ้ สี ยหายใน ้ ความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสี ยก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรื อ บุตรของผูเ้ สี ยหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็ นผูเ้ สี ยหาย มาตรา ๑๗ ผูใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีนอกราชอาณาจักรและ ้ (๑) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรื อผูเ้ สี ยหายได้ร้องขอให้ ้ ลงโทษ หรื อ (๒) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรื อคนไทยเป็ นผูเ้ สี ยหายและผูเ้ สี ยหายได้ร้อง ้ ขอให้ลงโทษ จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๘ ภายใต้บงคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสื บสวนและสอบสวนในกรณี ที่มีเหตุอนควรเชื่อได้ ั ั ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจอย่างหนึ่ งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะที่จาเป็ นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิดและหาตัวผูกระทาความผิด ้ (๑) มีหนังสื อสอบถามหรื อเรี ยกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีมาเพื่อให้ ่ ถ้อยคา ส่ งคาชี้แจงเป็ นหนังสื อ หรื อส่ งเอกสาร ข้อมูล หรื อหลักฐานอื่นใดที่อยูในรู ปแบบที่สามารถเข้าใจได้ (๒) เรี ยกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากผูให้บริ การเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรื อ ้ จากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง (๓) สั่งให้ผให้บริ การส่ งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผูใช้บริ การที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรื อที่อยูในความ ู้ ้ ้ ่ ครอบครองหรื อควบคุมของผูให้บริ การให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ้ (๔) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีเหตุอนควรเชื่อได้ ั ่ ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ในกรณี ที่ระบบคอมพิวเตอร์ น้ นยังมิได้อยูในความครอบครอง ั ของพนักงานเจ้าหน้าที่
  • 10. (๕) สั่งให้บุคคลซึ่ งครอบครองหรื อควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่ ง มอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ดงกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ั (๖) ตรวจสอบหรื อเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ที่ ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคลใด อันเป็ นหลักฐานหรื ออาจใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทา ความผิด หรื อเพื่อสื บสวนหาตัวผูกระทาความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ขอมูลจราจรทาง ้ ้ คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จาเป็ นให้ดวยก็ได้ ้ (๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคลใด หรื อสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทาการถอดรหัสลับ หรื อให้ความร่ วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการถอดรหัสลับ ดังกล่าว (๘) ยึดหรื ออายัดระบบคอมพิวเตอร์ เท่าที่จาเป็ นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทราบรายละเอียดแห่งความผิด และผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ้ มาตรา ๑๙ การใช้อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อมีคาสั่งอนุ ญาตให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการ ื่ ่ ตามคาร้อง ทั้งนี้ คาร้องต้องระบุเหตุอนควรเชื่ อได้วาบุคคลใดกระทาหรื อกาลังจะกระทาการอย่างหนึ่งอย่าง ั ใดอันเป็ นความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี เหตุที่ตองใช้อานาจ ลักษณะของการกระทาความผิด รายละเอียด ้ เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการกระทาความผิดและผูกระทาความผิด เท่าที่สามารถจะระบุได้ ประกอบคาร้อง ้ ด้วยในการพิจารณาคาร้องให้ศาลพิจารณาคาร้องดังกล่าวโดยเร็ วเมื่อศาลมีคาสั่งอนุ ญาตแล้ว ก่อนดาเนินการ ตามคาสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสาเนาบันทึกเหตุอนควรเชื่อที่ทาให้ตองใช้อานาจตามมาตรา ๑๘ ั ้ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรื อผูครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้เป็ นหลักฐาน แต่ถาไม่ ้ ั ้ มีเจ้าของหรื อผูครอบครองเครื่ องคอมพิวเตอร์ อยู่ ณ ที่น้ น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งมอบสาเนาบันทึกนั้น ้ ั ให้แก่เจ้าของหรื อ ผูครอบครองดังกล่าวในทันทีที่กระทาได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผเู ้ ป็ นหัวหน้าในการดาเนินการตามมาตรา ้ ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ส่ งสาเนาบันทึกรายละเอียดการดาเนินการและเหตุผลแห่งการดาเนินการให้ศาลที่มีเขตอานาจภายในสี่ สิ บแปดชัวโมงนับแต่เวลาลงมือดาเนินการ เพื่อเป็ นหลักฐานการทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามมาตรา ๑๘ ่ ่ (๔) ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอนควรเชื่ อได้วามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี และต้องไม่ ั เป็ นอุปสรรคในการดาเนินกิจการของเจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นเกินความจาเป็ น การ ้ ั ยึดหรื ออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่ งมอบสาเนาหนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดมอบให้ เจ้าของหรื อผูครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้เป็ นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรื ออายัด ้ ั ไว้เกินสามสิ บวันมิได้ ในกรณี จาเป็ นที่ตองยึดหรื ออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจ ้ ื่ เพื่อขอขยายเวลายึดหรื ออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้งเดียวหรื อหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกิน
  • 11. หกสิ บวัน เมื่อหมดความจาเป็ นที่จะยึดหรื ออายัดหรื อครบกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่ตอง ้ ส่ งคืนระบบคอมพิวเตอร์ที่ยึดหรื อถอนการอายัดโดยพลัน หนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดตามวรรคห้าให้ เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๐ ในกรณี ที่การกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี เป็ นการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมันคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่กาหนดไว้ในภาคสอง ่ ลักษณะ ๑ หรื อลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรื อที่มีลกษณะขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อ ั ศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี อาจยืนคาร้อง พร้อม ่ แสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอานาจขอให้มีคาสั่งระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น ั ได้ ในกรณี ที่ศาลมีคาสั่งให้ระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ทาการระงับการทาให้แพร่ หลายนั้นเอง หรื อสังให้ผให้บริ การระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง ่ ู้ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นก็ได้ ั มาตรา ๒๑ ในกรณี ที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่า ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใดมีชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์รวมอยูดวย ่ ้ พนักงานเจ้าหน้าที่อาจยืนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อขอให้มีคาสั่งห้ามจาหน่ายหรื อเผยแพร่ หรื อสั่งให้ ่ เจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นระงับการใช้ ทาลายหรื อแก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นได้ ้ ั ั หรื อจะกาหนดเงื่อนไขในการใช้ มีไว้ในครอบครอง หรื อเผยแพร่ ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ดงกล่าวก็ได้ ั ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคาสั่งที่มีผลทาให้ขอมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบ ้ คอมพิวเตอร์ หรื อชุดคาสั่งอื่นเกิดความเสี ยหาย ถูกทาลาย ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรื อเพิ่มเติมขัดข้อง หรื อ ปฏิบติงานไม่ตรงตามคาสั่งที่กาหนดไว้ หรื อโดยประการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ เว้นแต่เป็ น ั ชุดคาสั่งที่มุ่งหมายในการป้ องกันหรื อแก้ไขชุดคาสั่งดังกล่าวข้างต้น ตามที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิ ดเผยหรื อส่ งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใดความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้ ้ ั ้ บังคับกับการกระทาเพื่อประโยชน์ในการดาเนิ นคดีกบผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี หรื อเพื่อ ประโยชน์ในการดาเนินคดีกบพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อานาจหน้าที่ ั โดยมิชอบ หรื อเป็ นการกระทาตามคาสังหรื อที่ได้รับอนุ ญาตจากศาลพนักงานเจ้าหน้าที่ผใดฝ่ าฝื นวรรคหนึ่ง ่ ู้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ผใดกระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้ผอื่นล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ขอมูลจราจร ู้ ู้ ้ ้ ทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อ ้ ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
  • 12. มาตรา ๒๔ ผูใดล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ ้ ้ ้ พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิ ดเผยข้อมูลนั้นต่อผูหนึ่งผูใด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสอง ้ ้ ปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตาม พระราชบัญญัติน้ ี ให้อางและรับฟังเป็ นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ้ ความอาญาหรื อกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสื บพยานได้ แต่ตองเป็ นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจมีคามัน ้ ่ สัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรื อโดยมิชอบประการอื่น มาตรา ๒๖ ผูให้บริ การต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้ไม่นอยกว่าเก้าสิ บวันนับแต่วนที่ขอมูล ้ ้ ั ้ นั้นเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณี จาเป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสังให้ผให้บริ การผูใดเก็บรักษาข้อมูล ่ ู้ ้ จราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้เกินเก้าสิ บวัน แต่ไม่เกินหนึ่งปี เป็ นกรณี พิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้ ผู ้ ให้บริ การจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผูใช้บริ การเท่าที่จาเป็ นเพื่อให้สามารถระบุตวผูใช้บริ การ นับตั้งแต่เริ่ ม ้ ั ้ ใช้บริ การและต้องเก็บรักษาไว้เป็ นเวลาไม่นอยกว่าเก้าสิ บวันนับตั้งแต่การใช้บริ การสิ้ นสุ ดลง ความในวรรค ้ ั ้ หนึ่งจะใช้กบผูให้บริ การประเภทใด อย่างไร และเมื่อใด ให้เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ผูให้บริ การผูใดไม่ปฏิบติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ้ ้ ั มาตรา ๒๗ ผูใดไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลหรื อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรื อมาตรา ๒๐ ้ ั หรื อไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรับเป็ น ั รายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะปฏิบติให้ถูกต้อง ั มาตรา ๒๘ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้รัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูมีความรู้และความ ้ ชานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรี กาหนด มาตรา ๒๙ ในการปฏิบติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็ นพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อ ั ตารวจชั้นผูใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอานาจรับคาร้องทุกข์หรื อรับคากล่าวโทษ ้ และมีอานาจในการสื บสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ในการจับ ควบคุม ค้น การทา สานวนสอบสวนและดาเนินคดีผกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี บรรดาที่เป็ นอานาจของพนักงานฝ่ าย ู้ ปกครองหรื อตารวจชั้นผูใหญ่ หรื อพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้ ้ พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป ให้ ้ นายกรัฐมนตรี ในฐานะผูกากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติ และรัฐมนตรี มีอานาจ ร่ วมกันกาหนดระเบียบ ้ เกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบติในการดาเนินการตามวรรคสอง ั
  • 13. มาตรา ๓๐ ในการปฏิบติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ตองแสดงบัตรประจาตัวต่อบุคคลซึ่ งเกี่ยวข้อง บัตร ั ้ ประจาตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็ นไปตามแบบที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผูรับสนองพระบรมราชโองการ ้ พลเอก สุ รยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปั จจุบนระบบคอมพิวเตอร์ ได้ ั เป็ นส่ วนสาคัญ ของการประกอบกิจการ และการดารงชีวิตของมนุษย์ หากมีผกระทาด้วยประการใด ๆ ให้ ู้ ระบบคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถทางานตามคาสั่งที่กาหนดไว้ หรื อทาให้การทางานผิดพลาดไปจากคาสั่งที่ กาหนดไว้ หรื อใช้วธีการใด ๆ เข้าล่วงรู ้ขอมูล แก้ไข หรื อทาลายข้อมูลของบุคคลอื่น ในระบบคอมพิวเตอร์ ิ ้ โดยมิชอบ หรื อใช้ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเผยแพร่ ขอมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ หรื อมีลกษณะอันลามก ้ ั ั อนาจาร ย่อมก่อให้เกิดความเสี ยหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมันคงของรัฐ รวมทั้ง ่ ความสงบสุ ขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกาหนดมาตรการเพื่อป้ องกันและปราบปรามการ กระทาดังกล่าว จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี ที่มา : http://www.cowboythai.com/forum/index.php?topic=1443.msg9206;topicse