SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
43



                               กรณีศ ึก ษา
     1.      ข้    อ    มู     ล       ส่     ว      น        บุ           ค        ค       ล
     ชื่อผู้ป่วย         ด .ญ .ธั ญ ญ า รั ต น์                        ( น้ อ ง กิ๊ ฟ                )
      อายุ               14         ปี                9            เ           ดื       อ        น
     เชื้อชาติ                ไ                 ท                  ย
     สัญชาติ                  ไ             ท             ย
     ศาสนา                    พุ                     ท                              ธ
     สถานภาพสมรส                   โ                                   ส                                 ด
     ระดับการศึกษา                 มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่                                              3
     อาชีพ                    ใ        น        ป        ก         ค            ร       อ        ง
    ที่ อ ยู่ ปั จ จุ บั น บ้ า นเลขที่ 595/1 ถนน ราชบู ร ณะ เขตบางปะ
ก อ ก          แ ข ว ง ร า ช บู ร ณ ะ          ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร
     ภู มิ ลำา         เ น า                ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร
     วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 12 ธันวาคม 2555                                                     ห อ ผู้
ป่   ว ย                  เ จ้ า ฟ้ า        ฯ                                                   6
     วันที่รับไว้ในความดูแล              18         ธั น ว า ค ม                                 2555
     วันที่ผู้ป่วยพ้นจากความดูแล                    26 ธั น ว า ค ม                             2555
2.    ส รุ ป ส ภ า ว ะ ผู้ ป่ ว ย ก่ อ น รั บ ไ ว้ ใ น ค ว า ม ดู แ ล
    ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 14 ปี 9 เดือน นำ้าหนัก 50 กิโลกรัม เข้ารับ
การรักษาในโรงพยาบาล วันที่                       12 ธันวาคม 2555 มาโรง
พยาบาลด้วยอาการ เข่าขวาบวม เป็น มา 3 วัน มีอาการเจ็บเสียวเวลา
ลงนำ้า หนั ก        มี ป ระวั ติ เ ข่ า บวมเมื่ อ 2 เดื อ นก่ อ นจากการปั่ น
จักรยาน อาการบวมดีขึ้น และมีประวัติท้องเสียเข้ารับการรักษาที่โรง
พยาบาลเจริญกรุง ฯ ตั้งแต่วันที่ 16 – 26 พฤศจิกายน 2555 วันนี้
43


มาตรวจมี เ ข่ า ขวาบวม มี ไ ข้   แรกรั บ เมื่ อ ตรวจร่ า งกายแล้ ว พบว่ า
Right Knee warm , swelling , Limit extension ได้รับการทำา
Arthrocentesis พบ joint fluid : straw color - turbidity
RBC : few WBC : 240000 ( N = 89 L = 8 ) synovial cell
= 3% sugar = 63 protein = 4.9 gramstain พบ Neumerous
PMNS No organism seen                      AFB : Negative ร อ ผ ล
Culture แพทย์ จึ ง ให้ น อนโรงพยาบาลเพื่ อ ให้ ย าปฏิ ชี ว นะ การวิ นิ จ
แ    ร      ก      แ     ร     ก    รั         บ           คื    อ
     1. Septic              Arthritis                   at     right             knee
     2. SLE c LN classIII
3.         ร     า     ย      ง       า         น        ป         ร   ะ    วั     ติ
     3.1 แ ห ล่ ง ที่ ม า แ ล ะ ห รื อ                       / ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล
     จ า ก ข้ อ มู ล ใ น แ ฟ้ ม ป ร ะ วั ติ                  และจากมารดา
     3.2        อ       า       ก         า         ร        สำา           คั      ญ
       มี เ ข่ า ข ว า บ ว ม แ ด ง            3 วั น ก่ อ น ม า โ ร ง พ ย า บ า ล
     3.3 ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ปั จ จุ บั น
     Known case SLE c LN classIII (Dx ส .ค . 55 ) Start
  Pulse methyl prednisolone 3 วั น then prednisolone
  ( 5 ) 6 * 2 O pc start IVCY ครั้งแรก 500 mg/m2 ล่าสุด
  ได้ IVCY ครั้ ง ที่ 4 ( 30 พ.ย. ) ปั จ จุ บั น on prednisolone
  ( 5 )    8 * 1 O pc Amlodipine ( 5 )               1 * 1 O pc
    2 เดื อ นก่ อ น มี ป ระวั ติ เ ข่ า ขวาบวม เนื่ อ งจากปั่ น จั ก รยานแต่
ป ฏิ เ ส ธ อุ บั ติ เ ห ตุ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า อ า ก า ร บ ว ม ห า ย เ อ ง
   1 เดือนก่อน มีประวัติเคยนอนโรงพยาบาลเจริญกรุง ฯ ตั้งแต่วันที่
16 – 26 พ.ย. 55 ด้วย Diarrhea ได้รับได้รับยาปฏิชีวนะ ผล H /
C              –              NG
43


     3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเข่าขวาบวม แดง อักเสบ เจ็บ
เวลาลงนำ้าหนัก แพทย์จึงให้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้ยาแก้อักเสบฆ่า
เชื้อ


   3.4    ป ร ะ วั ติ เ จ็ บ ป่ ว ย ใ น อ ดี ต
     สุขภาพของมารดาขณะตั้งครรภ์ผู้ป่วยรายนี้แข็งแรงดี ฝากครรภ์ที่
โรงพยาบาลเจริญกรุง ฯ ผลการตรวจเลือดปกติ มาตรวจตามนัดอย่าง
ต่ อ เนื่ อ ง มารดาคลอดบุ ต รครรภ์ ค รบกำา หนด นำ้า หนั ก แรกคลอด
3,030 กรั ม แรกคลอดสุ ข ภาพแข็ ง แรงดี เด็ ก เจริ ญ เติ บ โตตาม
พัฒนาการ ได้รับวัคซีนครบตามกำาหนด ไม่เคยเจ็บป่วยด้วยโรคร้ายแรง
มีประวัติแพ้ยา Clindamycin และ Roxythromycin มีอาการผื่น
ขึ้นทั่วตัว ปากบวม ปฏิเสธการแพ้อาหาร ปฏิเสธโรคทางพั นธุกรรม
แ ล ะ โ ร ค ติ ด ต่ อ บุ ค ล ใ น ค ร อ บ ค รั ว มี สุ ข ภ า พ แ ข็ ง แ ร ง
   3.5 ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ใ น ค ร อ บ ค รั ว
43




3.6 เ ค รื อ ข่ า ย แ ล ะ แ ห ล่ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว
43


      3.7        ป ร ะ เ มิ น ห น้ า ที่ ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว
     1. Adaptation ครอบครัวของผู้ป่วยมีการช่วยเหลือซึ่งกันและ
กั นในเวลาที่มี ปั ญ หาโดยช่ ว ยกั นคิ ด และหาแนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หา
     2. Partnership สมาชิ ก ในครอบครั ว มี ก ารพู ด คุ ย หรื อ ตั ด สิ น
ปั ญ ห า ด้ ว ย ค ว า ม ป ร ะ นี ป ร ะ น อ ม ใ ช้ เ ห ตุ ผ ล ม า ก ก ว่ า อ า ร ม ณ์
   3. Growth สมาชิกในครอบครัวมีอิสระในการเลือกวิถีชีวิตของ
ต น เ อ ง    ไ ม่ มี ก า ร บั ง คั บ ถ้ า มี เ ห ตุ ผ ล
    4. Affection เมื่ อ มี อ ารมณ์ โ กรธครอบครั ว ก็ จ ะพยายามให้
อารมณ์ บรรเทาลง เมื่อเศร้าหรื อ เสี ย ใจครอบครั ว ก็ จ ะคอยปลอบโยน
      5. Resolve สมาชิ ก ในครอบครั ว มี เ วลาให้ กั น อย่ า งเพี ย งพอ
      3.8 ป ร ะ วั ติ ส่ ว น ตั ว แ ล ะ         แ บ บ แ ผ น ก า ร ดำา เ นิ น ชี วิ ต
              ประวัติส่วนตัว เกิดวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 คลอดปกติที่
     โรงพยาบาลเจริญกรุง ฯ นำ้าหนักแรกคลอด 3,030 กรัม ได้รับ
     วัคซีนครบทุกครั้ง พัฒนาการและการเจริญเติบโตสมวัย เป็นบุตรคน
     เดี ย วของครอบครั ว อาศั ย อยู่ กับ บิ ด า – มารดา และคุ ณ ปู่ กำา ลั ง
     เ รี ย น อ ยู่ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 โ ร ง เ รี ย น ข จ ร โ ร จ น์ วิ ท ย า
     3.9 ป ร ะ วั ต ิ ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ต า ม ร ะ บ บ (Review of system)
1.       ก า ร ต ร ว จ ใ บ ห น้ า (Face)               แ ล ะ ผิ ว ห นั ง ( Skin )
        พบลักษณะใบหน้าบวมจากการรับ ประทานยา Steriod มีผื่น
      บริ เ วณใบหน้ า ผิ ว หนั ง ค่ อ นข้ า งแห้ ง กร้ า น แตก โดยเฉพาะ
      บ         ริ         เ           ว            ณ          ข      า
2. ก า ร ต ร ว จ ร ะ บ บ                         Musculoskeletal                system
     พบเข่าขวาบวม แดง ร้อน ขยับเคลื่อนไหวข้อลำาบาก มี Limit
  Extension ไม่สามารถต้านแรงได้เนื่องจากมีอาการเจ็บ ปวด เวลา
  ข                         ยั                             บ
4. ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ ร่ า ง ก า ย จิ ต ใ จ                           สั ง ค ม
43


    4.1 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ท า ง ชี ว ส รี ร ภ า พ           18 ธั น ว า ค ม        2555
      อุ ณ หภู มิ ร่ า งกาย 36 องศาเซลเซี ย ส ความดั น โลหิ ต
121 / 74 มิลลิเมตรปรอท          ชีพจร 102 ครั้ง /นาที อัตราการ
หายใจ 22 ครั้ง / นาที นำ้า ห นั ก 50 กิ โ ล ก รั ม ส่ ว น สู ง 159
เ     ซ           น        ติ    เ     ม         ต       ร
  4.2 การประเมินสภาพร่างกาย อารมณ์ และจิตใจของผู้ป่วยเมื่อแรก
พ                                                           บ
        ผู้ ป่ ว ยเป็ น เด็ ก วั ย รุ่ น หญิ ง ไทย รู ป ร่ า งสู ง ใหญ่ ผิ ว สี นำ้า ผึ้ ง มี
อาการอ่อนเพลีย มีสีหน้าวิตกกังวล มีใบหน้าบวมจากการรับระทาน
ยา Steriod บริ เ วณเข่ า ขวาบวม แดง เจ็ บ เสี ย วเวลาขยั บ หรื อ
เคลื่อนไหว ถ้าขยับมากบางครั้งร้องไห้ ไม่ค่อยพูด แต่ถ้าซักถามก็
จะพู ด คุ ย ด้ ว ย เวลาบิ ด า – มารดามาเยี่ ย มจะมี สี ห น้ า สดชื่ น ยิ้ ม แย้ ม
แ               จ่             ม                ใ          ส            ขึ้                น




4.3 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ ร่ า ง ก า ย ต า ม ร ะ บ บ ทุ ก ร ะ บ บ
            4.3.1 รู ป ร่ า งลั ก ษณะทั่ ว ไป ผิ ว หนั ง เล็ บ ต่ อ มนำ้า เหลื อ ง
( General appearance Skin Nails and lymphatic ) รูปร่างสูง
ใหญ่ ลักษณะเป็นคนเงียบ เรียบร้อย มีสีหน้าวิตกกังวล ผิวสีนำ้าผึ้ง มี
รอยแห้งแตกโดยเฉพาะที่ขา จากการสัมผัสอุณหภูมิกายอุ่น ผิวค่อน
ข้างแห้ง หยาบ มีความยืดหยุ่นน้อย มีบวม แดงบริเวณหัวเข่า เล็บ
สีชมพูจาง ไม่พบแผลบริเวณโคนเล็บ ไม่พบ Spoon nail ไม่พบ
ต่อมนำ้าเหลืองโต                       4.3.2 ศี ร ษ ะ แ ล ะ ใ บ ห น้ า แ ล ะ ลำา ค อ
( Head Face and Neck ) เส้นผมสีนำ้า ตาลดำา บาง นิ่ม กระจายทั่ว
ศี ร ษ ะ ส มำ่า เ ส ม อ ไ ม่ มี เ ห า ห รื อ รั ง แ ค ก ะ โ ห ล ก ศี ร ษ ะ รู ป ร่ า ง ป ก ติ
Symmetry ดี คลำา กะโหลกแข็ ง เรี ย บไม่ พ บก้ อ น ใบหน้ า 2 ข้ า ง
Symmetry เคลื่ อ นไหวได้ ต ามปกติ มี ใ บหน้ า บวมกดไม่ บุ๋ ม มี ผื่ น
บ ริ เ ว ณ ใ บ ห น้ า ค ลำา ไ ม่ พ บ ก้ อ น                           ก ด ไ ม่ เ จ็ บ
43


         ตา ( Eyes ) ขนคิ้วขนตาสีดำา กระจายตัวสมำ่า เสมอ ตาทั้งสอง
ข้างมีขนาดเท่ากันอยู่ในระดับเดียวกัน และสมมาตรกัน ตาไม่บวม ไม่มี
ขี้ตา เมื่อหลับตาเปลือกตาปิดได้สนิท เมื่อลืมตาหนังตาไม่ตก ลูกตาอยู่
ตรงกลางเบ้ า ตาไม่ โ ปน ตาไม่ เ หล่ ทดสอบ corneal light reflex
แสงสะท้อนอยู่ตรงกลางรูม่านตา กระจกตาใส ตาขาวมีสีขาวใส เยื่อบุ
เ ป ลื อ ก สี ช ม พู อ่ อ น ไ ม่ มี ก า ร ก ร ะ ตุ ก ข อ ง เ ป ลื อ ก ต า ดำา
       หู ( Ears ) รู ป ร่ า งใบหู ป กติ ข นาดใบหู เ ท่ า กั น ทั้ ง สอ งข้ า ง
ตำา แหน่ ง หู อ ยู่ ใ นแนว Eye occipital line คลำา ภายนอกไม่ พ บก้ อ น
ไม่มีอาการกดเจ็บ เจาะหู ไม่มีสารคัดหลั่ง ไม่มีตุ่มหนอง ตรวจสอบการ
ไ             ด้          ยิ         น         ป              ก              ติ
      จมูก ( Nose ) จมูกมีรูปร่างปกติ เป็นสันอยู่ในแนวกลาง ไม่มี
อาการปีกจมูกบานขณะหายใจ เยื่ อบุ จมู กสี ชมพูชุ่มชื้ น turbinate
ไม่บวมแดง ไม่มีสารคัดหลั่ง คลำาไม่พบก้อน กดบริเวณ Sinuses ไม่
เ                   จ็                     บ
        ปากและฟัน ( Mouth and throat ) ริมฝีปากสีชมพู ค่อนข้าง
แห้ง เยื่อบุกระพุ้งแก้ม ช่องปากเพดานปาก และเหงือกสีชมพูอ่อน ชุ่ม
ชื้นไม่มีแผลที่มุมปาก ลิ้นไม่เป็นฝ้า ไม่มีแผลในกระพุ้งแก้ม        การสบ
ฟัน ฟันบนครอบฟันล่าง ฟันสีขาวมีคราบหินปูนเกาะเล็กน้อย พบฟัน
ก ร า ม ด้ า น ล่ า ง ผุ ป ร ะ ม า ณ 3 ซี่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า แ ล้ ว
    คอ ( Trachea ) มี สี ผิ ว เดี ย วกั บ บริ เ วณ อื่ น ๆ ไม่ มี ผ ดผื่ น
Symmetry ทั้งสองข้าง คลำาไม่พบก้อน            กดไม่เจ็บ Trachea เป็น
แนวอยู่ กึ่ ง กลาง ต่ อ มไทรอยด์ ไ ม่ โ ต คอเคลื่ อ นไหวได้ เ ป็ น ปกติ
     จากการคลำาต่อมนำ้าเหลือง
               คลำาไม่พบ Pre - auricular lymph node
                                คลำาไม่พบ Posterior - auricular
   lymph node                                       ค ลำา ไ ม่ พ บ
   Occipital lymph node
        คลำาไม่พบ Tonsilar Lymph node
                          คลำา ไม่ พ บ Submental Lymph node
43


                                                  ค ลำา ไ ม่ พ บ
 Submaxillary Lymph node
      คลำาไม่พบ Deep cervical chain
                  คลำา ไม่ พ บ Posterior cervicular Lymph
 node                                 คลำา ไม่ พ บ Superficial
 Lymph node                                          คลำาไม่พบ
 Supraclavicular Lymph node
             4.3.3 ทรวงอกและทางเดิ น หายใจ ( Thorax and
lungs ) รูปร่างทรวงอกไม่โป่งตึง สมมาตรกันดี ไม่มีอกไก่ ไม่มีอก
ถังเบียร์ หายใจสมำ่าเสมอ 22 ครั้ง / นาที AP: Lateral diameter
= 1:2 การเคลื่ อ นไหวของทรวงอกสั ม พั น ธ์ กั บ การหายใจ คลำา
บริเวณอกไม่พบก้อน กดไม่เจ็บ และการขยายของทรวงอกเท่ากัน
ทั้ ง 2 ข้าง คลำา tactile fremitus แรงสั่ นสะเทือ นเท่ ากั นทั้ ง 2
ข้าง เคาะบริเวณทรวงอกไม่ พ บเสี ย งผิ ด ปกติ ฟั งเสีย งหายใจปกติ
ไ ม่ มี เ สี ย ง แ ท ร ก ไ ม่ มี เ สี ย ง secretion sound
       4.3.4 หั ว ใจและหลอดเลื อ ด ( Cardiovascular system )
ทรวงอกไม่มีโป่งนูน ไม่พบ Heaving ไม่พบการเต้นของหัวใจที่ผิด
ปกติ ไม่ มี neck vein engorge หรื อ เส้ น เลื อ ดโป่ ง พอง ไม่ มี
หายใจตื้นหรือหายใจลำาบาก คลำาไม่พบ Thills PMI อยู่ตำาแหน่ง
Intercostals space ที่ 4 ตั ด กั บ Midclavicular Line         ฟั ง
Heart sound ไม่ มี Murmur ได้ ยิ น เสี ย งการเต้ น ของหั ว ใจเป็ น
จั งหวะสมำ่า เสมอ อัต ราการเต้ นของหั ว ใจ 102 ครั้ ง / นาที คลำา
ชีพจรส่วนปลาย ( Peripheral Pulse ) ชัดเจนและสมำ่าเสมอเท่า
กั น ดี            บ ริ เ ว ณ ตำา                แ ห น่ ง
   Carotid Pulse             Brachial Pulse          Radial
Pulse
   Femeral Pulse             Popitial Pulse          Dorsalis
Pulse
43


     4.3.5 หน้ า ท้ อ งและทางเดิ น อาหาร ( Abdomen ) ท้ อ งไม่ โ ต
ลั กษณะรูปร่างหน้ าท้อ งกลม สมมาตรดี ไม่มี Lesion ไม่มี การเต้ น
หรื อ การเคลื่อ นไหวที่ผิ ด ปกติ สะดือ ไม่ โป่ ง นู น ฟั ง Bowel sound
ทั้ง 4 quadrants ได้ 4-5 ครั้ง / นาที เคาะท้องได้ยินเสียงโปร่ง (
Tympanic ) คลำา ไม่พบก้อน กดไม่เจ็บ คลำาตับใต้ชายโครงขวาไม่
โต คลำาม้ามที่ชายโครงซ้ายไม่โต ต่อมนำ้าเหลืองบริเวณขาหนีบทั้ง
ส       อ        ง      ข้      า     ง         ไ         ม่   โ     ต
      4.3.6 ระบบประสาท ( Nerveous system ) รู้สึกตัวดี พูดคุยรู้
เรื่องโต้ตอบได้ไม่สับสนการเคลื่อ นไหวของกล้ ามเนื้อ ใบหน้า หน้ า
ผาก รอบปาก การยั ก คิ้ ว ทำา ปากจู๋ ดู ส มมาตรกั น ทั้ ง สองข้ า ง การ
เคลื่อนไหวของลำาตัวแขนขาปกติ ไม่มีเกร็ง กระตุก กล้ามเนื้อไม่ ฝ ่อ
Sensory system ปกติ Reflex ต่ า ง ๆ ปกติ ยกเว้ น ที่ หั ว เข่ า
ไ ม่ ไ ด้ ต ร ว จ   ก า ร ต ร ว จ Cranial nerves ต่ า ง ๆ
     คู่ ที่ 1 Olfactory nerve พ บ ก า ร ด ม ก ลิ่ น รั บ ก ลิ่ น ป ก ติ
     คู่ ที่ 2 Optic nerve สามารถมองเห็ น และอ่ า นหนั ง สื อ ได้
   คู่ ที่ 3 , 4, 6 Oculomotor nerve , Trochlear nerve ,
 Abducens nerve สามารถกรอกลู ก ตามอง         ขึ้ น – ลงได้
 Pupil         reac to light      equally 2.5         min
      คู่ ที่ 5 Trigerminal nerve มี ค วามแข็ ง แรงของกล้ า มเนื้ อ
 บริเวณขมับและขากรรไกร ตรวจการรับรู้บริเวณใบหน้า สามารถ
 รั                 บ           รู้              ไ                ด้
   คู่ที่ 7 Facial nerve การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อใบหน้าปกติ
 แ ล ะ ก า ร รั บ ร ส ที่ ป ล า ย ลิ้ น ป ก ติ
        คู่ ที่ 8 Auditory       nerve     พ บ ว่ า ก า ร ไ ด้ ยิ น ป ก ติ
    คู่ ที่ 9 , 10 Glossopharyngeal nerve และ Vagus nerve
 พบว่าผู้ป่วยไม่มีเสียงแหบ พูดได้ชัดเจน ลิ้นไก่อยู่ตรงกลาง ตรวจ
 Gag reflex ผู้ ป่ ว ย มี ก า ร ข ย้ อ น
43


    คู่ ที่ 11 Accessory nerve มี ค วามแข็ ง แร งข อ งกล้ า มเ นื้ อ
 sternocleidomastoid                 and              trapezius
     คู่ ที่ 12 Hypoglossal nerve มี ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ข อ ง ลิ้ น




     4.3.7 กล้ามเนื้อและกระดูก ( Musculoskeletal system )
   Tempero mandibular Joint ไม่มีการอักเสบบวมแดง ไม่พบ
ก้อนกดเจ็บ ขณะอ้าปาก หุบปาก กัดฟัน จะพบความตึงตัวของกล้าม
เ นื้ อ            temporal     แ ล ะ           masseter
     Neck Joint ไม่มีการอักเสบบวมแดงที่ค อ คลำา ไม่พบก้อน กด
ไม่เจ็บ สามารถก้มหน้าต้านแรง เอียงคอ ซ้าย ขวา และหมุนศีรษะได้
ต         า         ม         ป          ก        ติ
   Shoulder Joint ไหล่สองข้างไม่มีการอักเสบบวมแดง คลำาไม่
พบก้ อ น กดไม่เจ็บ สามารถยกแขนทั้ งสองไว้ เหนื อ ศี ร ษะและด้ าน
หน้าต้านแรงได้ สามารถยกแขนทั้งสองไว้เหนือศีรษะ ท้ายทอย และ
บ ริ เ ว ณ เ อ ว ด้ า น ห ลั ง ไ ด้ ต า ม ป ก ติ
    Elbow Joint ข้อศอกไม่มีการอักเสบบวมแดง คลำาไม่พบก้อน
กดไม่ เ จ็ บ มี แ รงต้ า นขณะงั ด ข้ อ ศอก ความตึ ง ตั ว ของกล้ า มเนื้ อ ดี
ส า ม า ร ถ เ ห ยี ย ด แ ข น ง อ แ ข น ห ง า ย มื อ ค วำ่า มื อ ไ ด้
  Wrist Joint ข้อ มือ ไม่ มี การอั กเสบบวมแดง คลำา ไม่ พ บก้ อ น
กดไม่เจ็บ กระดกข้อมือ ขึ้นลงต้านแรงได้ สามารถกระดกมือขึ้น –
ล ง        แ ล ะ ห มุ น ข้ อ มื อ ไ ด้
  Finger Joint นิ้วมือไม่มี การอั กเสบบวมแดง คลำา ไม่พ บก้อ น
กดไม่ เ จ็ บ กางนิ้ ว ต้ า นแรงได้ ต ามปกติ และกางมื อ หุ บ มื อ ได้
    Hip Joint สะโพกไม่มีการอักเสบบวมแดง คลำาไม่พบก้อน กด
ไม่เจ็บ ยกขาขึ้น – ลง กาง – หุบขาต้านแรงได้เฉพาะขาซ้าย ขา
43


    ขวามีการอักเสบที่เข่าทำาไม่สะดวก การทำา ROM ของสะโพกผู้ป่วย
    ป ฏิ เ ส ธ ไ ม่ ข อ ท ด ส อ บ
        Knee Joint ที่เข่าขวามีการอักเสบ บวม แดง มีผ้าปิดแผลไว้
    หลังการเจาะนำ้าที่เข่าไปตรวจ แผลไม่มี Discharge ซึม ขยับงอ –
    เ ห ยี ย ด แ ล้ ว เ จ็ บ เ ดิ น ล ง นำ้า ห นั ก แ ล้ ว เ สี ย ว ป ว ด
         Ankle - Feet Joint และ Motor System ไม่ ไ ด้ ท ดสอบ
    เนื่อ งจากผู้ป่วยมีเข่ าอักเสบ ปวด และขอไม่ข ยับ บริ เวณขาทั้ งหมด
    แ        ล        ะ         ยื   น      ต        ร       ว       จ


          4.3.7 เต้ า นมและหั ว นม (Breast and nipple) ผู้ ป่ ว ยขอไม่
ต                        ร                   ว                      จ
      4.3.8 ระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary system) จากการซัก
ประวัติจากผู้ป่วย ไม่มีปัญหาเรื่องปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะสีเหลืองวัน
ล ะ 3-4 ค รั้ ง      เ ค า ะ บ ริ เ ว ณ Costrovertible ไ ม่ เ จ็ บ
       4.3.9 ระบบสื บพั นธ์ (Reproductive System) จากการ ซั ก
ประวัติจากมารดาและผู้ป่วยบอกว่าไม่เคยได้รับบาดเจ็บที่อวัยวะสืบพันธ์
และทวารหนัก ไม่มีอ าการที่แสดงถึ งความผิด ปกติข องอวั ยวะสื บพั นธ์
ภ            า            ย          น             อ             ก
    4.4    ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ จิ ต สั ง ค ม




5 ผ ล ก า ร ต ร ว จ ท า ง ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ อื่ น ๆ
Complete                  blood                 count                (CBC)
43


 วัน เดือน    การตรวจทาห้อง      ค่าที่ตรวจพบ           ค่าปกติ
     ปี         ปฏิบัติการ
12 ธั น วา Hematocrit         30.3 %            31-43 %
ค ม 55 (Hct)
                              9.7 g/dl          11-16 g/dl
             Hemoglobin
                              11,      470 5,000-10,000
             (Hb)
                              cells/cu.mm. cells/cu.mm
             White    blood
                              175,000           200,000-500,000
             cell     (WBC)
                              cells/cu.mm       cells/cu.mm
             Platelet   (Plt)
                              88.5 %            40-75 %
             Neutrophils
                              0.3 %             1-6 %
             Eosinophils
                              0.1 %             0-1 %
             Basophils
                              7.1 %             20-50 %
             Lymphocytes
                              4%                2-10 %
             Monocytes


ก า ร แ ป ร ผ ล การตรวจ Complete blood count (CBC) เป็ น การ
ตรวจหาความผิ ด ปกติ ข องส่ ว นประกอบต่ า ง ๆของเลื อ ด ผู้ ป่ ว ยมี ผ ล
White blood cell (WBC) สู ง เล็ ก น้ อ ยเป็ น ตั ว ช่ ว ยบอกระยะเวลาที่
ร่างกายสร้างระบบภูมิคุ้มกันต่อ Antigen ที่เข้าไปในร่างกาย อาจเกิด
ได้ ใ นภาวะติ ด เชื้ อ เฉี ย บพลั น (Acute infection) อาจเป็ น จากระบบ
ไหลเวียน หรือจากเชื้อไวรัส (Viral infection) (ชวนพิศ วงศ์สามัญ ,
ก ล้ า เ ผ ชิ ญ                      โ ช ค บำา          รุ ง     ,2546)
43




Blood                               for                      chemistry
        การตรวจทางห้ อ งปฏิ บั ติ     12 ธันวาคม   ค่าปกติ
        ก       า              ร          55

        Blood             urea 17.8 mg / 8 -18 mg /
        nitrogen         (BUN) dl        dl
        Creatinine      (Cr) 0.8 mg / dl 0.3-1.2
                                         mg / dl
        Sodium (Na)          146
                             mEq/liter   136-145
        Potassium (K)
                                         mEq/liter
                             3.5
        Chloride (Cl)
                             mEq/liter   3.5 – 5 .5
        Bicarbonate                      mEq/liter
                             105
        Total Billirubin     mEq/liter   98-105
                                         mEq/liter
        Direct Billirubin    24
                             mEq/liter   22-30 0
        SGOT
                                         mEq/liter
                             0.2 mg / dl
        SGPT
                                         0.1 – 1.2
                             0.08 mg /
        Alkaline                         mg / dl
                             dl
        phosphate
                                         0.1 – 0.8
                             22 U / I
        Albumin                          mg / dl
                             51 U / ml
        Globulin                         19 - 28 U /
                             117 U / I
                             liter
                                         5 - 50 U /
                             3.6 g / dl ml

                                                   39    -   179
43



                                    3.6 g / dl U            /    liter
                                                      4 – 5.8 g /
                                                      dl
                                                      1.3 –       3.4
                                                      g   /        dl




ก า ร แ ป ร ผ ล ก า ร วั ด ร ะ ดั บ Blood urea nitrogen (BUN)
Creatinine (Cr) ในร่างกายจะช่ว ยชี้วัดการทำา หน้าที่ของไต ในการ
กำา จั ด ของเสี ย ที่ เ กิ ด จาการย่ อ ยสลายโปรตี น และไตยั ง เป็ น ตั ว ควบคุ ม
ระดั บ ของอิเล็กโทรไลต์ที่สำา คั ญ ได้ แก่ Chloride (Cl), Potassium
(K), Sodium (Na) สำา หรับ ผู้ป่วยรายนี้อยู่เกณฑ์ป กติ ผลโปรตีนใน
ร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ ผลการทำา งานของตับก็ ป กติ (ชวนพิศ วงศ์
ส า มั ญ , ก ล้ า เ ผ ชิ ญ                  โ ช ค บำา รุ ง           , 2546)
43




Urine                                                       analysis
การตรวจทางห้องปฏิบัติ    12 ธันวาคม   13 ธันวาคม    ค่าปกติ
ก       า          ร         55       55

 Color                  Yellow        Yellow        Yellow
pH                      5             6             4.6 – 8
Specific     gravity 1.015            1.015         1.001
(sp.gr.)                                            -1.035
                        Negative      Negative
Glucose/Sugar                                       Negative (-
                        4+            3+
                                                    ve)
Protein
                        Negative      Negative
                                                    Negative (-
Ketone
                        3+            2+            ve)
Blood
                        3 - 5 hpf 0 - 1 hpf         Negative (-
WBC                                                 ve)
                        50       -100 10 -     20
RBC                     hpf           hpf           -
อื่นๆ..                 Dysmorphi ไม่พบ             0 – 2 / hpf
                        c     RBC
                                                    0 – 2 / hpf
                                                    ไม่พบ
การแปรผ ล พบความผิดปกติของ Proteinuria บอกถึงความผิดปกติ
ระบบทางเดินปัสสาวะตั้งแต่เนื้อไตจนถึงทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง คือมี
โปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน
Protein 4+ คือมีโปรตีนมากกว่า 3000 มิลลิกรัมต่อวัน
                     พบ WBC ในปั ส สาวะ บ่ ง บอกถึ ง Infection,
Inflammation ที่ KUB                               พบ RBC ใน
ปัสสาวะบ่งบอกถึง Lesion อยู่ที่ Glumerulus หรือ Tubule
                    พบ Dysmorphic RBC ในปัสสาวะ บ่งบอกถึง
43


Glomerulus เสียรูปเพราะต้องผ่านบริเวณขรุขระ ( สมาคมโรคไตแห่ง
ประเทศไทย,2552 )


Synovial                                                          Fluid
                 การตรวจทางห้องปฏิบัติ    12 ธันวาคม
                        การ                   55

                         Color               Straw
                  White blood cell         240,000
                       (WBC)
                                              Few
                   Red blood cell
                                              89
                      ( RBC )
                                               8
                     Neutrophils
                                              4.9
                    Lymphocytes
                                              63
                        Protein
                        Sugar
   ก า ร แ ป ร ผ ล การตรวจ Synovial Fluid เป็ น การเจาะตรวจ
หาความผิ ด ปกติ ข องนำ้า ที่ เ ข่ า โดยทั่ ว ไปการมี ผู้ White blood cell
( WBC ) สูงมากแสดงถึงการติดเชื้อรุนแรง ซึ่งผลการเพาะเชื้อนำ้าที่เข่า
พ               บ                                             Salmonella


6.    ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร ค แ ล ะ พ ย า ธิ รี ภ า พ
  6.1 ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร ค แ ล ะ คำา จำา กั ด ค ว า ม
  SLE Systemic Lupus Erythematosus (SLE) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า
lupus (โรคลูปัส)

    โรคลูปัสไม่ได้เป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรงอย่างที่ผู้คนส่วนมาก
เข้าใจ โรคลูปัสเกิดจากการที่ผู้ป่วยมีการผลิตโปรตีนของภูมิคุ้มกันใน
43


เลือดที่เรียกว่าแอนติบอดี้ขึ้นมามากเกินปกติซึ่งอาจทำาให้เกิดปัญหาใน
อวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไม่ว่าทั้งทางตรงและทางอ้อมดังนั้น โรค
ลูปัสคือการที่เลือดมีการจัดตัวอย่างไม่เป็นระเบียบ โปรตีนเหล่านี้อาจไป
ปรากฏตัวอยู่ตามผิวหนัง, ก่อให้เกิดผื่นผิวหนัง, หรือไปฝังตัวอยู่ในไต,
สมอง, ปอดและข้อต่าง ๆทั่วร่างกายสิ่งที่สำาคัญมากที่จะต้องทำาความ
เข้าใจคือ อวัยวะทุกส่วนในร่างกายที่มีการอักเสบสามารถรักษาให้หาย
ได้อย่างไม่ยากโดยแทบจะไม่มีข้อยกเว้นใด ๆ เมื่ออาการอักเสบที่เกิด
ขึ้นบรรเทาลง แล้วหรืออยู่ในภาวะที่สามารถควบคุมได้แล้ว ก็จะไม่ทิ้ง
ร่องรอยความเสียหายถาวรไว้

การวิน ิจ ฉัย

    การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคลูปัสในปัจจุบันจะอิงตามเกณฑ์ของ
American College of Rheumatology ซึ่งเกณฑ์นี้ประกอบไป
ด้วยอาการทางคลินิก และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์โดยผู้ป่วย
ควรมีจำานวนข้อที่เข้าได้อย่าง น้อย 4 ข้อหรือมากกว่าจากจำานวน
ทั้งหมด 11 ข้อ เพื่อแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยมีความผิดปกติในหลายระบบ
เกณฑ์วินิจฉัยดังกล่าว ให้ความไวในการวินิจฉัยโรค SLE ร้อยละ 96
และมีความแม่นยำาร้อยละ 96 ในบางครั้งผู้ป่วยอาจจะมีจำานวนข้อที่
เข้าได้ตามเกณฑ์น้อยกว่า 4 ข้อ เนื่องจากบางครั้งอาการ และอาการ
แสดงต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน ดังนั้นหากผู้ป่วยมีอาการค่อนข้าง
มาก และมีอาการโน้มเอียงทาง โรคลูปัส แพทย์อาจต้องพิจารณา
ให้การรักษาก่อน เช่น ผู้ป่วยมีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า          1 กรัม
ร่วมกับมีเม็ดเลือดแดง แคสเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ ร่วมกับมี ANA ให้
ผลบวกในระดับสูง anti-ds DNA ให้ผลบวก การตัดตรวจเนื้อไตเข้า
ได้กับภาวะไตอักเสบลูปัส ถึงแม้ผู้ป่วยรายนี้จะมีเพียง 3 ข้อก็ตาม ก็ควร
ได้รับการรักษาในทันที การวินิจฉัยโรค SLE ไม่ง่ายอย่างที่คิด
เนื่องจากอาการของโรคซับซ้อน การวินิจฉัยต้องอาศัยประวัติการเจ็บ
ป่วยที่ค่อยข้างละเอียด และแพทย์ต้องระลึกถึงโรคนี้อยู่เสมอ การตรวจ
ร่างกายถ้าพบลักษณะเฉพาะก็สามารถวินิจฉัยได้ นอกจากนั้นแพทย์จะ
เจาะเลือดเพื่อวินิฉัยดังนี้

  1. Antinuclear antibody คือตรวจหาว่ามีภูมิคุ้มกันของร่างกาย
     antibody ทำาลาย nucleus ตัวเองหรือไม่ วิธีการโดยการหยด
     serum ของผู้ป่วยบนเซลล์ของตับหนู แล้วใช้ antihuman IgG
     ซึ่งฉาบสารเรืองแสงส่องกล้องจุลทรรศน์เรืองแสงจะพบความผิด
     ปกติได้ ถ้าการตรวจให้ผลบวกแสดงว่าเป็น SLE
43


  2. การตัดชิ้นเนื้อ biopsy ที่ผิวหนังและไตเพื่อตรวจหาภูมิคุ้มกันที่
     เกาะติดอวัยวะดังกล่าว
  3. การตรวจหา VDRL ให้ผลบวกหลอก
  4. การตรวจ CBC อาจจะพบว่าซีด หรือเม็ดเลือดขาวตำ่า หรือเกล็ด
     เลือดตำ่า
  5. การตรวจปัสสาวะพบว่ามีไข่ขาวรั่วมากกว่า 0.5 กรัม ต่อวันและ
     บางรายอาจจะพบเซลล์เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวในปัสสาวะด้วย
  6. ตรวจพบ LE cell ในเลือด
  7. ตรวจ Erythrocyte sedimentation rate (ESR) ถ้ามีการ
     อักเสบมากค่า ESR จะสูงค่าตัวนี้ใช้ติดตามการรักษา
  8. เจาะหา Complement levels คือสารเคมีในร่างกายถ้าโรคเป็น
     มากค่านี้จะตำ่า

เกณฑ์ก ารวิน ิจ ฉัย โรคลูป ัส Systemic Lupus
Erythematosus (SLE)

  1. มีผื่นที่แก้ม
  2. มีผื่น Discoid rash
  3. มีผื่นอาการแพ้แสง
  4. แพทย์ตรวจพบแผลในปาก
  5. มีข้ออักเสบ พบข้อมีอาการปวด บวม แดง ร้อนมากกว่า 2 ข้อ
  6. เยื่อหุ้มปอดหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
  7. ตรวจปัสสาวะพบโปรตีนหรือพบ cellular casts
  8. มีอาการทางระบบประสาท เช่น ชัก อาการทางจิต
  9. มีความผิดปกติทางโรคเลือดได้แก่โลหิตจางจาก Hemolytic
     anemia หรือเม็ดเลือดขาวตำ่ากว่า 4000/L หรือเซลล์
     lymphopenia น้อยกว่า 1500/L หรือเกล็ดเลือดขาวตำ่ากว่า
     thrombocytopenia 100,000/L
43


  10. ตรวจเลือดระบบภูมิพบ Anti-dsDNA, anti-Sm,และหรือ anti-
    phospholipid
  11. ตรวจพบ Antinuclear antibodies

   6.2 พยาธิส รีร ภาพของโรคเปรีย บเทีย บกับ ผู้ป ่ว ย
                        ในผู้ป่วยรายนี้มีหลักฐานบ่งชี้ว่ามีพยาธิ
  สภาพตรงกับทฤษฎีคือ มี Criteria ในการวินิจฉัยโรค ดังนี้

         1. ตรวจพบ Antinuclear antibodies ( มากกว่า 1 :
            2,560 )
         2. ตรวจเลือดระบบภูมิพบ Anti-dsDNA ( 1 : 640 )
         3. เยื่อหุ้มปอดหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ( Pleural effusion ,
            Minimal pericardial effusion )
         4. Pancytopenia
         5. ตรวจปัสสาวะพบโปรตีนหรือพบ cellular casts ( Renal
           Biopsy : Lupus Nephritis ClassIII )

     และในปัจจุบันนี้เริ่มมีอาการของโรคเพิ่มขึ้น คือมีผื่นที่แก้ม มีข้อ
 อักเสบ พบข้อมีอาการปวด บวม แดง ร้อน
                                           7. การรัก ษาที่ผ ู้ป ่ว ยได้
 รับ ( แหล่งที่มา : จากคำาสั่งการรักษาของแพทย์ในเวชระเบียนผู้
 ป่วยระหว่างวันที่ 18 – 26 ธันวาคม 2555 )
                                 ยาสำา คัญ ที่ใ ช้
                             - Prednisolone ( 5 ) 6 * 1 O OD
 PC

     สรรพคุณ

 ยานี้ใช้รักษาการอักเสบที่บริเวณผิวหนัง ข้อต่อ ปอด และอวัยวะอื่น
โดยทั่วไปยานี้ใช้รักษาโรคหอบหืด ภูมิแพ้ ข้อต่ออักเสบ

 นอกจากนี้ยานี้ยังใช้รักษาความผิดปกติของระบบเลือดและโรคที่
เกี่ยวข้องกับต่อมหมวกไต(adrenal gland)

    วิธ ีใ ช้ย า
43


 ยานี้อยู่ในรูปแบบยาเม็ดสำาหรับรับประทาน โดยปกติให้รับประทาน
พร้อมอาหารหรือนม ถ้ารับประทานวันละ 1 ครั้งให้รับประทานตอนเช้า
หรือให้ใช้ยานี้ตามวิธีใช้ที่ระบุบนฉลากยาอย่างเคร่งครัด โดยห้ามใช้
ยาในขนาดที่มากหรือน้อยกว่าที่ระบุ และหากมีข้อสงสัยให้สอบถาม
แพทย์หรือเภสัชกร
 ไม่ค วรหยุด ยาเอง เนื่อ งจากการหยุด ยาทัน ทีจ ะทำา ให้เ กิด
อาการรุน แรง การหยุด ยาให้ป รึก ษาแพทย์ โดยแพทย์จ ะต้อ ง
ค่อ ยๆปรับ ขนาดยาลง
    ผลข้า งเคีย ง
1) อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที
มีการ บวมและเจ็บบริเวณขาข้างหนึ่ง เจ็บตา ประสิทธิภาพในการมอง
เห็นลดลง ตาโปน ไข้ ไอ จาม เจ็บคอ หรืออาการอื่นที่แสดงถึงการติด
เชื้อ แผลที่รักษาไม่หาย ปัสสาวะบ่อย กระหายนำ้ามาก หดหู่ อารมณ์
เปลี่ยนแปลง เจ็บบริเวณ สะโพก หลัง ซี่โครง ขา แขน ไหล่ บวม
บริเวณเท้า น่อง
2) อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง
หรือ รบกวนชีวิตประจำาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทราบ คือ
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ สับสน นำ้าหนักตัวเพิ่ม


     - CaCo3 ( 1 g ) 1 * 1 O PC
     ส              ร           ร            พ             คุ           ณ
     ย า นี้ ใ ช้ เ ส ริ ม ห รื อ ท ด แ ท น แ ค ล เ ซี ย ม
 ยานี้อาจใช้เป็นยาลดกรดเพื่อบรรเทาอาการแสบร้อนบริเวณยอดอก
อาหารไม่ย่อย และรู้สึกไม่สบายท้อง
 ยานี้ อ าจใช้ ใ นข้ อ บ่ ง ใช้ อื่ น เช่ น บางครั้ ง ใช้ ใ นการลดปริ ม าณ
ฟอสเฟตในเลือดในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง                  วิ ธี ใ ช้ ย า
 กรณีใ ช้เ พื่อ ยานี้ใ ช้เ สริม หรือ ทดแทนแคลเซีย ม รับประทาน
ยานี้พร้อมอาหารหรือหลังอาหาร
43


 กรณีใ ช้ย านี้เ ป็น ยาลดกรดเพื่อ ช่ว ยบรรเทาอาการแสบร้อ น
กลางอก อาหารไม่ย ่อ ย หรือ อาการไม่ส บายท้อ ง รับประทานยานี้
หลังอาหารโดยเคี้ยวยาให้ละเอียดก่อนกลืนยา และไม่ควรใช้ยาเกินสอง
สัปดาห์ ยกเว้นแพทย์สั่งใช้
 ใช้ยานี้ตามวิธีใช้ที่ระบุบนฉลากยาอย่างเคร่งครัด โดยห้ามใช้ยาใน
ขนาดที่มากหรือน้อยกว่าที่ระบุ และหากมีข้อสงสัยให้สอบถามแพทย์
หรือเภสัชกร
 ควรรับ ประทานยาอื่น ๆ ห่า งจากยานี้อ ย่า งน้อ ย 1-2 ชั่ว โมง
 กรณีร ับ ประทานเพื่อ ลดปริม าณฟอสเฟตในเลือ ดในผู้ป ่ว ย
โรคไตวายเรื้อ รัง ให้รับประทานยานี้พร้อมอาหารคำาแรก
 เพื่อ ลดอาการท้อ งผูก ที่อ าจเกิด จากการใช้ย า รับ ประทาน
ยานี้แ ล้ว ควรดื่ม นำ้า วัน ละหลายๆแก้ว
   ผลข้า งเคีย ง
1) อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที มีด ัง นี้
สับสน หงุดหงิดง่าย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย
หรือเหนื่อยง่ายผิดปกติ

2) อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง
หรือ รบกวนชีวิตประจำาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทราบ มีด ัง นี้
รู้สึกไม่สบายท้อง ปวดท้อง เรอ ท้องผูก ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อยขึ้น รู้สึก
ถึงรสชาติโลหะในปาก

   - Plaquenil ( 200 ) 1 * 1 O PC

     ส           ร           ร             พ          คุ          ณ
 ยานี้ใช้เพื่อรักษาโรคมาลาเรีย อาจใช้เพื่อรักษาโรคข้ออักเสบ และ
โรค systemic and discoid lupus erythematosus ในผู้ป่วยที่
รักษาด้วยยาตัวอื่นไม่ได้ผล และยังอาจใช้เพื่อรักษาโรค porphyria
cutanea tarda ในบางกรณี

 ยานี้ใช้เพื่อป้องกันการเกิดโรคมาลาเรีย

    วิธ ีใ ช้ย า
 การใช้เพื่อรักษาการติดเชื้อมาลาเรียในผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 4
เม็ด หลังจากนั้น 6 ถึง 8 ชั่วโมงรับประทานอีก 2 เม็ดจากนั้น รับ
ประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1 ครั้งต่อเนื่องไปอีก 2 วัน
43


 การใช้ยาเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อมาลาเรียในทารกและเด็ก
เล็ก ให้รับประทานตามคำาแนะนำาของแพทย์อย่างเคร่งครัด
 การใช้ยาเพื่อรักษาโรค lupus erythematosus รับประทานครั้ง
ละ 1-2 เม็ดวันละ 1 หรือ 2 ครั้ง
 การใช้ยาเพื่อรักษาโรคข้ออักเสบ รับประทานครั้งละ 1-3 เม็ดวันละ
1 ครั้ง
 การใช้เพื่อป้องกันการเกิดโรคมาลาเรียในผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ
2 เม็ด 1 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยรับประทานในวันเดียวกันของแต่ละ
สัปดาห์ รับประทานยาก่อนเดินทางไปในพื้นที่มีความเสี่ยงต่อการติด
เชื้อมาลาเรีย 1-2 สัปดาห์ และรับประทานต่อเนื่องอีก 8 สัปดาห์ หลัง
กลับจากพื้นที่นั้น
 ควรรับ ประทานยานี้พ ร้อ มอาหารหรือ นม
 รับ ประทานยาตามแพทย์ส ั่ง อย่า งเคร่ง ครัด ห้า มใช้ย าใน
ขนาดที่ม ากหรือ น้อ ยกว่า ที่ร ะบุ และหากมีข ้อ สงสัย ให้ส อบถาม
แพทย์ห รือ เภสัช กร
 ไม่ค วรหยุด รับ ประทานยาเองโดยไม่ป รึก ษาแพทย์
 รับ ประทานยานี้แ ล้ว อาจมีอ าการง่ว งซึม ไม่ค วรขับ รถหรือ
ทำา งานเกี่ย วกับ เครื่อ งจัก ร
 รับ ประทานยานี้แ ล้ว อาจทำา ให้เ ลือ ดหยุด ไหลช้า ลง ควร
ระมัด ระวัง ไม่ใ ห้ม ีเ ลือ ดออก เช่น มีด บาด หรือ การแปรงฟัน
แรงๆ เป็น ต้น
 ไม่ค วรรับ ประทานพร้อ มกับ ยาลดกรด

   ผลข้า งเคีย ง
1) อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที มีด ัง นี้ มี
เลือดออก หรือจำ้ารอยชำ้าที่ผิวหนัง มีเสียงในหู หัวใจเต้นผิดปกติ กล้าม
เนื้ออ่อนแรง เซื่องซึม การอ่าน หรือการมองเห็นผิดปกติ สูญเสียการ
ได้ยิน ชัก ภาวะไวต่อแสง

2) อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง
หรือ รบกวนชีวิตประจำาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทราบ มีด ัง นี้ ผื่น
ที่ผิวหนัง ท้องเสีย ปวดศีรษะ ไม่สบายท้อง ปวดท้อง ง่วงนอน เบื่อ
อาหาร อาเจียน
43


      -   Amlodipine         (       5   )    1    *   1        O   PC
      ส             ร            ร           พ             คุ            ณ
   ยานี้ใช้เพื่อรักษาโรคความดันโลหิตสูง
   ยานี้ใช้เพื่อป้องกันอาการปวดเค้น (angina) หรืออาการเจ็บหน้าอก
   ยานี้อ าจใช้เพื่อ รักษาโรคหรือ อาการอื่ นๆ ดังนั้นหากมี ข้อ สงสัย จึง
ค   ว ร ส อ บ ถ า ม แ พ ท ย์ ห รื อ เ ภ สั ช ก ร
    วิธ ีใ ช้ย า
 ยานี้อยู่ในรูปแบบยาเม็ด ใช้สำาหรับรับประทาน โดยทั่วไปรับ
ประทานวันละครั้ง หรือใช้ยานี้ตามวิธีใช้ที่ระบุบนฉลากยาอย่าง
เคร่งครัด โดยห้ามใช้ยาในขนาดที่มากหรือน้อยกว่าที่ระบุ และหากมี
ข้อสงสัยให้สอบถามแพทย์หรือเภสัชกร
 รับประทานยานี้ได้ทั้งก่อนหรือหลังอาหาร แต่ควรเป็นเวลาเดียวกัน
ในแต่ละวัน และควรรับประทานยาให้ตรงเวลาทุกครั้ง
 ไม่ควรรับประทานอาหารที่มีรสเค็มและอาหารที่มีปริมาณเกลือหรือ
โซเดียมสูง
 ยานี้อาจทำาให้เกิดอาการง่วงซึม ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการขับขี่
ยานพาหนะหรือควบคุมเครื่องจักร
 การดื่มแอลกอฮอล์ระหว่างการใช้ยานี้อาจทำาให้มีอาการมึนงงหรือ
ง่วงซึมมากขึ้น
 ไม่ค วรหยุด รับ ประทานยานี้ท ัน ที ควรปรึก ษาแพทย์เ พื่อ
ค่อ ยๆปรับ ลดขนาดยาลง
 ยานี้อาจทำาให้เกิดอาการหน้ามืด เวียนศีรษะ ดังนั้นจึงไม่ควรลุกขึ้น
ยื น ห รื อ นั่ ง ล ง อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
    ผลข้า งเคีย ง
1) อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที มีด ัง นี้
มีอาการแพ้ เช่น ผื่นคัน ผื่นลมพิษ บวมตามอวัยวะต่างๆ เช่น ใบหน้า
ริมฝีปาก ลิ้น หายใจลำาบาก เวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม การมองเห็น
หรือการได้ยินเปลี่ยนแปลงไป เจ็บหน้าอกมากขึ้นหรือถี่ขึ้น หัวใจเต้น
ผิดจังหวะหรือเร็วผิดปกติ บวมตามอวัยวะต่างๆ เช่น ขา ข้อเท้า
2) อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง
หรือ รบกวนชีวิตประจำาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทราบ มีด ัง นี้
ปวดศีรษะ มึนงง ปวดหรือไม่สบายท้อง มีลมในกระเพาะอาหาร คลื่นไส้
43


อาเจียน เหนื่อยหรืออ่อนแรงโดยไม่ทราบสาเหตุ หน้าแดง ร้อนวูบวาบ
ง่วงซึม




  - Cefotaxime 2.5 g + 5 %D/W 50 ml drip in 30 นาที
ทุก 6 ชม.

     ส             ร          ร           พ            คุ             ณ

    เป็นยากลุ่ม cephalosporins มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียได้กว้าง
ขวางทั้งที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน ยาในรุ่นแรกมีฤทธิ์ต่อเชื้อ
แกรมบวกดี แต่มีฤทธิ์ตอเชื้อแกรมลบและเชื้อที่ไม่ใช้ออกซิเจนตำ่า ยาใน
                           ่
รุ่นหลังมีฤทธิ์ต่อเชื้อแกรมลบและเชื้อที่ไม่ใช้ออกซิเจนดีขึ้น โดยเฉพาะ
ยารุ่นที่ 4 ทีออกฤทธิ์ตอเชื้อแบคทีเรียที่ใช้ออกซิเจนแกรมบวก แกรม
              ่          ่
ลบและเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน นอกจากนั้น ยาในกลุ่มนี้ยังมี
อาการไม่พึงประสงค์ตำ่า ด้วยคุณสมบัติเหล่านี้ทำาให้ยากลุ่ม
cephalosporins จึงเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายในการรักษาโรคติด
เชื้อชนิดต่างๆ

   วิธ ีใ ช้ย า

  ฉีดเข้าเส้นเลือดดำา, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อในรักษาอาการติดเชื้อได้เช่น
เดียวกับ ceftriaxone ขนาดยาโดยทั่วไปในผู้ใหญ่คือวันละ 1 กรัม
ทุก 6 - 12 ชั่วโมง สำาหรับทารกและเด็กอายุตำ่ากว่า 12 ปี ให้วันละ
50 - 150 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ทุก 6 - 12 ชั่วโมง สำาหรับทารกที่
คลอดก่อนกำาหนดหรืออายุตำ่ากว่า 1 สัปดาห์ ให้วันละ 25 - 50
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ทุก 12 ชั่วโมง

   ผลข้า งเคีย ง

  อาการข้างเคียงของยากลุ่ม cephalosporin เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องเสีย ปวดศีรษะ มึนงง เหนื่อยล้า อาจมีเอนไซม์ในตับเพิ่มขึ้น ควร
ใช้ยานี้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วยที่มีประวัติโรคทางเดินอาหารหรือมีการ
ทำางานของตับผิดปกติ รวมทั้งไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์และหญิงในนม
บุตร
43




  8. การพยาบาล
         สรุปข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่อยู่ในความดูแล (18 - 26
ธันวาคม 2555) ได้ดังนี้

        ข้ อ วิ น ิ จ ฉั ย ก า ร พ ย า บ า ล ที่ 1. ไม่ สุ ข สบายเนื่ อ งจากมี อ าการ
     อั    ก          เ      ส      บ      ที่     เ       ข่   า        ข   ว      า
ข้            อ             มู           ล           ส               นั               บ           ส            นุ       น
      S: “เ ว ล า เ ดิ น แ ล้ ว มั น เ จ็ บ เ สี ย ว ต ร ง เ ข่ า ที่ บ ว ม ”
      O: มี สี ห น้ า เ จ็ บ ป ว ด เ ว ล า เ ดิ น ไ ป อ า บ นำ้า
      O: มี เ ข่ า ข ว า บ ว ม แ ด ง ร้ อ น ง อ แ ล ะ เ ห ยี ย ด ไ ม่ ไ ด้ ต า ม ป ก ติ
เ                  ป้                    า                   ห                        ม                    า            ย
            ผู้ ป่ ว ย สุ ข ส บ า ย จ น มี อ า ก า ร อั ก เ ส บ แ ล ะ ป ว ด เ ข่ า ล ด ล ง
เ      ก          ณ     ฑ์           ก       า       ร       ป            ร       ะ       เ       มิ       น        ผ   ล
- ผู้ป่วยบอกรู้สึกสบายขึ้นอาการปวดและบวมลดลง
- ผู้ ป่ ว ยสามารถเคลื่ อ นไหวร่ า งกายแล ะดู แ ลตนเองได้ เ ป็ น ปกติ
       กิ      จ        ก        ร       ร       ม       ก       า            ร   พ           ย        า       บ    า   ล
1. ดูแลช่วยเหลือกิจวัตรประจำาวัน และกระตุ้นให้ผู้ป่วยดูแลตนเอง
 เท่าที่ทำาได้
2. ประคบด้วยนำ้าอุ่นบริเวณเข่าขวาที่บวมอักเสบ
3. ลดตัวกระตุ้นสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
43


4. ดูแลช่วยเหลือการออกกำาลังกายข้อต่อ ทุก 8 ชั่วโมง โดยเริ่มจาก
 พยาบาลเป็นผู้ช่วย แล้วให้ผู้ป่วยทำาเอง
5. จัดกิจกรรมที่ชอบเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ
6. ให้ยาลดการอักเสบ และบรรเทาอาการปวด ตามแผนการรักษา
  - Cefotaxime 2.5 g v drip q 6 h
               - Paracetamal 1tab 0 prn q 4-6 h
การประเมินผล ผู้ป่วยยังมีอาการเจ็บและเสียวบริเวณเข่าขวาเวลาขยับ
หรื อ เคลื่ อ นไหว แต่รู้สึกปวดลดลงเมื่ อ ได้ ทำา กายภาพเจ็ บ ตึ งขาลดลง
ข้อ วิน ิจ ฉัย การพยาบาลที่ 2. มีภาวะของเหลวเกินในร่างกายจาก
การคั่งของนำ้าและโซเดียม
ข้        อ      มู   ล      ส      นั    บ      ส      นุ   น
    S:   “เ ข า ก็ ดู บ ว ม ๆ                  แ บ บ นี้ แ ห ล ะ ”
    O:   ข า บ ว ม                   ก ด บุ๋ ม                         grade    2
    O:                   BW                      20.8                          Kgs
    O:          I        /            O                      balance             ดี
เ          ป้            า            ห              ม             า             ย
    ภ า ว ะ ข อ ง เ ห ล ว ใ น ร่ า ง ก า ย ล ด ล ง ห รื อ ไ ม่ มี
เ   ก    ณ      ฑ์   ก       า   ร     ป   ร     ะ       เ    มิ   น       ผ    ล
- อาการบวมลดลง กดไม่บุ๋ม
- นำ้าหนักไม่เพิ่มหรือลดลง
- I/O อยู่ในเกณฑ์สมดุล
- ไม่มีเหนื่อย หายใจปกติ ฟังปอดปกติ
กิ จ ก ร ร ม ก า ร                               พ       ย     า       บ   า     ล
1. สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพ โดยเฉพาะการหายใจ ชีพจรและ
 ความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะนำ้าเกินในร่างกาย และ
 แก้ไขได้ทันที
2. สังเกตและบันทึกนำ้าและปัสสาวะทุก 8 ชั่วโมง และอาการบวม ระดับ
 การกดบุ๋ม ชั่งนำ้าหนักทุกวัน
43


3. ดูแลให้รับประทานอาหารไม่ปรุงรสเค็ม และหลีกเลี่ยงการรับประทาน
 อาหารที่มีวัตถุกันเสียและผงชูรส
4. จัดให้ดื่มนำ้าเท่ากับปริมาณนำ้าที่สูญเสียหรือตามแผนการรักษา
5. ดูแลให้ยา steroid ตามแผนการรักษา พร้อมสังเกตอาการข้างเคียง
 - Prednisolone ( 5 ) 6 * 1 O OD PC
การประเมินผล ผู้ป่วยยังมีอาการบวม กดบุ๋มจากภาวะโรคที่เป็น แต่
จากการบันทึกสารนำ้า พบว่านำ้าเข้าร่างกายสมดุลกับนำ้าออกดี นำ้าหนัก
อยู่ในเกณฑ์ปกติเท่าเดิม ฟังปอดปกติ


ข้อ วิน ิจ ฉัย การพยาบาลที่ 3 มีโอกาสเกิดการติดเชื้อเพิ่มเติม
เนื่องจากภูมิต้านทานลดลง
ข้        อ      มู   ล      ส      นั     บ        ส       นุ                              น
     S: “เมื่อเดือนที่แล้วไปนอน โรงพยาบาลเจริญกรุง ฯ 10 วัน หมอบ
    อ ก ท้ อ ง เ สี ย แ ล้ ว มี ติ ด เ ชื้ อ ”
     O: ม า โ ร ง พ ย า บ า ล ด้ ว ย เ ข่ า ข ว า บ ว ม                                ปว ด
  O:   ผ ล       CBC:                       WBC=11470                        cells/cu.mm.
Neutrophil=88.5%
   O: ผล Synovial fluid จากเข่า WBC = 240,000 Neutrophil
= 89%
เ           ป้                 า             ห                 ม               า            ย
       ไ   ม่    มี    ก   า       ร   ติ   ด    เ   ชื้   อ       เ   พิ่    ม    เ   ติ   ม
เ    ก     ณ      ฑ์       ก       า   ร     ป       ร     ะ       เ    มิ     น       ผ    ล
- ไม่มีไข้ อุณหภูมิร่างกายไม่เกิน 37.5 C ๐
- ผลการตรวจ Lab ปกติ และไม่มีอาการของการติดเชื้อเพิ่ม เช่น ปวด
ท้อง ท้องเสีย ผื่นแดงบริเวณหน้า ตาไม่อักเสบ
กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล
1. ตรวจและติดตามบันทึกสัญญาณชีพ และความดันโลหิตทุก 4
   ชั่วโมง เพื่อประเมินการติดเชื้อ
2. ให้การพยาบาลด้วยวิธี Aseptic techniques
43


3. สังเกตตำาแหน่งของจุดจำ้าเลือดและติดตามความรุนแรงและการ
   อักเสบบริเวณเข่าขวา และตำาแหน่งอื่นๆ
4. แนะนำามารดาล้างมือทุกครั้งก่อนการสัมผัสผู้ป่วยและให้ใส่ mask
   ปิดปาก จมูก กรณีที่ผู้มาเยี่ยมมีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
   ส่วนบน
5. สังเกตและรายงานแพทย์เมื่อพบมีเลือดปนในปัสสาวะและอุจจาระ
6. ติดตามผล CBC และผลการตรวจอื่นๆ เช่น Synovial Fluid เพื่อ
   ทราบการเปลี่ยนที่สำาคัญตามแผนการรักษา
7. ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
   - Cefotaxime 2.5 g v drip q 6 h
   การประเมินผล ผู้ป่วยไม่มีการติดเชื้อเพิ่มเติม ไม่มีไข้ ผลการ
   ตรวจร่างกาย และอาการไม่มีการติดเชื้อเพิ่มที่อวัยวะใด ๆ ผล
   Lab ปกติ

          ข้ อ วิน ิจ ฉัย ก า ร พ ย า บ า ล ที่ 4 กลั ว การผ่ าตั ด และทำา หั ต ถการ
ข้          อ         มู        ล         ส       นั               บ       ส             นุ       น
     S:         “ห    นู    ก       ลั    ว   ...ฮื        อ       ๆ            ฮื       อ    ๆ   ”
     O: ผู้ ป่ ว ย นั่ ง ร้ อ ง ไ ห้ แ ล้ ว พู ด ว่ า ก ลั ว ถู ก เ จ า ะ เ ข่ า
     O: มี ท่า ทางกลั ว วิต กกั ง วลเมื่ อ จะเข้ า ห้ อ งผ่ า ตั ด หรื อ ทำา หั ต ถการ
     O:         Set        OR       ทำา           Rt.          knee         Debridement
เ               ป้              า             ห                ม                     า            ย
          ล ด อ า ก า ร ก ลั ว แ ล ะ วิ ต ก กั ง ว ล
เ    ก          ณ     ฑ์    ก       า     ร   ป        ร       ะ       เ   มิ        น        ผ   ล
- ผู้ป่วยพูดคุยเกี่ยวกับความกลัว
- ผู้ป่วยพูดคุยกับญาติและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง
- ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่นขึ้นไม่แสดงอาการกลัว หรือวิตกกังวล เช่น ไม่
ร้องไห้
กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล
1. เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และปัญหาที่ก่อให้เกิดความ
   กลัววิตกกังวลและตอบปัญหาที่สงสัย
43


2. ประเมินความเข้าใจและการรับรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดและการทำา
   หัตถการ
3. อธิบายเกี่ยวกับความจำาเป็นในการทำาหัตถการ หรือการผ่าตัด รวม
   ทั้งขั้นตอนและวิธีการอย่างง่ายๆ ซึ่งผู้ป่วยจะไม่เจ็บปวด เนื่องจากได้
   รับยาระงับความรู้สึกขณะทำาผ่าตัดหรือทำาหัตถการ และมียาแก้ปวด
   ให้ถ้ามีอาการปวด
4. ส่งเสริมให้บิดา-มารดาให้กำาลังใจอย่างใกล้ชิด
5. สร้างพลังแรงใจ โดยยกตัวอย่างผู้ป่วยที่เคยผ่าตัดใหญ่ข้างเตียง
   เช่น ผ่าตัดสมอง ตัดม้าม ให้บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
การประเมินผล ผู้ป่วยมีอาการกลัวการทำาหัตถการต่าง ๆ หลังได้รับ
การอธิบายรับฟังดี ยินดีให้ความร่วมมือในการรักษาเพราะต้องการให้
อาการดีขึ้น


      ข้อ วิน ิจ ฉัย การพยา บา ล ที่ 5 สูญเสียภาพลักษณ์เนื่องจากมีการ
     เปลี่ ย นแปลงทางด้ า นสรี ร ะจากพยาธิ ส ภาพของโรคและการรั ก ษา
ข้         อ        มู       ล        ส        นั             บ       ส        นุ       น
      S: “เ มื่ อ ไ ร ห น้ า ห นู จ ะ ห า ย บ ว ม       แ ล้ ว ห นู จ ะ เ ดิ น ไ ด้ ไ ห ม ”
      O: ใบหน้ามีลักษณะ Moon face มี เม็ ดสิ ว เข่าบวมเดินไม่ สะดวก
เ              ป้            า            ห                ม               า            ย
       อาการทั่วไปที่เกิดจากพยาธิสภาพของโรคและจากการรักษาดีขึ้น
     ส า ม า ร ถ เ ข้ า สั ง ค ม ไ ด้
เ      ก       ณ    ฑ์   ก       า   ร     ป        ร     ะ       เ   มิ   น        ผ   ล
- มองภาพตนเองในกระจกโดยไม่แสดงความรู้สึกผิดปกติ
- สนใจรูปลักษณะของตนเอง
- สามารถติดต่อสื่อสารและมีกิจกรรมร่วมกับบุคคลอื่นได้ตามปกติ
- ร่วมมือในการรักษาพยาบาล
กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า                                                             ล
1.         สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการเปลี่ยนแปลงการรับรู้
 เกี่ยวกับภาพลักษณ์ เช่น หลีกเลี่ยงการส่องกระจกไม่สนใจเอาใจใส่
 กับรูปลักษณ์ของตนเอง ไม่ให้ความร่วมร่วมมือในการดูแล
43


2.            กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้บอกเล่าแสดงความรู้สึกต่างๆ เกี่ยวกับ
   ตนเอง ด้วยการให้เวลาและรับฟังอย่างสนใจ เพื่อให้ระบายความวิตก
   กังวล ความคับข้องใจและกลัว
3.            อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับอาการและการ
   แสดงของโรค และการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นจากผลของยา
   steroid โดยเฉพาะผู้ป่วยวัยรุ่นซึ่งสนใจในเรื่องภาพลักษณ์ของ
   ตนเองมาก พร้อมยกตัวอย่าง Case ทีอาการดีแล้ว เพื่อลดอาการวิตก
                                           ่
   กังวล
4.            ดูแลช่วยเหลือเรื่องการแต่งตัว ร่วมกับมารดา
5.            แนะนำาให้ครอบครัวดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดสมำ่าเสมอและ
   ส่งเสริมกำาลังใจแก่ผู้ป่วยทั้งด้วยคำาพูดและการกระทำา
6.            แนะนำาให้มารดาให้ข้อมูลแก่ครูและเพื่อน ขอร้องมิให้ล้อ
   เลียนผู้ป่วย เพื่อให้เกิดความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการดูแลผู้
   ป่วย
การประเมินผล ผู้ป่วยให้ความสนใจตนเอง รู้จักดูแลตนเอง ส่อง
กระจก หวีผม พูดคุยโทรศัพท์กับเพื่อนได้ พูดคุยถึงอาการหน้าบวม
ว่าเป็นจากฤทธิ์ของยา

 ข้อ วิน ิจ ฉัย ก า ร พ ย า บ า ล ที่ 6 ความสามารถในการปฏิบัติกิจวั ตร
ป ร ะ จำา วั น ล ด ล ง เ นื่ อ ง จ า ก เ ข่ า บ ว ม อั ก เ ส บ
ข้        อ        มู       ล       ส        นั           บ       ส        นุ       น
     S: “เ ดิ น ไ ม่ ค่ อ ย ไ ด้ มั น เ สี ย ว แ ล ะ ก็ เ จ็ บ เ ข่ า ข้ า ง ข ว า ”
     O: เข่ า ขวา บวม แด ง อั ก เสบ งอ แล ะเหยี ย ด ไม่ ไ ด้ ต ามปกติ
เ             ป้            า           ห             ม                า            ย
       ส า ม า ร ถ ทำา กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ไ ด้ ม า ก ขึ้ น ห รื อ ต า ม ป ก ติ
เ    ก        ณ    ฑ์   ก       า   ร    ป        ร   ะ       เ   มิ   น        ผ   ล
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำาวันได้ด้วยตนเอง หรือทำาได้มากขึ้นโดย
ไม่ปวดหรืออ่อนเพลีย
กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล
1.       สังเกตการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ภายหลังทำากิจกรรมเพื่อ
 ประเมินสภาพความทนต่อกิจกรรม
43


2.         ซักถามมารดาเกี่ยวกับกิจวัตรประจำาวันที่ผู้ป่วยชอบเพื่อ
  ประเมินลักษณะกิจวัตรประจำาวัน และความสนใจในการทำากิจกรรม
3.         แนะนำาให้ทำากิจกรรมบนเตียงในระยะที่ปวด หรือบวมมาก
  และเพิ่มกิจกรรมทีละน้อยตามระดับความสามารถของผู้ป่วย
4.         ดูแลช่วยเหลือกิจวัตรประจำาวัน และดูแลให้มารดาคอยช่วย
  เหลือดูแลอย่างใกล้ชิด
การประเมินผล ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้บนเตียง เวลาทำา
กิจกรรมที่ต้องใช้ขาขวามีมารดาคอยให้การช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด


ข้อ วิ น ิจ ฉัย ก า ร พ ย า บ า ล ที่ 7 ผู้ป่วยมีโอกาสกลั บเป็ นซำ้า หรื อได้รั บ
ก า ร ดู แ ล ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง                        ไ ม่ ต่ อ เ นื่ อ ง
ข้         อ        มู         ล        ส         นั           บ       ส         นุ        น
      S: “กลับไปคราวนี้ไม่รู้จะเป็นอะไรอีก จะต้องเข้ามานอนอีกหรือเปล่า
     ก็            ไ                  ม่              รู้            ”
      O: Plan ให้ ย า Antibiotic 2-3 อาทิ ต ย์ แล้ ว จึ ง จะ Discharge
เ              ป้              า             ห              ม               า             ย
        ผู้ ป่ ว ย ไ ด้ รั บ ก า ร ดู แ ล ถู ก ต้ อ ง ต่ อ เ นื่ อ ง ไ ม่ ก ลั บ เ ป็ น ซำ้า
เ      ก       ณ    ฑ์     ก       า    ร     ป        ร   ะ       เ   มิ    น        ผ   ล
- มารดาตอบข้อซักถามในเรื่องความรู้ในการดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง
- มารับการตรวจตามแพทย์นัด
กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า                                                               ล
1.         ประเมินความรู้ และให้ความรู้และคำาแนะนำาเกี่ยวกับการ
 ปฏิบัติตัวขณะอยู่โรงพยาบาล โดยให้ความรู้ ดังนี้
   - การดูแลสุขอนามัย ร่างกาย ปาก ฟัน
   - การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
   - อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงคืออาหารเค็มทุกชนิดหรืออาหารไม่สุก
       ไม่สะอาดเพราะอาจทำาให้มีการติดเชื้อได้ง่าย อาหารที่ควรรับ
       ประทานคือ โปรตีนจากสัตว์ และดื่มนม รับประทานอาหารที่มี
       Calcium สูงเพื่อป้องกันกระดูกพรุน
   - การจำากัดนำ้าดื่มในช่วงระยะแรก
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558Chuchai Sornchumni
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 

Was ist angesagt? (20)

คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 

Andere mochten auch

PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESAphisit Aunbusdumberdor
 
Acute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisAcute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisNew Srsn
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal GlomerulonephritisAcute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal GlomerulonephritisHakimah Suhaimi
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
23 Urinalysis
23 Urinalysis23 Urinalysis
23 Urinalysiskdiwavvou
 
วิตามินบี 2
วิตามินบี 2วิตามินบี 2
วิตามินบี 2earthquake66
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีSunisa199444
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney DiseaseCAPD AngThong
 

Andere mochten auch (20)

ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Acute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisAcute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritis
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
 
Anemia
AnemiaAnemia
Anemia
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal GlomerulonephritisAcute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
23 Urinalysis
23 Urinalysis23 Urinalysis
23 Urinalysis
 
วิตามินบี 2
วิตามินบี 2วิตามินบี 2
วิตามินบี 2
 
Renal failure
Renal failureRenal failure
Renal failure
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณี
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
 

Ähnlich wie กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข

เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขต๊อบ แต๊บ
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีSuwicha Tapiaseub
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50wayosaru01
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50chugafull
 
....
........
....MM AK
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50yyyim
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50Weerachat Martluplao
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72june41
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขfreelance
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
พื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptxพื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptxSunnyStrong
 

Ähnlich wie กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข (20)

เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
....
........
....
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72
 
Pat2 2552
Pat2 2552Pat2 2552
Pat2 2552
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
พื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptxพื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptx
 

กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข

  • 1. 43 กรณีศ ึก ษา 1. ข้ อ มู ล ส่ ว น บุ ค ค ล ชื่อผู้ป่วย ด .ญ .ธั ญ ญ า รั ต น์ ( น้ อ ง กิ๊ ฟ ) อายุ 14 ปี 9 เ ดื อ น เชื้อชาติ ไ ท ย สัญชาติ ไ ท ย ศาสนา พุ ท ธ สถานภาพสมรส โ ส ด ระดับการศึกษา มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 อาชีพ ใ น ป ก ค ร อ ง ที่ อ ยู่ ปั จ จุ บั น บ้ า นเลขที่ 595/1 ถนน ราชบู ร ณะ เขตบางปะ ก อ ก แ ข ว ง ร า ช บู ร ณ ะ ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ภู มิ ลำา เ น า ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 12 ธันวาคม 2555 ห อ ผู้ ป่ ว ย เ จ้ า ฟ้ า ฯ 6 วันที่รับไว้ในความดูแล 18 ธั น ว า ค ม 2555 วันที่ผู้ป่วยพ้นจากความดูแล 26 ธั น ว า ค ม 2555 2. ส รุ ป ส ภ า ว ะ ผู้ ป่ ว ย ก่ อ น รั บ ไ ว้ ใ น ค ว า ม ดู แ ล ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 14 ปี 9 เดือน นำ้าหนัก 50 กิโลกรัม เข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาล วันที่ 12 ธันวาคม 2555 มาโรง พยาบาลด้วยอาการ เข่าขวาบวม เป็น มา 3 วัน มีอาการเจ็บเสียวเวลา ลงนำ้า หนั ก มี ป ระวั ติ เ ข่ า บวมเมื่ อ 2 เดื อ นก่ อ นจากการปั่ น จักรยาน อาการบวมดีขึ้น และมีประวัติท้องเสียเข้ารับการรักษาที่โรง พยาบาลเจริญกรุง ฯ ตั้งแต่วันที่ 16 – 26 พฤศจิกายน 2555 วันนี้
  • 2. 43 มาตรวจมี เ ข่ า ขวาบวม มี ไ ข้ แรกรั บ เมื่ อ ตรวจร่ า งกายแล้ ว พบว่ า Right Knee warm , swelling , Limit extension ได้รับการทำา Arthrocentesis พบ joint fluid : straw color - turbidity RBC : few WBC : 240000 ( N = 89 L = 8 ) synovial cell = 3% sugar = 63 protein = 4.9 gramstain พบ Neumerous PMNS No organism seen AFB : Negative ร อ ผ ล Culture แพทย์ จึ ง ให้ น อนโรงพยาบาลเพื่ อ ให้ ย าปฏิ ชี ว นะ การวิ นิ จ แ ร ก แ ร ก รั บ คื อ 1. Septic Arthritis at right knee 2. SLE c LN classIII 3. ร า ย ง า น ป ร ะ วั ติ 3.1 แ ห ล่ ง ที่ ม า แ ล ะ ห รื อ / ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล จ า ก ข้ อ มู ล ใ น แ ฟ้ ม ป ร ะ วั ติ และจากมารดา 3.2 อ า ก า ร สำา คั ญ มี เ ข่ า ข ว า บ ว ม แ ด ง 3 วั น ก่ อ น ม า โ ร ง พ ย า บ า ล 3.3 ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ปั จ จุ บั น Known case SLE c LN classIII (Dx ส .ค . 55 ) Start Pulse methyl prednisolone 3 วั น then prednisolone ( 5 ) 6 * 2 O pc start IVCY ครั้งแรก 500 mg/m2 ล่าสุด ได้ IVCY ครั้ ง ที่ 4 ( 30 พ.ย. ) ปั จ จุ บั น on prednisolone ( 5 ) 8 * 1 O pc Amlodipine ( 5 ) 1 * 1 O pc 2 เดื อ นก่ อ น มี ป ระวั ติ เ ข่ า ขวาบวม เนื่ อ งจากปั่ น จั ก รยานแต่ ป ฏิ เ ส ธ อุ บั ติ เ ห ตุ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า อ า ก า ร บ ว ม ห า ย เ อ ง 1 เดือนก่อน มีประวัติเคยนอนโรงพยาบาลเจริญกรุง ฯ ตั้งแต่วันที่ 16 – 26 พ.ย. 55 ด้วย Diarrhea ได้รับได้รับยาปฏิชีวนะ ผล H / C – NG
  • 3. 43 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเข่าขวาบวม แดง อักเสบ เจ็บ เวลาลงนำ้าหนัก แพทย์จึงให้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้ยาแก้อักเสบฆ่า เชื้อ 3.4 ป ร ะ วั ติ เ จ็ บ ป่ ว ย ใ น อ ดี ต สุขภาพของมารดาขณะตั้งครรภ์ผู้ป่วยรายนี้แข็งแรงดี ฝากครรภ์ที่ โรงพยาบาลเจริญกรุง ฯ ผลการตรวจเลือดปกติ มาตรวจตามนัดอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง มารดาคลอดบุ ต รครรภ์ ค รบกำา หนด นำ้า หนั ก แรกคลอด 3,030 กรั ม แรกคลอดสุ ข ภาพแข็ ง แรงดี เด็ ก เจริ ญ เติ บ โตตาม พัฒนาการ ได้รับวัคซีนครบตามกำาหนด ไม่เคยเจ็บป่วยด้วยโรคร้ายแรง มีประวัติแพ้ยา Clindamycin และ Roxythromycin มีอาการผื่น ขึ้นทั่วตัว ปากบวม ปฏิเสธการแพ้อาหาร ปฏิเสธโรคทางพั นธุกรรม แ ล ะ โ ร ค ติ ด ต่ อ บุ ค ล ใ น ค ร อ บ ค รั ว มี สุ ข ภ า พ แ ข็ ง แ ร ง 3.5 ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ใ น ค ร อ บ ค รั ว
  • 4. 43 3.6 เ ค รื อ ข่ า ย แ ล ะ แ ห ล่ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว
  • 5. 43 3.7 ป ร ะ เ มิ น ห น้ า ที่ ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว 1. Adaptation ครอบครัวของผู้ป่วยมีการช่วยเหลือซึ่งกันและ กั นในเวลาที่มี ปั ญ หาโดยช่ ว ยกั นคิ ด และหาแนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หา 2. Partnership สมาชิ ก ในครอบครั ว มี ก ารพู ด คุ ย หรื อ ตั ด สิ น ปั ญ ห า ด้ ว ย ค ว า ม ป ร ะ นี ป ร ะ น อ ม ใ ช้ เ ห ตุ ผ ล ม า ก ก ว่ า อ า ร ม ณ์ 3. Growth สมาชิกในครอบครัวมีอิสระในการเลือกวิถีชีวิตของ ต น เ อ ง ไ ม่ มี ก า ร บั ง คั บ ถ้ า มี เ ห ตุ ผ ล 4. Affection เมื่ อ มี อ ารมณ์ โ กรธครอบครั ว ก็ จ ะพยายามให้ อารมณ์ บรรเทาลง เมื่อเศร้าหรื อ เสี ย ใจครอบครั ว ก็ จ ะคอยปลอบโยน 5. Resolve สมาชิ ก ในครอบครั ว มี เ วลาให้ กั น อย่ า งเพี ย งพอ 3.8 ป ร ะ วั ติ ส่ ว น ตั ว แ ล ะ แ บ บ แ ผ น ก า ร ดำา เ นิ น ชี วิ ต ประวัติส่วนตัว เกิดวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 คลอดปกติที่ โรงพยาบาลเจริญกรุง ฯ นำ้าหนักแรกคลอด 3,030 กรัม ได้รับ วัคซีนครบทุกครั้ง พัฒนาการและการเจริญเติบโตสมวัย เป็นบุตรคน เดี ย วของครอบครั ว อาศั ย อยู่ กับ บิ ด า – มารดา และคุ ณ ปู่ กำา ลั ง เ รี ย น อ ยู่ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 โ ร ง เ รี ย น ข จ ร โ ร จ น์ วิ ท ย า 3.9 ป ร ะ วั ต ิ ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ต า ม ร ะ บ บ (Review of system) 1. ก า ร ต ร ว จ ใ บ ห น้ า (Face) แ ล ะ ผิ ว ห นั ง ( Skin ) พบลักษณะใบหน้าบวมจากการรับ ประทานยา Steriod มีผื่น บริ เ วณใบหน้ า ผิ ว หนั ง ค่ อ นข้ า งแห้ ง กร้ า น แตก โดยเฉพาะ บ ริ เ ว ณ ข า 2. ก า ร ต ร ว จ ร ะ บ บ Musculoskeletal system พบเข่าขวาบวม แดง ร้อน ขยับเคลื่อนไหวข้อลำาบาก มี Limit Extension ไม่สามารถต้านแรงได้เนื่องจากมีอาการเจ็บ ปวด เวลา ข ยั บ 4. ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ ร่ า ง ก า ย จิ ต ใ จ สั ง ค ม
  • 6. 43 4.1 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ท า ง ชี ว ส รี ร ภ า พ 18 ธั น ว า ค ม 2555 อุ ณ หภู มิ ร่ า งกาย 36 องศาเซลเซี ย ส ความดั น โลหิ ต 121 / 74 มิลลิเมตรปรอท ชีพจร 102 ครั้ง /นาที อัตราการ หายใจ 22 ครั้ง / นาที นำ้า ห นั ก 50 กิ โ ล ก รั ม ส่ ว น สู ง 159 เ ซ น ติ เ ม ต ร 4.2 การประเมินสภาพร่างกาย อารมณ์ และจิตใจของผู้ป่วยเมื่อแรก พ บ ผู้ ป่ ว ยเป็ น เด็ ก วั ย รุ่ น หญิ ง ไทย รู ป ร่ า งสู ง ใหญ่ ผิ ว สี นำ้า ผึ้ ง มี อาการอ่อนเพลีย มีสีหน้าวิตกกังวล มีใบหน้าบวมจากการรับระทาน ยา Steriod บริ เ วณเข่ า ขวาบวม แดง เจ็ บ เสี ย วเวลาขยั บ หรื อ เคลื่อนไหว ถ้าขยับมากบางครั้งร้องไห้ ไม่ค่อยพูด แต่ถ้าซักถามก็ จะพู ด คุ ย ด้ ว ย เวลาบิ ด า – มารดามาเยี่ ย มจะมี สี ห น้ า สดชื่ น ยิ้ ม แย้ ม แ จ่ ม ใ ส ขึ้ น 4.3 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ ร่ า ง ก า ย ต า ม ร ะ บ บ ทุ ก ร ะ บ บ 4.3.1 รู ป ร่ า งลั ก ษณะทั่ ว ไป ผิ ว หนั ง เล็ บ ต่ อ มนำ้า เหลื อ ง ( General appearance Skin Nails and lymphatic ) รูปร่างสูง ใหญ่ ลักษณะเป็นคนเงียบ เรียบร้อย มีสีหน้าวิตกกังวล ผิวสีนำ้าผึ้ง มี รอยแห้งแตกโดยเฉพาะที่ขา จากการสัมผัสอุณหภูมิกายอุ่น ผิวค่อน ข้างแห้ง หยาบ มีความยืดหยุ่นน้อย มีบวม แดงบริเวณหัวเข่า เล็บ สีชมพูจาง ไม่พบแผลบริเวณโคนเล็บ ไม่พบ Spoon nail ไม่พบ ต่อมนำ้าเหลืองโต 4.3.2 ศี ร ษ ะ แ ล ะ ใ บ ห น้ า แ ล ะ ลำา ค อ ( Head Face and Neck ) เส้นผมสีนำ้า ตาลดำา บาง นิ่ม กระจายทั่ว ศี ร ษ ะ ส มำ่า เ ส ม อ ไ ม่ มี เ ห า ห รื อ รั ง แ ค ก ะ โ ห ล ก ศี ร ษ ะ รู ป ร่ า ง ป ก ติ Symmetry ดี คลำา กะโหลกแข็ ง เรี ย บไม่ พ บก้ อ น ใบหน้ า 2 ข้ า ง Symmetry เคลื่ อ นไหวได้ ต ามปกติ มี ใ บหน้ า บวมกดไม่ บุ๋ ม มี ผื่ น บ ริ เ ว ณ ใ บ ห น้ า ค ลำา ไ ม่ พ บ ก้ อ น ก ด ไ ม่ เ จ็ บ
  • 7. 43 ตา ( Eyes ) ขนคิ้วขนตาสีดำา กระจายตัวสมำ่า เสมอ ตาทั้งสอง ข้างมีขนาดเท่ากันอยู่ในระดับเดียวกัน และสมมาตรกัน ตาไม่บวม ไม่มี ขี้ตา เมื่อหลับตาเปลือกตาปิดได้สนิท เมื่อลืมตาหนังตาไม่ตก ลูกตาอยู่ ตรงกลางเบ้ า ตาไม่ โ ปน ตาไม่ เ หล่ ทดสอบ corneal light reflex แสงสะท้อนอยู่ตรงกลางรูม่านตา กระจกตาใส ตาขาวมีสีขาวใส เยื่อบุ เ ป ลื อ ก สี ช ม พู อ่ อ น ไ ม่ มี ก า ร ก ร ะ ตุ ก ข อ ง เ ป ลื อ ก ต า ดำา หู ( Ears ) รู ป ร่ า งใบหู ป กติ ข นาดใบหู เ ท่ า กั น ทั้ ง สอ งข้ า ง ตำา แหน่ ง หู อ ยู่ ใ นแนว Eye occipital line คลำา ภายนอกไม่ พ บก้ อ น ไม่มีอาการกดเจ็บ เจาะหู ไม่มีสารคัดหลั่ง ไม่มีตุ่มหนอง ตรวจสอบการ ไ ด้ ยิ น ป ก ติ จมูก ( Nose ) จมูกมีรูปร่างปกติ เป็นสันอยู่ในแนวกลาง ไม่มี อาการปีกจมูกบานขณะหายใจ เยื่ อบุ จมู กสี ชมพูชุ่มชื้ น turbinate ไม่บวมแดง ไม่มีสารคัดหลั่ง คลำาไม่พบก้อน กดบริเวณ Sinuses ไม่ เ จ็ บ ปากและฟัน ( Mouth and throat ) ริมฝีปากสีชมพู ค่อนข้าง แห้ง เยื่อบุกระพุ้งแก้ม ช่องปากเพดานปาก และเหงือกสีชมพูอ่อน ชุ่ม ชื้นไม่มีแผลที่มุมปาก ลิ้นไม่เป็นฝ้า ไม่มีแผลในกระพุ้งแก้ม การสบ ฟัน ฟันบนครอบฟันล่าง ฟันสีขาวมีคราบหินปูนเกาะเล็กน้อย พบฟัน ก ร า ม ด้ า น ล่ า ง ผุ ป ร ะ ม า ณ 3 ซี่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า แ ล้ ว คอ ( Trachea ) มี สี ผิ ว เดี ย วกั บ บริ เ วณ อื่ น ๆ ไม่ มี ผ ดผื่ น Symmetry ทั้งสองข้าง คลำาไม่พบก้อน กดไม่เจ็บ Trachea เป็น แนวอยู่ กึ่ ง กลาง ต่ อ มไทรอยด์ ไ ม่ โ ต คอเคลื่ อ นไหวได้ เ ป็ น ปกติ จากการคลำาต่อมนำ้าเหลือง คลำาไม่พบ Pre - auricular lymph node คลำาไม่พบ Posterior - auricular lymph node ค ลำา ไ ม่ พ บ Occipital lymph node คลำาไม่พบ Tonsilar Lymph node คลำา ไม่ พ บ Submental Lymph node
  • 8. 43 ค ลำา ไ ม่ พ บ Submaxillary Lymph node คลำาไม่พบ Deep cervical chain คลำา ไม่ พ บ Posterior cervicular Lymph node คลำา ไม่ พ บ Superficial Lymph node คลำาไม่พบ Supraclavicular Lymph node 4.3.3 ทรวงอกและทางเดิ น หายใจ ( Thorax and lungs ) รูปร่างทรวงอกไม่โป่งตึง สมมาตรกันดี ไม่มีอกไก่ ไม่มีอก ถังเบียร์ หายใจสมำ่าเสมอ 22 ครั้ง / นาที AP: Lateral diameter = 1:2 การเคลื่ อ นไหวของทรวงอกสั ม พั น ธ์ กั บ การหายใจ คลำา บริเวณอกไม่พบก้อน กดไม่เจ็บ และการขยายของทรวงอกเท่ากัน ทั้ ง 2 ข้าง คลำา tactile fremitus แรงสั่ นสะเทือ นเท่ ากั นทั้ ง 2 ข้าง เคาะบริเวณทรวงอกไม่ พ บเสี ย งผิ ด ปกติ ฟั งเสีย งหายใจปกติ ไ ม่ มี เ สี ย ง แ ท ร ก ไ ม่ มี เ สี ย ง secretion sound 4.3.4 หั ว ใจและหลอดเลื อ ด ( Cardiovascular system ) ทรวงอกไม่มีโป่งนูน ไม่พบ Heaving ไม่พบการเต้นของหัวใจที่ผิด ปกติ ไม่ มี neck vein engorge หรื อ เส้ น เลื อ ดโป่ ง พอง ไม่ มี หายใจตื้นหรือหายใจลำาบาก คลำาไม่พบ Thills PMI อยู่ตำาแหน่ง Intercostals space ที่ 4 ตั ด กั บ Midclavicular Line ฟั ง Heart sound ไม่ มี Murmur ได้ ยิ น เสี ย งการเต้ น ของหั ว ใจเป็ น จั งหวะสมำ่า เสมอ อัต ราการเต้ นของหั ว ใจ 102 ครั้ ง / นาที คลำา ชีพจรส่วนปลาย ( Peripheral Pulse ) ชัดเจนและสมำ่าเสมอเท่า กั น ดี บ ริ เ ว ณ ตำา แ ห น่ ง Carotid Pulse Brachial Pulse Radial Pulse Femeral Pulse Popitial Pulse Dorsalis Pulse
  • 9. 43 4.3.5 หน้ า ท้ อ งและทางเดิ น อาหาร ( Abdomen ) ท้ อ งไม่ โ ต ลั กษณะรูปร่างหน้ าท้อ งกลม สมมาตรดี ไม่มี Lesion ไม่มี การเต้ น หรื อ การเคลื่อ นไหวที่ผิ ด ปกติ สะดือ ไม่ โป่ ง นู น ฟั ง Bowel sound ทั้ง 4 quadrants ได้ 4-5 ครั้ง / นาที เคาะท้องได้ยินเสียงโปร่ง ( Tympanic ) คลำา ไม่พบก้อน กดไม่เจ็บ คลำาตับใต้ชายโครงขวาไม่ โต คลำาม้ามที่ชายโครงซ้ายไม่โต ต่อมนำ้าเหลืองบริเวณขาหนีบทั้ง ส อ ง ข้ า ง ไ ม่ โ ต 4.3.6 ระบบประสาท ( Nerveous system ) รู้สึกตัวดี พูดคุยรู้ เรื่องโต้ตอบได้ไม่สับสนการเคลื่อ นไหวของกล้ ามเนื้อ ใบหน้า หน้ า ผาก รอบปาก การยั ก คิ้ ว ทำา ปากจู๋ ดู ส มมาตรกั น ทั้ ง สองข้ า ง การ เคลื่อนไหวของลำาตัวแขนขาปกติ ไม่มีเกร็ง กระตุก กล้ามเนื้อไม่ ฝ ่อ Sensory system ปกติ Reflex ต่ า ง ๆ ปกติ ยกเว้ น ที่ หั ว เข่ า ไ ม่ ไ ด้ ต ร ว จ ก า ร ต ร ว จ Cranial nerves ต่ า ง ๆ คู่ ที่ 1 Olfactory nerve พ บ ก า ร ด ม ก ลิ่ น รั บ ก ลิ่ น ป ก ติ คู่ ที่ 2 Optic nerve สามารถมองเห็ น และอ่ า นหนั ง สื อ ได้ คู่ ที่ 3 , 4, 6 Oculomotor nerve , Trochlear nerve , Abducens nerve สามารถกรอกลู ก ตามอง ขึ้ น – ลงได้ Pupil reac to light equally 2.5 min คู่ ที่ 5 Trigerminal nerve มี ค วามแข็ ง แรงของกล้ า มเนื้ อ บริเวณขมับและขากรรไกร ตรวจการรับรู้บริเวณใบหน้า สามารถ รั บ รู้ ไ ด้ คู่ที่ 7 Facial nerve การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อใบหน้าปกติ แ ล ะ ก า ร รั บ ร ส ที่ ป ล า ย ลิ้ น ป ก ติ คู่ ที่ 8 Auditory nerve พ บ ว่ า ก า ร ไ ด้ ยิ น ป ก ติ คู่ ที่ 9 , 10 Glossopharyngeal nerve และ Vagus nerve พบว่าผู้ป่วยไม่มีเสียงแหบ พูดได้ชัดเจน ลิ้นไก่อยู่ตรงกลาง ตรวจ Gag reflex ผู้ ป่ ว ย มี ก า ร ข ย้ อ น
  • 10. 43 คู่ ที่ 11 Accessory nerve มี ค วามแข็ ง แร งข อ งกล้ า มเ นื้ อ sternocleidomastoid and trapezius คู่ ที่ 12 Hypoglossal nerve มี ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ข อ ง ลิ้ น 4.3.7 กล้ามเนื้อและกระดูก ( Musculoskeletal system ) Tempero mandibular Joint ไม่มีการอักเสบบวมแดง ไม่พบ ก้อนกดเจ็บ ขณะอ้าปาก หุบปาก กัดฟัน จะพบความตึงตัวของกล้าม เ นื้ อ temporal แ ล ะ masseter Neck Joint ไม่มีการอักเสบบวมแดงที่ค อ คลำา ไม่พบก้อน กด ไม่เจ็บ สามารถก้มหน้าต้านแรง เอียงคอ ซ้าย ขวา และหมุนศีรษะได้ ต า ม ป ก ติ Shoulder Joint ไหล่สองข้างไม่มีการอักเสบบวมแดง คลำาไม่ พบก้ อ น กดไม่เจ็บ สามารถยกแขนทั้ งสองไว้ เหนื อ ศี ร ษะและด้ าน หน้าต้านแรงได้ สามารถยกแขนทั้งสองไว้เหนือศีรษะ ท้ายทอย และ บ ริ เ ว ณ เ อ ว ด้ า น ห ลั ง ไ ด้ ต า ม ป ก ติ Elbow Joint ข้อศอกไม่มีการอักเสบบวมแดง คลำาไม่พบก้อน กดไม่ เ จ็ บ มี แ รงต้ า นขณะงั ด ข้ อ ศอก ความตึ ง ตั ว ของกล้ า มเนื้ อ ดี ส า ม า ร ถ เ ห ยี ย ด แ ข น ง อ แ ข น ห ง า ย มื อ ค วำ่า มื อ ไ ด้ Wrist Joint ข้อ มือ ไม่ มี การอั กเสบบวมแดง คลำา ไม่ พ บก้ อ น กดไม่เจ็บ กระดกข้อมือ ขึ้นลงต้านแรงได้ สามารถกระดกมือขึ้น – ล ง แ ล ะ ห มุ น ข้ อ มื อ ไ ด้ Finger Joint นิ้วมือไม่มี การอั กเสบบวมแดง คลำา ไม่พ บก้อ น กดไม่ เ จ็ บ กางนิ้ ว ต้ า นแรงได้ ต ามปกติ และกางมื อ หุ บ มื อ ได้ Hip Joint สะโพกไม่มีการอักเสบบวมแดง คลำาไม่พบก้อน กด ไม่เจ็บ ยกขาขึ้น – ลง กาง – หุบขาต้านแรงได้เฉพาะขาซ้าย ขา
  • 11. 43 ขวามีการอักเสบที่เข่าทำาไม่สะดวก การทำา ROM ของสะโพกผู้ป่วย ป ฏิ เ ส ธ ไ ม่ ข อ ท ด ส อ บ Knee Joint ที่เข่าขวามีการอักเสบ บวม แดง มีผ้าปิดแผลไว้ หลังการเจาะนำ้าที่เข่าไปตรวจ แผลไม่มี Discharge ซึม ขยับงอ – เ ห ยี ย ด แ ล้ ว เ จ็ บ เ ดิ น ล ง นำ้า ห นั ก แ ล้ ว เ สี ย ว ป ว ด Ankle - Feet Joint และ Motor System ไม่ ไ ด้ ท ดสอบ เนื่อ งจากผู้ป่วยมีเข่ าอักเสบ ปวด และขอไม่ข ยับ บริ เวณขาทั้ งหมด แ ล ะ ยื น ต ร ว จ 4.3.7 เต้ า นมและหั ว นม (Breast and nipple) ผู้ ป่ ว ยขอไม่ ต ร ว จ 4.3.8 ระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary system) จากการซัก ประวัติจากผู้ป่วย ไม่มีปัญหาเรื่องปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะสีเหลืองวัน ล ะ 3-4 ค รั้ ง เ ค า ะ บ ริ เ ว ณ Costrovertible ไ ม่ เ จ็ บ 4.3.9 ระบบสื บพั นธ์ (Reproductive System) จากการ ซั ก ประวัติจากมารดาและผู้ป่วยบอกว่าไม่เคยได้รับบาดเจ็บที่อวัยวะสืบพันธ์ และทวารหนัก ไม่มีอ าการที่แสดงถึ งความผิด ปกติข องอวั ยวะสื บพั นธ์ ภ า ย น อ ก 4.4 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ จิ ต สั ง ค ม 5 ผ ล ก า ร ต ร ว จ ท า ง ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ อื่ น ๆ Complete blood count (CBC)
  • 12. 43 วัน เดือน การตรวจทาห้อง ค่าที่ตรวจพบ ค่าปกติ ปี ปฏิบัติการ 12 ธั น วา Hematocrit 30.3 % 31-43 % ค ม 55 (Hct) 9.7 g/dl 11-16 g/dl Hemoglobin 11, 470 5,000-10,000 (Hb) cells/cu.mm. cells/cu.mm White blood 175,000 200,000-500,000 cell (WBC) cells/cu.mm cells/cu.mm Platelet (Plt) 88.5 % 40-75 % Neutrophils 0.3 % 1-6 % Eosinophils 0.1 % 0-1 % Basophils 7.1 % 20-50 % Lymphocytes 4% 2-10 % Monocytes ก า ร แ ป ร ผ ล การตรวจ Complete blood count (CBC) เป็ น การ ตรวจหาความผิ ด ปกติ ข องส่ ว นประกอบต่ า ง ๆของเลื อ ด ผู้ ป่ ว ยมี ผ ล White blood cell (WBC) สู ง เล็ ก น้ อ ยเป็ น ตั ว ช่ ว ยบอกระยะเวลาที่ ร่างกายสร้างระบบภูมิคุ้มกันต่อ Antigen ที่เข้าไปในร่างกาย อาจเกิด ได้ ใ นภาวะติ ด เชื้ อ เฉี ย บพลั น (Acute infection) อาจเป็ น จากระบบ ไหลเวียน หรือจากเชื้อไวรัส (Viral infection) (ชวนพิศ วงศ์สามัญ , ก ล้ า เ ผ ชิ ญ โ ช ค บำา รุ ง ,2546)
  • 13. 43 Blood for chemistry การตรวจทางห้ อ งปฏิ บั ติ 12 ธันวาคม ค่าปกติ ก า ร 55 Blood urea 17.8 mg / 8 -18 mg / nitrogen (BUN) dl dl Creatinine (Cr) 0.8 mg / dl 0.3-1.2 mg / dl Sodium (Na) 146 mEq/liter 136-145 Potassium (K) mEq/liter 3.5 Chloride (Cl) mEq/liter 3.5 – 5 .5 Bicarbonate mEq/liter 105 Total Billirubin mEq/liter 98-105 mEq/liter Direct Billirubin 24 mEq/liter 22-30 0 SGOT mEq/liter 0.2 mg / dl SGPT 0.1 – 1.2 0.08 mg / Alkaline mg / dl dl phosphate 0.1 – 0.8 22 U / I Albumin mg / dl 51 U / ml Globulin 19 - 28 U / 117 U / I liter 5 - 50 U / 3.6 g / dl ml 39 - 179
  • 14. 43 3.6 g / dl U / liter 4 – 5.8 g / dl 1.3 – 3.4 g / dl ก า ร แ ป ร ผ ล ก า ร วั ด ร ะ ดั บ Blood urea nitrogen (BUN) Creatinine (Cr) ในร่างกายจะช่ว ยชี้วัดการทำา หน้าที่ของไต ในการ กำา จั ด ของเสี ย ที่ เ กิ ด จาการย่ อ ยสลายโปรตี น และไตยั ง เป็ น ตั ว ควบคุ ม ระดั บ ของอิเล็กโทรไลต์ที่สำา คั ญ ได้ แก่ Chloride (Cl), Potassium (K), Sodium (Na) สำา หรับ ผู้ป่วยรายนี้อยู่เกณฑ์ป กติ ผลโปรตีนใน ร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ ผลการทำา งานของตับก็ ป กติ (ชวนพิศ วงศ์ ส า มั ญ , ก ล้ า เ ผ ชิ ญ โ ช ค บำา รุ ง , 2546)
  • 15. 43 Urine analysis การตรวจทางห้องปฏิบัติ 12 ธันวาคม 13 ธันวาคม ค่าปกติ ก า ร 55 55 Color Yellow Yellow Yellow pH 5 6 4.6 – 8 Specific gravity 1.015 1.015 1.001 (sp.gr.) -1.035 Negative Negative Glucose/Sugar Negative (- 4+ 3+ ve) Protein Negative Negative Negative (- Ketone 3+ 2+ ve) Blood 3 - 5 hpf 0 - 1 hpf Negative (- WBC ve) 50 -100 10 - 20 RBC hpf hpf - อื่นๆ.. Dysmorphi ไม่พบ 0 – 2 / hpf c RBC 0 – 2 / hpf ไม่พบ การแปรผ ล พบความผิดปกติของ Proteinuria บอกถึงความผิดปกติ ระบบทางเดินปัสสาวะตั้งแต่เนื้อไตจนถึงทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง คือมี โปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน Protein 4+ คือมีโปรตีนมากกว่า 3000 มิลลิกรัมต่อวัน พบ WBC ในปั ส สาวะ บ่ ง บอกถึ ง Infection, Inflammation ที่ KUB พบ RBC ใน ปัสสาวะบ่งบอกถึง Lesion อยู่ที่ Glumerulus หรือ Tubule พบ Dysmorphic RBC ในปัสสาวะ บ่งบอกถึง
  • 16. 43 Glomerulus เสียรูปเพราะต้องผ่านบริเวณขรุขระ ( สมาคมโรคไตแห่ง ประเทศไทย,2552 ) Synovial Fluid การตรวจทางห้องปฏิบัติ 12 ธันวาคม การ 55 Color Straw White blood cell 240,000 (WBC) Few Red blood cell 89 ( RBC ) 8 Neutrophils 4.9 Lymphocytes 63 Protein Sugar ก า ร แ ป ร ผ ล การตรวจ Synovial Fluid เป็ น การเจาะตรวจ หาความผิ ด ปกติ ข องนำ้า ที่ เ ข่ า โดยทั่ ว ไปการมี ผู้ White blood cell ( WBC ) สูงมากแสดงถึงการติดเชื้อรุนแรง ซึ่งผลการเพาะเชื้อนำ้าที่เข่า พ บ Salmonella 6. ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร ค แ ล ะ พ ย า ธิ รี ภ า พ 6.1 ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร ค แ ล ะ คำา จำา กั ด ค ว า ม SLE Systemic Lupus Erythematosus (SLE) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า lupus (โรคลูปัส) โรคลูปัสไม่ได้เป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรงอย่างที่ผู้คนส่วนมาก เข้าใจ โรคลูปัสเกิดจากการที่ผู้ป่วยมีการผลิตโปรตีนของภูมิคุ้มกันใน
  • 17. 43 เลือดที่เรียกว่าแอนติบอดี้ขึ้นมามากเกินปกติซึ่งอาจทำาให้เกิดปัญหาใน อวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไม่ว่าทั้งทางตรงและทางอ้อมดังนั้น โรค ลูปัสคือการที่เลือดมีการจัดตัวอย่างไม่เป็นระเบียบ โปรตีนเหล่านี้อาจไป ปรากฏตัวอยู่ตามผิวหนัง, ก่อให้เกิดผื่นผิวหนัง, หรือไปฝังตัวอยู่ในไต, สมอง, ปอดและข้อต่าง ๆทั่วร่างกายสิ่งที่สำาคัญมากที่จะต้องทำาความ เข้าใจคือ อวัยวะทุกส่วนในร่างกายที่มีการอักเสบสามารถรักษาให้หาย ได้อย่างไม่ยากโดยแทบจะไม่มีข้อยกเว้นใด ๆ เมื่ออาการอักเสบที่เกิด ขึ้นบรรเทาลง แล้วหรืออยู่ในภาวะที่สามารถควบคุมได้แล้ว ก็จะไม่ทิ้ง ร่องรอยความเสียหายถาวรไว้ การวิน ิจ ฉัย การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคลูปัสในปัจจุบันจะอิงตามเกณฑ์ของ American College of Rheumatology ซึ่งเกณฑ์นี้ประกอบไป ด้วยอาการทางคลินิก และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์โดยผู้ป่วย ควรมีจำานวนข้อที่เข้าได้อย่าง น้อย 4 ข้อหรือมากกว่าจากจำานวน ทั้งหมด 11 ข้อ เพื่อแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยมีความผิดปกติในหลายระบบ เกณฑ์วินิจฉัยดังกล่าว ให้ความไวในการวินิจฉัยโรค SLE ร้อยละ 96 และมีความแม่นยำาร้อยละ 96 ในบางครั้งผู้ป่วยอาจจะมีจำานวนข้อที่ เข้าได้ตามเกณฑ์น้อยกว่า 4 ข้อ เนื่องจากบางครั้งอาการ และอาการ แสดงต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน ดังนั้นหากผู้ป่วยมีอาการค่อนข้าง มาก และมีอาการโน้มเอียงทาง โรคลูปัส แพทย์อาจต้องพิจารณา ให้การรักษาก่อน เช่น ผู้ป่วยมีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 1 กรัม ร่วมกับมีเม็ดเลือดแดง แคสเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ ร่วมกับมี ANA ให้ ผลบวกในระดับสูง anti-ds DNA ให้ผลบวก การตัดตรวจเนื้อไตเข้า ได้กับภาวะไตอักเสบลูปัส ถึงแม้ผู้ป่วยรายนี้จะมีเพียง 3 ข้อก็ตาม ก็ควร ได้รับการรักษาในทันที การวินิจฉัยโรค SLE ไม่ง่ายอย่างที่คิด เนื่องจากอาการของโรคซับซ้อน การวินิจฉัยต้องอาศัยประวัติการเจ็บ ป่วยที่ค่อยข้างละเอียด และแพทย์ต้องระลึกถึงโรคนี้อยู่เสมอ การตรวจ ร่างกายถ้าพบลักษณะเฉพาะก็สามารถวินิจฉัยได้ นอกจากนั้นแพทย์จะ เจาะเลือดเพื่อวินิฉัยดังนี้ 1. Antinuclear antibody คือตรวจหาว่ามีภูมิคุ้มกันของร่างกาย antibody ทำาลาย nucleus ตัวเองหรือไม่ วิธีการโดยการหยด serum ของผู้ป่วยบนเซลล์ของตับหนู แล้วใช้ antihuman IgG ซึ่งฉาบสารเรืองแสงส่องกล้องจุลทรรศน์เรืองแสงจะพบความผิด ปกติได้ ถ้าการตรวจให้ผลบวกแสดงว่าเป็น SLE
  • 18. 43 2. การตัดชิ้นเนื้อ biopsy ที่ผิวหนังและไตเพื่อตรวจหาภูมิคุ้มกันที่ เกาะติดอวัยวะดังกล่าว 3. การตรวจหา VDRL ให้ผลบวกหลอก 4. การตรวจ CBC อาจจะพบว่าซีด หรือเม็ดเลือดขาวตำ่า หรือเกล็ด เลือดตำ่า 5. การตรวจปัสสาวะพบว่ามีไข่ขาวรั่วมากกว่า 0.5 กรัม ต่อวันและ บางรายอาจจะพบเซลล์เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวในปัสสาวะด้วย 6. ตรวจพบ LE cell ในเลือด 7. ตรวจ Erythrocyte sedimentation rate (ESR) ถ้ามีการ อักเสบมากค่า ESR จะสูงค่าตัวนี้ใช้ติดตามการรักษา 8. เจาะหา Complement levels คือสารเคมีในร่างกายถ้าโรคเป็น มากค่านี้จะตำ่า เกณฑ์ก ารวิน ิจ ฉัย โรคลูป ัส Systemic Lupus Erythematosus (SLE) 1. มีผื่นที่แก้ม 2. มีผื่น Discoid rash 3. มีผื่นอาการแพ้แสง 4. แพทย์ตรวจพบแผลในปาก 5. มีข้ออักเสบ พบข้อมีอาการปวด บวม แดง ร้อนมากกว่า 2 ข้อ 6. เยื่อหุ้มปอดหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ 7. ตรวจปัสสาวะพบโปรตีนหรือพบ cellular casts 8. มีอาการทางระบบประสาท เช่น ชัก อาการทางจิต 9. มีความผิดปกติทางโรคเลือดได้แก่โลหิตจางจาก Hemolytic anemia หรือเม็ดเลือดขาวตำ่ากว่า 4000/L หรือเซลล์ lymphopenia น้อยกว่า 1500/L หรือเกล็ดเลือดขาวตำ่ากว่า thrombocytopenia 100,000/L
  • 19. 43 10. ตรวจเลือดระบบภูมิพบ Anti-dsDNA, anti-Sm,และหรือ anti- phospholipid 11. ตรวจพบ Antinuclear antibodies 6.2 พยาธิส รีร ภาพของโรคเปรีย บเทีย บกับ ผู้ป ่ว ย ในผู้ป่วยรายนี้มีหลักฐานบ่งชี้ว่ามีพยาธิ สภาพตรงกับทฤษฎีคือ มี Criteria ในการวินิจฉัยโรค ดังนี้ 1. ตรวจพบ Antinuclear antibodies ( มากกว่า 1 : 2,560 ) 2. ตรวจเลือดระบบภูมิพบ Anti-dsDNA ( 1 : 640 ) 3. เยื่อหุ้มปอดหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ( Pleural effusion , Minimal pericardial effusion ) 4. Pancytopenia 5. ตรวจปัสสาวะพบโปรตีนหรือพบ cellular casts ( Renal Biopsy : Lupus Nephritis ClassIII ) และในปัจจุบันนี้เริ่มมีอาการของโรคเพิ่มขึ้น คือมีผื่นที่แก้ม มีข้อ อักเสบ พบข้อมีอาการปวด บวม แดง ร้อน 7. การรัก ษาที่ผ ู้ป ่ว ยได้ รับ ( แหล่งที่มา : จากคำาสั่งการรักษาของแพทย์ในเวชระเบียนผู้ ป่วยระหว่างวันที่ 18 – 26 ธันวาคม 2555 ) ยาสำา คัญ ที่ใ ช้ - Prednisolone ( 5 ) 6 * 1 O OD PC สรรพคุณ  ยานี้ใช้รักษาการอักเสบที่บริเวณผิวหนัง ข้อต่อ ปอด และอวัยวะอื่น โดยทั่วไปยานี้ใช้รักษาโรคหอบหืด ภูมิแพ้ ข้อต่ออักเสบ  นอกจากนี้ยานี้ยังใช้รักษาความผิดปกติของระบบเลือดและโรคที่ เกี่ยวข้องกับต่อมหมวกไต(adrenal gland) วิธ ีใ ช้ย า
  • 20. 43  ยานี้อยู่ในรูปแบบยาเม็ดสำาหรับรับประทาน โดยปกติให้รับประทาน พร้อมอาหารหรือนม ถ้ารับประทานวันละ 1 ครั้งให้รับประทานตอนเช้า หรือให้ใช้ยานี้ตามวิธีใช้ที่ระบุบนฉลากยาอย่างเคร่งครัด โดยห้ามใช้ ยาในขนาดที่มากหรือน้อยกว่าที่ระบุ และหากมีข้อสงสัยให้สอบถาม แพทย์หรือเภสัชกร  ไม่ค วรหยุด ยาเอง เนื่อ งจากการหยุด ยาทัน ทีจ ะทำา ให้เ กิด อาการรุน แรง การหยุด ยาให้ป รึก ษาแพทย์ โดยแพทย์จ ะต้อ ง ค่อ ยๆปรับ ขนาดยาลง ผลข้า งเคีย ง 1) อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที มีการ บวมและเจ็บบริเวณขาข้างหนึ่ง เจ็บตา ประสิทธิภาพในการมอง เห็นลดลง ตาโปน ไข้ ไอ จาม เจ็บคอ หรืออาการอื่นที่แสดงถึงการติด เชื้อ แผลที่รักษาไม่หาย ปัสสาวะบ่อย กระหายนำ้ามาก หดหู่ อารมณ์ เปลี่ยนแปลง เจ็บบริเวณ สะโพก หลัง ซี่โครง ขา แขน ไหล่ บวม บริเวณเท้า น่อง 2) อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง หรือ รบกวนชีวิตประจำาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทราบ คือ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ สับสน นำ้าหนักตัวเพิ่ม - CaCo3 ( 1 g ) 1 * 1 O PC ส ร ร พ คุ ณ  ย า นี้ ใ ช้ เ ส ริ ม ห รื อ ท ด แ ท น แ ค ล เ ซี ย ม  ยานี้อาจใช้เป็นยาลดกรดเพื่อบรรเทาอาการแสบร้อนบริเวณยอดอก อาหารไม่ย่อย และรู้สึกไม่สบายท้อง  ยานี้ อ าจใช้ ใ นข้ อ บ่ ง ใช้ อื่ น เช่ น บางครั้ ง ใช้ ใ นการลดปริ ม าณ ฟอสเฟตในเลือดในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง วิ ธี ใ ช้ ย า  กรณีใ ช้เ พื่อ ยานี้ใ ช้เ สริม หรือ ทดแทนแคลเซีย ม รับประทาน ยานี้พร้อมอาหารหรือหลังอาหาร
  • 21. 43  กรณีใ ช้ย านี้เ ป็น ยาลดกรดเพื่อ ช่ว ยบรรเทาอาการแสบร้อ น กลางอก อาหารไม่ย ่อ ย หรือ อาการไม่ส บายท้อ ง รับประทานยานี้ หลังอาหารโดยเคี้ยวยาให้ละเอียดก่อนกลืนยา และไม่ควรใช้ยาเกินสอง สัปดาห์ ยกเว้นแพทย์สั่งใช้  ใช้ยานี้ตามวิธีใช้ที่ระบุบนฉลากยาอย่างเคร่งครัด โดยห้ามใช้ยาใน ขนาดที่มากหรือน้อยกว่าที่ระบุ และหากมีข้อสงสัยให้สอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร  ควรรับ ประทานยาอื่น ๆ ห่า งจากยานี้อ ย่า งน้อ ย 1-2 ชั่ว โมง  กรณีร ับ ประทานเพื่อ ลดปริม าณฟอสเฟตในเลือ ดในผู้ป ่ว ย โรคไตวายเรื้อ รัง ให้รับประทานยานี้พร้อมอาหารคำาแรก  เพื่อ ลดอาการท้อ งผูก ที่อ าจเกิด จากการใช้ย า รับ ประทาน ยานี้แ ล้ว ควรดื่ม นำ้า วัน ละหลายๆแก้ว ผลข้า งเคีย ง 1) อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที มีด ัง นี้ สับสน หงุดหงิดง่าย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย หรือเหนื่อยง่ายผิดปกติ 2) อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง หรือ รบกวนชีวิตประจำาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทราบ มีด ัง นี้ รู้สึกไม่สบายท้อง ปวดท้อง เรอ ท้องผูก ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อยขึ้น รู้สึก ถึงรสชาติโลหะในปาก - Plaquenil ( 200 ) 1 * 1 O PC ส ร ร พ คุ ณ  ยานี้ใช้เพื่อรักษาโรคมาลาเรีย อาจใช้เพื่อรักษาโรคข้ออักเสบ และ โรค systemic and discoid lupus erythematosus ในผู้ป่วยที่ รักษาด้วยยาตัวอื่นไม่ได้ผล และยังอาจใช้เพื่อรักษาโรค porphyria cutanea tarda ในบางกรณี  ยานี้ใช้เพื่อป้องกันการเกิดโรคมาลาเรีย วิธ ีใ ช้ย า  การใช้เพื่อรักษาการติดเชื้อมาลาเรียในผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 4 เม็ด หลังจากนั้น 6 ถึง 8 ชั่วโมงรับประทานอีก 2 เม็ดจากนั้น รับ ประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1 ครั้งต่อเนื่องไปอีก 2 วัน
  • 22. 43  การใช้ยาเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อมาลาเรียในทารกและเด็ก เล็ก ให้รับประทานตามคำาแนะนำาของแพทย์อย่างเคร่งครัด  การใช้ยาเพื่อรักษาโรค lupus erythematosus รับประทานครั้ง ละ 1-2 เม็ดวันละ 1 หรือ 2 ครั้ง  การใช้ยาเพื่อรักษาโรคข้ออักเสบ รับประทานครั้งละ 1-3 เม็ดวันละ 1 ครั้ง  การใช้เพื่อป้องกันการเกิดโรคมาลาเรียในผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 2 เม็ด 1 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยรับประทานในวันเดียวกันของแต่ละ สัปดาห์ รับประทานยาก่อนเดินทางไปในพื้นที่มีความเสี่ยงต่อการติด เชื้อมาลาเรีย 1-2 สัปดาห์ และรับประทานต่อเนื่องอีก 8 สัปดาห์ หลัง กลับจากพื้นที่นั้น  ควรรับ ประทานยานี้พ ร้อ มอาหารหรือ นม  รับ ประทานยาตามแพทย์ส ั่ง อย่า งเคร่ง ครัด ห้า มใช้ย าใน ขนาดที่ม ากหรือ น้อ ยกว่า ที่ร ะบุ และหากมีข ้อ สงสัย ให้ส อบถาม แพทย์ห รือ เภสัช กร  ไม่ค วรหยุด รับ ประทานยาเองโดยไม่ป รึก ษาแพทย์  รับ ประทานยานี้แ ล้ว อาจมีอ าการง่ว งซึม ไม่ค วรขับ รถหรือ ทำา งานเกี่ย วกับ เครื่อ งจัก ร  รับ ประทานยานี้แ ล้ว อาจทำา ให้เ ลือ ดหยุด ไหลช้า ลง ควร ระมัด ระวัง ไม่ใ ห้ม ีเ ลือ ดออก เช่น มีด บาด หรือ การแปรงฟัน แรงๆ เป็น ต้น  ไม่ค วรรับ ประทานพร้อ มกับ ยาลดกรด ผลข้า งเคีย ง 1) อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที มีด ัง นี้ มี เลือดออก หรือจำ้ารอยชำ้าที่ผิวหนัง มีเสียงในหู หัวใจเต้นผิดปกติ กล้าม เนื้ออ่อนแรง เซื่องซึม การอ่าน หรือการมองเห็นผิดปกติ สูญเสียการ ได้ยิน ชัก ภาวะไวต่อแสง 2) อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง หรือ รบกวนชีวิตประจำาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทราบ มีด ัง นี้ ผื่น ที่ผิวหนัง ท้องเสีย ปวดศีรษะ ไม่สบายท้อง ปวดท้อง ง่วงนอน เบื่อ อาหาร อาเจียน
  • 23. 43 - Amlodipine ( 5 ) 1 * 1 O PC ส ร ร พ คุ ณ  ยานี้ใช้เพื่อรักษาโรคความดันโลหิตสูง  ยานี้ใช้เพื่อป้องกันอาการปวดเค้น (angina) หรืออาการเจ็บหน้าอก  ยานี้อ าจใช้เพื่อ รักษาโรคหรือ อาการอื่ นๆ ดังนั้นหากมี ข้อ สงสัย จึง ค ว ร ส อ บ ถ า ม แ พ ท ย์ ห รื อ เ ภ สั ช ก ร วิธ ีใ ช้ย า  ยานี้อยู่ในรูปแบบยาเม็ด ใช้สำาหรับรับประทาน โดยทั่วไปรับ ประทานวันละครั้ง หรือใช้ยานี้ตามวิธีใช้ที่ระบุบนฉลากยาอย่าง เคร่งครัด โดยห้ามใช้ยาในขนาดที่มากหรือน้อยกว่าที่ระบุ และหากมี ข้อสงสัยให้สอบถามแพทย์หรือเภสัชกร  รับประทานยานี้ได้ทั้งก่อนหรือหลังอาหาร แต่ควรเป็นเวลาเดียวกัน ในแต่ละวัน และควรรับประทานยาให้ตรงเวลาทุกครั้ง  ไม่ควรรับประทานอาหารที่มีรสเค็มและอาหารที่มีปริมาณเกลือหรือ โซเดียมสูง  ยานี้อาจทำาให้เกิดอาการง่วงซึม ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ ยานพาหนะหรือควบคุมเครื่องจักร  การดื่มแอลกอฮอล์ระหว่างการใช้ยานี้อาจทำาให้มีอาการมึนงงหรือ ง่วงซึมมากขึ้น  ไม่ค วรหยุด รับ ประทานยานี้ท ัน ที ควรปรึก ษาแพทย์เ พื่อ ค่อ ยๆปรับ ลดขนาดยาลง  ยานี้อาจทำาให้เกิดอาการหน้ามืด เวียนศีรษะ ดังนั้นจึงไม่ควรลุกขึ้น ยื น ห รื อ นั่ ง ล ง อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ผลข้า งเคีย ง 1) อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที มีด ัง นี้ มีอาการแพ้ เช่น ผื่นคัน ผื่นลมพิษ บวมตามอวัยวะต่างๆ เช่น ใบหน้า ริมฝีปาก ลิ้น หายใจลำาบาก เวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม การมองเห็น หรือการได้ยินเปลี่ยนแปลงไป เจ็บหน้าอกมากขึ้นหรือถี่ขึ้น หัวใจเต้น ผิดจังหวะหรือเร็วผิดปกติ บวมตามอวัยวะต่างๆ เช่น ขา ข้อเท้า 2) อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง หรือ รบกวนชีวิตประจำาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทราบ มีด ัง นี้ ปวดศีรษะ มึนงง ปวดหรือไม่สบายท้อง มีลมในกระเพาะอาหาร คลื่นไส้
  • 24. 43 อาเจียน เหนื่อยหรืออ่อนแรงโดยไม่ทราบสาเหตุ หน้าแดง ร้อนวูบวาบ ง่วงซึม - Cefotaxime 2.5 g + 5 %D/W 50 ml drip in 30 นาที ทุก 6 ชม. ส ร ร พ คุ ณ เป็นยากลุ่ม cephalosporins มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียได้กว้าง ขวางทั้งที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน ยาในรุ่นแรกมีฤทธิ์ต่อเชื้อ แกรมบวกดี แต่มีฤทธิ์ตอเชื้อแกรมลบและเชื้อที่ไม่ใช้ออกซิเจนตำ่า ยาใน ่ รุ่นหลังมีฤทธิ์ต่อเชื้อแกรมลบและเชื้อที่ไม่ใช้ออกซิเจนดีขึ้น โดยเฉพาะ ยารุ่นที่ 4 ทีออกฤทธิ์ตอเชื้อแบคทีเรียที่ใช้ออกซิเจนแกรมบวก แกรม ่ ่ ลบและเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน นอกจากนั้น ยาในกลุ่มนี้ยังมี อาการไม่พึงประสงค์ตำ่า ด้วยคุณสมบัติเหล่านี้ทำาให้ยากลุ่ม cephalosporins จึงเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายในการรักษาโรคติด เชื้อชนิดต่างๆ วิธ ีใ ช้ย า ฉีดเข้าเส้นเลือดดำา, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อในรักษาอาการติดเชื้อได้เช่น เดียวกับ ceftriaxone ขนาดยาโดยทั่วไปในผู้ใหญ่คือวันละ 1 กรัม ทุก 6 - 12 ชั่วโมง สำาหรับทารกและเด็กอายุตำ่ากว่า 12 ปี ให้วันละ 50 - 150 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ทุก 6 - 12 ชั่วโมง สำาหรับทารกที่ คลอดก่อนกำาหนดหรืออายุตำ่ากว่า 1 สัปดาห์ ให้วันละ 25 - 50 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ทุก 12 ชั่วโมง ผลข้า งเคีย ง อาการข้างเคียงของยากลุ่ม cephalosporin เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดศีรษะ มึนงง เหนื่อยล้า อาจมีเอนไซม์ในตับเพิ่มขึ้น ควร ใช้ยานี้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วยที่มีประวัติโรคทางเดินอาหารหรือมีการ ทำางานของตับผิดปกติ รวมทั้งไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์และหญิงในนม บุตร
  • 25. 43 8. การพยาบาล สรุปข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่อยู่ในความดูแล (18 - 26 ธันวาคม 2555) ได้ดังนี้ ข้ อ วิ น ิ จ ฉั ย ก า ร พ ย า บ า ล ที่ 1. ไม่ สุ ข สบายเนื่ อ งจากมี อ าการ อั ก เ ส บ ที่ เ ข่ า ข ว า ข้ อ มู ล ส นั บ ส นุ น S: “เ ว ล า เ ดิ น แ ล้ ว มั น เ จ็ บ เ สี ย ว ต ร ง เ ข่ า ที่ บ ว ม ” O: มี สี ห น้ า เ จ็ บ ป ว ด เ ว ล า เ ดิ น ไ ป อ า บ นำ้า O: มี เ ข่ า ข ว า บ ว ม แ ด ง ร้ อ น ง อ แ ล ะ เ ห ยี ย ด ไ ม่ ไ ด้ ต า ม ป ก ติ เ ป้ า ห ม า ย ผู้ ป่ ว ย สุ ข ส บ า ย จ น มี อ า ก า ร อั ก เ ส บ แ ล ะ ป ว ด เ ข่ า ล ด ล ง เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล - ผู้ป่วยบอกรู้สึกสบายขึ้นอาการปวดและบวมลดลง - ผู้ ป่ ว ยสามารถเคลื่ อ นไหวร่ า งกายแล ะดู แ ลตนเองได้ เ ป็ น ปกติ กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล 1. ดูแลช่วยเหลือกิจวัตรประจำาวัน และกระตุ้นให้ผู้ป่วยดูแลตนเอง เท่าที่ทำาได้ 2. ประคบด้วยนำ้าอุ่นบริเวณเข่าขวาที่บวมอักเสบ 3. ลดตัวกระตุ้นสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
  • 26. 43 4. ดูแลช่วยเหลือการออกกำาลังกายข้อต่อ ทุก 8 ชั่วโมง โดยเริ่มจาก พยาบาลเป็นผู้ช่วย แล้วให้ผู้ป่วยทำาเอง 5. จัดกิจกรรมที่ชอบเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ 6. ให้ยาลดการอักเสบ และบรรเทาอาการปวด ตามแผนการรักษา - Cefotaxime 2.5 g v drip q 6 h - Paracetamal 1tab 0 prn q 4-6 h การประเมินผล ผู้ป่วยยังมีอาการเจ็บและเสียวบริเวณเข่าขวาเวลาขยับ หรื อ เคลื่ อ นไหว แต่รู้สึกปวดลดลงเมื่ อ ได้ ทำา กายภาพเจ็ บ ตึ งขาลดลง ข้อ วิน ิจ ฉัย การพยาบาลที่ 2. มีภาวะของเหลวเกินในร่างกายจาก การคั่งของนำ้าและโซเดียม ข้ อ มู ล ส นั บ ส นุ น S: “เ ข า ก็ ดู บ ว ม ๆ แ บ บ นี้ แ ห ล ะ ” O: ข า บ ว ม ก ด บุ๋ ม grade 2 O: BW 20.8 Kgs O: I / O balance ดี เ ป้ า ห ม า ย ภ า ว ะ ข อ ง เ ห ล ว ใ น ร่ า ง ก า ย ล ด ล ง ห รื อ ไ ม่ มี เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล - อาการบวมลดลง กดไม่บุ๋ม - นำ้าหนักไม่เพิ่มหรือลดลง - I/O อยู่ในเกณฑ์สมดุล - ไม่มีเหนื่อย หายใจปกติ ฟังปอดปกติ กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล 1. สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพ โดยเฉพาะการหายใจ ชีพจรและ ความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะนำ้าเกินในร่างกาย และ แก้ไขได้ทันที 2. สังเกตและบันทึกนำ้าและปัสสาวะทุก 8 ชั่วโมง และอาการบวม ระดับ การกดบุ๋ม ชั่งนำ้าหนักทุกวัน
  • 27. 43 3. ดูแลให้รับประทานอาหารไม่ปรุงรสเค็ม และหลีกเลี่ยงการรับประทาน อาหารที่มีวัตถุกันเสียและผงชูรส 4. จัดให้ดื่มนำ้าเท่ากับปริมาณนำ้าที่สูญเสียหรือตามแผนการรักษา 5. ดูแลให้ยา steroid ตามแผนการรักษา พร้อมสังเกตอาการข้างเคียง - Prednisolone ( 5 ) 6 * 1 O OD PC การประเมินผล ผู้ป่วยยังมีอาการบวม กดบุ๋มจากภาวะโรคที่เป็น แต่ จากการบันทึกสารนำ้า พบว่านำ้าเข้าร่างกายสมดุลกับนำ้าออกดี นำ้าหนัก อยู่ในเกณฑ์ปกติเท่าเดิม ฟังปอดปกติ ข้อ วิน ิจ ฉัย การพยาบาลที่ 3 มีโอกาสเกิดการติดเชื้อเพิ่มเติม เนื่องจากภูมิต้านทานลดลง ข้ อ มู ล ส นั บ ส นุ น S: “เมื่อเดือนที่แล้วไปนอน โรงพยาบาลเจริญกรุง ฯ 10 วัน หมอบ อ ก ท้ อ ง เ สี ย แ ล้ ว มี ติ ด เ ชื้ อ ” O: ม า โ ร ง พ ย า บ า ล ด้ ว ย เ ข่ า ข ว า บ ว ม ปว ด O: ผ ล CBC: WBC=11470 cells/cu.mm. Neutrophil=88.5% O: ผล Synovial fluid จากเข่า WBC = 240,000 Neutrophil = 89% เ ป้ า ห ม า ย ไ ม่ มี ก า ร ติ ด เ ชื้ อ เ พิ่ ม เ ติ ม เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล - ไม่มีไข้ อุณหภูมิร่างกายไม่เกิน 37.5 C ๐ - ผลการตรวจ Lab ปกติ และไม่มีอาการของการติดเชื้อเพิ่ม เช่น ปวด ท้อง ท้องเสีย ผื่นแดงบริเวณหน้า ตาไม่อักเสบ กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล 1. ตรวจและติดตามบันทึกสัญญาณชีพ และความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินการติดเชื้อ 2. ให้การพยาบาลด้วยวิธี Aseptic techniques
  • 28. 43 3. สังเกตตำาแหน่งของจุดจำ้าเลือดและติดตามความรุนแรงและการ อักเสบบริเวณเข่าขวา และตำาแหน่งอื่นๆ 4. แนะนำามารดาล้างมือทุกครั้งก่อนการสัมผัสผู้ป่วยและให้ใส่ mask ปิดปาก จมูก กรณีที่ผู้มาเยี่ยมมีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ส่วนบน 5. สังเกตและรายงานแพทย์เมื่อพบมีเลือดปนในปัสสาวะและอุจจาระ 6. ติดตามผล CBC และผลการตรวจอื่นๆ เช่น Synovial Fluid เพื่อ ทราบการเปลี่ยนที่สำาคัญตามแผนการรักษา 7. ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา - Cefotaxime 2.5 g v drip q 6 h การประเมินผล ผู้ป่วยไม่มีการติดเชื้อเพิ่มเติม ไม่มีไข้ ผลการ ตรวจร่างกาย และอาการไม่มีการติดเชื้อเพิ่มที่อวัยวะใด ๆ ผล Lab ปกติ ข้ อ วิน ิจ ฉัย ก า ร พ ย า บ า ล ที่ 4 กลั ว การผ่ าตั ด และทำา หั ต ถการ ข้ อ มู ล ส นั บ ส นุ น S: “ห นู ก ลั ว ...ฮื อ ๆ ฮื อ ๆ ” O: ผู้ ป่ ว ย นั่ ง ร้ อ ง ไ ห้ แ ล้ ว พู ด ว่ า ก ลั ว ถู ก เ จ า ะ เ ข่ า O: มี ท่า ทางกลั ว วิต กกั ง วลเมื่ อ จะเข้ า ห้ อ งผ่ า ตั ด หรื อ ทำา หั ต ถการ O: Set OR ทำา Rt. knee Debridement เ ป้ า ห ม า ย ล ด อ า ก า ร ก ลั ว แ ล ะ วิ ต ก กั ง ว ล เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล - ผู้ป่วยพูดคุยเกี่ยวกับความกลัว - ผู้ป่วยพูดคุยกับญาติและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง - ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่นขึ้นไม่แสดงอาการกลัว หรือวิตกกังวล เช่น ไม่ ร้องไห้ กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล 1. เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และปัญหาที่ก่อให้เกิดความ กลัววิตกกังวลและตอบปัญหาที่สงสัย
  • 29. 43 2. ประเมินความเข้าใจและการรับรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดและการทำา หัตถการ 3. อธิบายเกี่ยวกับความจำาเป็นในการทำาหัตถการ หรือการผ่าตัด รวม ทั้งขั้นตอนและวิธีการอย่างง่ายๆ ซึ่งผู้ป่วยจะไม่เจ็บปวด เนื่องจากได้ รับยาระงับความรู้สึกขณะทำาผ่าตัดหรือทำาหัตถการ และมียาแก้ปวด ให้ถ้ามีอาการปวด 4. ส่งเสริมให้บิดา-มารดาให้กำาลังใจอย่างใกล้ชิด 5. สร้างพลังแรงใจ โดยยกตัวอย่างผู้ป่วยที่เคยผ่าตัดใหญ่ข้างเตียง เช่น ผ่าตัดสมอง ตัดม้าม ให้บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน การประเมินผล ผู้ป่วยมีอาการกลัวการทำาหัตถการต่าง ๆ หลังได้รับ การอธิบายรับฟังดี ยินดีให้ความร่วมมือในการรักษาเพราะต้องการให้ อาการดีขึ้น ข้อ วิน ิจ ฉัย การพยา บา ล ที่ 5 สูญเสียภาพลักษณ์เนื่องจากมีการ เปลี่ ย นแปลงทางด้ า นสรี ร ะจากพยาธิ ส ภาพของโรคและการรั ก ษา ข้ อ มู ล ส นั บ ส นุ น S: “เ มื่ อ ไ ร ห น้ า ห นู จ ะ ห า ย บ ว ม แ ล้ ว ห นู จ ะ เ ดิ น ไ ด้ ไ ห ม ” O: ใบหน้ามีลักษณะ Moon face มี เม็ ดสิ ว เข่าบวมเดินไม่ สะดวก เ ป้ า ห ม า ย อาการทั่วไปที่เกิดจากพยาธิสภาพของโรคและจากการรักษาดีขึ้น ส า ม า ร ถ เ ข้ า สั ง ค ม ไ ด้ เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล - มองภาพตนเองในกระจกโดยไม่แสดงความรู้สึกผิดปกติ - สนใจรูปลักษณะของตนเอง - สามารถติดต่อสื่อสารและมีกิจกรรมร่วมกับบุคคลอื่นได้ตามปกติ - ร่วมมือในการรักษาพยาบาล กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล 1. สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการเปลี่ยนแปลงการรับรู้ เกี่ยวกับภาพลักษณ์ เช่น หลีกเลี่ยงการส่องกระจกไม่สนใจเอาใจใส่ กับรูปลักษณ์ของตนเอง ไม่ให้ความร่วมร่วมมือในการดูแล
  • 30. 43 2. กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้บอกเล่าแสดงความรู้สึกต่างๆ เกี่ยวกับ ตนเอง ด้วยการให้เวลาและรับฟังอย่างสนใจ เพื่อให้ระบายความวิตก กังวล ความคับข้องใจและกลัว 3. อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับอาการและการ แสดงของโรค และการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นจากผลของยา steroid โดยเฉพาะผู้ป่วยวัยรุ่นซึ่งสนใจในเรื่องภาพลักษณ์ของ ตนเองมาก พร้อมยกตัวอย่าง Case ทีอาการดีแล้ว เพื่อลดอาการวิตก ่ กังวล 4. ดูแลช่วยเหลือเรื่องการแต่งตัว ร่วมกับมารดา 5. แนะนำาให้ครอบครัวดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดสมำ่าเสมอและ ส่งเสริมกำาลังใจแก่ผู้ป่วยทั้งด้วยคำาพูดและการกระทำา 6. แนะนำาให้มารดาให้ข้อมูลแก่ครูและเพื่อน ขอร้องมิให้ล้อ เลียนผู้ป่วย เพื่อให้เกิดความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการดูแลผู้ ป่วย การประเมินผล ผู้ป่วยให้ความสนใจตนเอง รู้จักดูแลตนเอง ส่อง กระจก หวีผม พูดคุยโทรศัพท์กับเพื่อนได้ พูดคุยถึงอาการหน้าบวม ว่าเป็นจากฤทธิ์ของยา ข้อ วิน ิจ ฉัย ก า ร พ ย า บ า ล ที่ 6 ความสามารถในการปฏิบัติกิจวั ตร ป ร ะ จำา วั น ล ด ล ง เ นื่ อ ง จ า ก เ ข่ า บ ว ม อั ก เ ส บ ข้ อ มู ล ส นั บ ส นุ น S: “เ ดิ น ไ ม่ ค่ อ ย ไ ด้ มั น เ สี ย ว แ ล ะ ก็ เ จ็ บ เ ข่ า ข้ า ง ข ว า ” O: เข่ า ขวา บวม แด ง อั ก เสบ งอ แล ะเหยี ย ด ไม่ ไ ด้ ต ามปกติ เ ป้ า ห ม า ย ส า ม า ร ถ ทำา กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ไ ด้ ม า ก ขึ้ น ห รื อ ต า ม ป ก ติ เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล - สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำาวันได้ด้วยตนเอง หรือทำาได้มากขึ้นโดย ไม่ปวดหรืออ่อนเพลีย กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล 1. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ภายหลังทำากิจกรรมเพื่อ ประเมินสภาพความทนต่อกิจกรรม
  • 31. 43 2. ซักถามมารดาเกี่ยวกับกิจวัตรประจำาวันที่ผู้ป่วยชอบเพื่อ ประเมินลักษณะกิจวัตรประจำาวัน และความสนใจในการทำากิจกรรม 3. แนะนำาให้ทำากิจกรรมบนเตียงในระยะที่ปวด หรือบวมมาก และเพิ่มกิจกรรมทีละน้อยตามระดับความสามารถของผู้ป่วย 4. ดูแลช่วยเหลือกิจวัตรประจำาวัน และดูแลให้มารดาคอยช่วย เหลือดูแลอย่างใกล้ชิด การประเมินผล ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้บนเตียง เวลาทำา กิจกรรมที่ต้องใช้ขาขวามีมารดาคอยให้การช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด ข้อ วิ น ิจ ฉัย ก า ร พ ย า บ า ล ที่ 7 ผู้ป่วยมีโอกาสกลั บเป็ นซำ้า หรื อได้รั บ ก า ร ดู แ ล ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ไ ม่ ต่ อ เ นื่ อ ง ข้ อ มู ล ส นั บ ส นุ น S: “กลับไปคราวนี้ไม่รู้จะเป็นอะไรอีก จะต้องเข้ามานอนอีกหรือเปล่า ก็ ไ ม่ รู้ ” O: Plan ให้ ย า Antibiotic 2-3 อาทิ ต ย์ แล้ ว จึ ง จะ Discharge เ ป้ า ห ม า ย ผู้ ป่ ว ย ไ ด้ รั บ ก า ร ดู แ ล ถู ก ต้ อ ง ต่ อ เ นื่ อ ง ไ ม่ ก ลั บ เ ป็ น ซำ้า เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล - มารดาตอบข้อซักถามในเรื่องความรู้ในการดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง - มารับการตรวจตามแพทย์นัด กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล 1. ประเมินความรู้ และให้ความรู้และคำาแนะนำาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตัวขณะอยู่โรงพยาบาล โดยให้ความรู้ ดังนี้ - การดูแลสุขอนามัย ร่างกาย ปาก ฟัน - การพักผ่อนอย่างเพียงพอ - อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงคืออาหารเค็มทุกชนิดหรืออาหารไม่สุก ไม่สะอาดเพราะอาจทำาให้มีการติดเชื้อได้ง่าย อาหารที่ควรรับ ประทานคือ โปรตีนจากสัตว์ และดื่มนม รับประทานอาหารที่มี Calcium สูงเพื่อป้องกันกระดูกพรุน - การจำากัดนำ้าดื่มในช่วงระยะแรก