SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงการ
 แก้มลิง
พระราชดารัส
 "...ตามปกติ เวลาเราให้กล้วยกับลิง ลิงจะเคี้ ยวแล้วเก็บไว้ในแก้มลิง ... เขาเคี้ ยวแล้ว
เอาไปเก็บในแก้ม น้ าท่วมลงมา ถ้าไม่ทา "โครงการแก้มลิง" น้ าท่วมนี้ จะเปรอะไป
หมด อย่างที่เปรอะปี นี้ เปรอะไปทัวภาคกลาง จะต้องทา "แก้มลิง" เพื่อที่จะเอาน้ าปี
                                 ่
นี้ ไปเก็บไว้..."



                                                   พระราชดารัส ๔ ธันวาคม ๒๔๓๘
ความเป็ นมาของโครงการแก้มลิง
             โครงการแก้มลิง เป็ นแนวคิดในพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หว     ั
  เพื่อแก้ปัญหาอุทกภัย โดยพระองค์ทรงตระหนั กถึงความรุนแรงของอุทกภัยที่เกิดขึ้ นใน
  กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ.2538 จึงมีพระราชดาริ "โครงการแก้มลิง" ขึ้ น เมื่อวันที่
  14 พฤศจิกายน พ.ศ.2538 โดยให้จดหาสถานที่เก็บกักน้ าตามจุดต่างๆ ใน
                                     ั
  กรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับน้ าฝนไว้ชวคราว เมื่อถึงเวลาที่คลองพอจะระบายน้ าได้จึง
                                       ั่
  ค่อยระบายน้ าจากส่วนที่กกเก็บไว้ออกไป จึงสามารถลดปั ญหาน้ าท่วมได้
                           ั

           ทั้งนี้ นอกจากโครงการแก้มลิงจะมีขึ้นเพื่อช่วยระบายน้ า ลดความรุนแรงของ
  ปั ญหาน้ าท่วมในพื้ นที่กรุงเทพมหานครและบริเวณใกล้เคียงแล้ว ยังเป็ นการช่วย
  อนุ รกษ์น้ าและสิ่งแวดล้อมอีกด้วย โดยน้ าที่ถูกกักเก็บไว้ เมื่อถูกระบายสู่คูคลอง จะไป
       ั
  บาบัดน้ าเน่ าเสียให้เจือจางลง และในที่สุดน้ าเหล่านี้ จะผลักดันน้ าเสียให้ระบายออกไป
  ได้
แนวคิดของโครงการแก้มลิง
 แนวคิดของโครงการแก้มลิง เกิดจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว มี        ่ ั
 พระราชดาริถึงลิงที่อมกล้วยไว้ในกระพุงแก้มได้คราวละมากๆ จึงมีพระราช
                                       ้
 กระแสอธิบายว่า "ลิงโดยทัวไปถ้าเราส่งกล้วยให้ ลิงจะรีบปอกเปลือก เอาเข้า
                             ่
 ปากเคี้ ยว แล้วนาไปเก็บไว้ที่แก้มก่อน ลิงจะทาอย่างนี้ จนกล้วยหมดหวีหรือเต็ม
 กระพุงแก้ม จากนั้ นจะค่อยๆ นาออกมาเคี้ ยวและกลืนกินภายหลัง " ด้วยแนว
      ้
 พระราชดารินี้ จึงเกิดเป็ น "โครงการแก้มลิง" ขึ้ น เพื่อสร้างพื้ นที่กกเก็บน้ า ไว้รอ
                                                                      ั
 การระบายเพื่อใช้ประโยชน์ ในภายหลัง
ลักษณะและวิธีการของโครงการแก้มลิง
    ลักษณะของโครงการแก้มลิงจะดาเนิ นการระบายน้ าออกจากพื้ นที่
    ตอนบน เพื่อให้น้ าไหลลงคลองพักน้ าที่ชายทะเล จากนั้ นเมื่อ
    ระดับน้ าทะเลลดลงจนตากว่าน้ าในคลอง น้ าในคลองจะไหลลงสู่ทะเล
                            ่
    ตามธรรมชาติ ต่อจากนั้ นจะเริ่มสูบน้ าออกจากคลองที่ทาหน้าที่แก้มลิง
    เพื่อทาให้น้ าตอนบนค่อยๆ ไหลมาเอง จึงทาให้เกิดน้ าท่วมพื้ นที่ลด
    น้อยลง จนในที่สุดเมื่อระดับน้ าทะเลสูงกว่าระดับในคลอง จึงปิ ดประตู
    ระบายน้ า โดยให้น้ าไหลลงทางเดียว (One Way Flow)
ประเภทของโครงการแก้มลิง
    โครงการแก้มลิงมี 3 ขนาด คือ
    1. แก้มลิงขนาดใหญ่ ( Retarding Basin) คือ สระน้ าหรือบึงขนาด
    ใหญ่ ที่รวบรวมน้ าฝนจากพื้ นที่บริเวณนั้ นๆ โดยจะกักเก็บไว้เป็ น
    ระยะเวลาหนึ่ งก่อนที่จะระบายลงสู่ลาน้ า พื้ นที่เก็บกักน้ าเหล่านี้ ได้แก่
    เขื่อน อ่างเก็บน้ า ฝาย ทุ่งเกษตรกรรม เป็ นต้น ลักษณะสิ่งก่อสร้างเหล่านี้
    จะมีวตถุประสงค์อื่นประกอบด้วย เช่น เพื่อการชลประทาน เพื่อการ
          ั
    ประมง เป็ นต้น
2. แก้มลิงขนาดกลาง
เป็ นพื้ นที่ชะลอน้ าที่มีขนาดเล็กกว่า
ก่อสร้างในระดับลุ่มน้ า มักเป็ นพื้ นที่ธรรมชาติ
เช่น หนอง บึง คลอง เป็ นต้น




3. แก้มลิงขนาดเล็ก คือแก้มลิงที่มีขนาดเล็กกว่า
อาจเป็ นพื้ นที่สาธารณะ สนามเด็กเล่น
ลานจอดรถ หรือสนามในบ้าน ซึ่งต่อเข้ากับ
ระบบระบายน้ าหรือคลอง
การจัดหาและออกแบบโครงการแก้มลิง

 การพิจารณาจัดหาพื้ นที่กกเก็บน้ านั้ น ต้องทราบปริมาตรน้ าผิวดินและอัตราการไหลผิว
                          ั
ดินที่มากที่สุดที่จะยอมปล่อยให้ออกได้ในช่วงเวลาฝนตก โดยสิ่งสาคัญคือต้องจัดหาพื้ นที่
กักเก็บให้พอเพียง เพื่อจะได้ไม่เป็ นปั ญหาในการระบายน้ า ปั จจุบนมีแก้มลิงทั้งขนาดเล็ก
                                                                ั
และขนาดใหญ่กระจายอยู่ทวกรุงเทพมหานคร กว่า 20 จุด ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นพื้ นที่ทางฝั ง
                            ั่                                                      ่
ธนบุรี เนื่ องจากมีคลองจานวนมาก และระบายน้ าออกทางแม่น้ าเจ้าพระยา


        ทั้งนี้ โครงการแก้มลิงแบ่งเป็ น 2 ส่วนคือ โครงการระบายน้ าในพื้ นที่ฝังตะวันออก
                                                                              ่
ของแม่น้ าเจ้าพระยา โดยจะใช้คลองที่ต้งอยู่ชายทะเลด้านจังหวัดสมุทรปราการ ทาหน้าที่
                                        ั
เป็ นทางเดินของน้ า ตั้งแต่จงหวัด สระบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และ
                            ั
กรุงเทพมหานคร
ส่วนที่สอง คือคลองในพื้ นที่ฝังตะวันตกของแม่น้ าเจ้าพระยา ซึ่งจะใช้
                              ่
คลองมหาชัย คลองสนามชัย และแม่น้ าท่าจีน ทาหน้าที่เป็ นคลองรับน้ า
ในพื้ นที่ต้งแต่จงหวัดอ่างทอง อยุธยา ปทุมธานี นครปฐม และ
            ั    ั
กรุงเทพมหานคร แล้วระบายลงสู่ทะเลด้านจังหวัดสมุทรสาคร


        นอกจากนี้ ยังมีโครงการแก้มลิง "แม่น้ าท่าจีนตอนล่าง" เพื่อช่วย
ระบายน้ าที่ท่วมให้เร็วขึ้ น โดยใช้หลักการควบคุมน้ าในแม่น้ าท่าจีน คือ
เปิ ดการระบายน้ าจานวนมากลงสู่อ่าวไทย เมื่อระดับน้ าทะเลตา ซึ่ง่
โครงการนี้ จะประกอบไปด้วย 3 โครงการในระบบคือ
ความจาเป็ นในการดาเนิ นโครงการแก้มลิง
   1. การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จากลักษณะธรรมชาติ มาเป็ นพื้ นที่
   พัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้ นที่ของกรุงเทพมหานคร ทาให้ปริมาณและ
   อัตราการไหลสูงสุดของน้ าผิวดินในพื้ นที่เพิ่มขึ้ น
   2. ปริมาตรและอัตราการไหลของน้ าผิวดินที่เพิ่มขึ้ นของพื้ นที่ทึบน้ า จะ
   ก่อให้เกิดปั ญหาน้ าท่วมทางด้านท้ายน้ าหรือที่ตาเพิ่มมากขึ้ น ปั ญหาน้ า
                                                      ่
   ท่วมที่เกิดขึ้ นจึงขยายตัวเพิ่มขึ้ น ไปทางด้านเหนื อน้ า
   3. ขนาดของคลองและความจุเก็บกักทางระบายน้ าเป็ นประการสาคัญ
   เพราะมีขนาดเล็กกว่าความสามารถในการรองรับปริมาณและอัตราการ
   ไหลสูงสุดของน้ าผิวดินที่เพิ่มขึ้ นเพราะการรุกล้าคูคลอง และพื้ นที่
   สาธารณะ
นางสาวชนกกมล เอี่ยมดารา ม.4/6 เลขที่ 14

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGiiGx Giuseppina
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์Nutchy'zz Sunisa
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทานChanapun Kongsomnug
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลtangtoon
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลG'ad Smile
 

Was ist angesagt? (6)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
1. น้ำคือความมั่นคง 1 (24 ธ.ค. 58)3
1. น้ำคือความมั่นคง 1 (24 ธ.ค. 58)31. น้ำคือความมั่นคง 1 (24 ธ.ค. 58)3
1. น้ำคือความมั่นคง 1 (24 ธ.ค. 58)3
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
 

Ähnlich wie โครงการแก้มลิง

เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงkittima345
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิงnuizy
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3tongsuchart
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นPoramate Minsiri
 
โครงการบรรเทาอุทกภัย
โครงการบรรเทาอุทกภัยโครงการบรรเทาอุทกภัย
โครงการบรรเทาอุทกภัยNattamonnew
 
การรุกล้ำคูคลองในกรุงเทพฯและปริมณฑล
การรุกล้ำคูคลองในกรุงเทพฯและปริมณฑลการรุกล้ำคูคลองในกรุงเทพฯและปริมณฑล
การรุกล้ำคูคลองในกรุงเทพฯและปริมณฑลFURD_RSU
 
ฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำdk_161154
 

Ähnlich wie โครงการแก้มลิง (7)

เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิง
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้น
 
โครงการบรรเทาอุทกภัย
โครงการบรรเทาอุทกภัยโครงการบรรเทาอุทกภัย
โครงการบรรเทาอุทกภัย
 
การรุกล้ำคูคลองในกรุงเทพฯและปริมณฑล
การรุกล้ำคูคลองในกรุงเทพฯและปริมณฑลการรุกล้ำคูคลองในกรุงเทพฯและปริมณฑล
การรุกล้ำคูคลองในกรุงเทพฯและปริมณฑล
 
ฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำ
 

โครงการแก้มลิง

  • 2. พระราชดารัส "...ตามปกติ เวลาเราให้กล้วยกับลิง ลิงจะเคี้ ยวแล้วเก็บไว้ในแก้มลิง ... เขาเคี้ ยวแล้ว เอาไปเก็บในแก้ม น้ าท่วมลงมา ถ้าไม่ทา "โครงการแก้มลิง" น้ าท่วมนี้ จะเปรอะไป หมด อย่างที่เปรอะปี นี้ เปรอะไปทัวภาคกลาง จะต้องทา "แก้มลิง" เพื่อที่จะเอาน้ าปี ่ นี้ ไปเก็บไว้..." พระราชดารัส ๔ ธันวาคม ๒๔๓๘
  • 3. ความเป็ นมาของโครงการแก้มลิง โครงการแก้มลิง เป็ นแนวคิดในพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หว ั เพื่อแก้ปัญหาอุทกภัย โดยพระองค์ทรงตระหนั กถึงความรุนแรงของอุทกภัยที่เกิดขึ้ นใน กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ.2538 จึงมีพระราชดาริ "โครงการแก้มลิง" ขึ้ น เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2538 โดยให้จดหาสถานที่เก็บกักน้ าตามจุดต่างๆ ใน ั กรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับน้ าฝนไว้ชวคราว เมื่อถึงเวลาที่คลองพอจะระบายน้ าได้จึง ั่ ค่อยระบายน้ าจากส่วนที่กกเก็บไว้ออกไป จึงสามารถลดปั ญหาน้ าท่วมได้ ั ทั้งนี้ นอกจากโครงการแก้มลิงจะมีขึ้นเพื่อช่วยระบายน้ า ลดความรุนแรงของ ปั ญหาน้ าท่วมในพื้ นที่กรุงเทพมหานครและบริเวณใกล้เคียงแล้ว ยังเป็ นการช่วย อนุ รกษ์น้ าและสิ่งแวดล้อมอีกด้วย โดยน้ าที่ถูกกักเก็บไว้ เมื่อถูกระบายสู่คูคลอง จะไป ั บาบัดน้ าเน่ าเสียให้เจือจางลง และในที่สุดน้ าเหล่านี้ จะผลักดันน้ าเสียให้ระบายออกไป ได้
  • 4. แนวคิดของโครงการแก้มลิง แนวคิดของโครงการแก้มลิง เกิดจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว มี ่ ั พระราชดาริถึงลิงที่อมกล้วยไว้ในกระพุงแก้มได้คราวละมากๆ จึงมีพระราช ้ กระแสอธิบายว่า "ลิงโดยทัวไปถ้าเราส่งกล้วยให้ ลิงจะรีบปอกเปลือก เอาเข้า ่ ปากเคี้ ยว แล้วนาไปเก็บไว้ที่แก้มก่อน ลิงจะทาอย่างนี้ จนกล้วยหมดหวีหรือเต็ม กระพุงแก้ม จากนั้ นจะค่อยๆ นาออกมาเคี้ ยวและกลืนกินภายหลัง " ด้วยแนว ้ พระราชดารินี้ จึงเกิดเป็ น "โครงการแก้มลิง" ขึ้ น เพื่อสร้างพื้ นที่กกเก็บน้ า ไว้รอ ั การระบายเพื่อใช้ประโยชน์ ในภายหลัง
  • 5. ลักษณะและวิธีการของโครงการแก้มลิง ลักษณะของโครงการแก้มลิงจะดาเนิ นการระบายน้ าออกจากพื้ นที่ ตอนบน เพื่อให้น้ าไหลลงคลองพักน้ าที่ชายทะเล จากนั้ นเมื่อ ระดับน้ าทะเลลดลงจนตากว่าน้ าในคลอง น้ าในคลองจะไหลลงสู่ทะเล ่ ตามธรรมชาติ ต่อจากนั้ นจะเริ่มสูบน้ าออกจากคลองที่ทาหน้าที่แก้มลิง เพื่อทาให้น้ าตอนบนค่อยๆ ไหลมาเอง จึงทาให้เกิดน้ าท่วมพื้ นที่ลด น้อยลง จนในที่สุดเมื่อระดับน้ าทะเลสูงกว่าระดับในคลอง จึงปิ ดประตู ระบายน้ า โดยให้น้ าไหลลงทางเดียว (One Way Flow)
  • 6. ประเภทของโครงการแก้มลิง โครงการแก้มลิงมี 3 ขนาด คือ 1. แก้มลิงขนาดใหญ่ ( Retarding Basin) คือ สระน้ าหรือบึงขนาด ใหญ่ ที่รวบรวมน้ าฝนจากพื้ นที่บริเวณนั้ นๆ โดยจะกักเก็บไว้เป็ น ระยะเวลาหนึ่ งก่อนที่จะระบายลงสู่ลาน้ า พื้ นที่เก็บกักน้ าเหล่านี้ ได้แก่ เขื่อน อ่างเก็บน้ า ฝาย ทุ่งเกษตรกรรม เป็ นต้น ลักษณะสิ่งก่อสร้างเหล่านี้ จะมีวตถุประสงค์อื่นประกอบด้วย เช่น เพื่อการชลประทาน เพื่อการ ั ประมง เป็ นต้น
  • 7. 2. แก้มลิงขนาดกลาง เป็ นพื้ นที่ชะลอน้ าที่มีขนาดเล็กกว่า ก่อสร้างในระดับลุ่มน้ า มักเป็ นพื้ นที่ธรรมชาติ เช่น หนอง บึง คลอง เป็ นต้น 3. แก้มลิงขนาดเล็ก คือแก้มลิงที่มีขนาดเล็กกว่า อาจเป็ นพื้ นที่สาธารณะ สนามเด็กเล่น ลานจอดรถ หรือสนามในบ้าน ซึ่งต่อเข้ากับ ระบบระบายน้ าหรือคลอง
  • 8. การจัดหาและออกแบบโครงการแก้มลิง การพิจารณาจัดหาพื้ นที่กกเก็บน้ านั้ น ต้องทราบปริมาตรน้ าผิวดินและอัตราการไหลผิว ั ดินที่มากที่สุดที่จะยอมปล่อยให้ออกได้ในช่วงเวลาฝนตก โดยสิ่งสาคัญคือต้องจัดหาพื้ นที่ กักเก็บให้พอเพียง เพื่อจะได้ไม่เป็ นปั ญหาในการระบายน้ า ปั จจุบนมีแก้มลิงทั้งขนาดเล็ก ั และขนาดใหญ่กระจายอยู่ทวกรุงเทพมหานคร กว่า 20 จุด ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นพื้ นที่ทางฝั ง ั่ ่ ธนบุรี เนื่ องจากมีคลองจานวนมาก และระบายน้ าออกทางแม่น้ าเจ้าพระยา ทั้งนี้ โครงการแก้มลิงแบ่งเป็ น 2 ส่วนคือ โครงการระบายน้ าในพื้ นที่ฝังตะวันออก ่ ของแม่น้ าเจ้าพระยา โดยจะใช้คลองที่ต้งอยู่ชายทะเลด้านจังหวัดสมุทรปราการ ทาหน้าที่ ั เป็ นทางเดินของน้ า ตั้งแต่จงหวัด สระบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และ ั กรุงเทพมหานคร
  • 9. ส่วนที่สอง คือคลองในพื้ นที่ฝังตะวันตกของแม่น้ าเจ้าพระยา ซึ่งจะใช้ ่ คลองมหาชัย คลองสนามชัย และแม่น้ าท่าจีน ทาหน้าที่เป็ นคลองรับน้ า ในพื้ นที่ต้งแต่จงหวัดอ่างทอง อยุธยา ปทุมธานี นครปฐม และ ั ั กรุงเทพมหานคร แล้วระบายลงสู่ทะเลด้านจังหวัดสมุทรสาคร นอกจากนี้ ยังมีโครงการแก้มลิง "แม่น้ าท่าจีนตอนล่าง" เพื่อช่วย ระบายน้ าที่ท่วมให้เร็วขึ้ น โดยใช้หลักการควบคุมน้ าในแม่น้ าท่าจีน คือ เปิ ดการระบายน้ าจานวนมากลงสู่อ่าวไทย เมื่อระดับน้ าทะเลตา ซึ่ง่ โครงการนี้ จะประกอบไปด้วย 3 โครงการในระบบคือ
  • 10. ความจาเป็ นในการดาเนิ นโครงการแก้มลิง 1. การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จากลักษณะธรรมชาติ มาเป็ นพื้ นที่ พัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้ นที่ของกรุงเทพมหานคร ทาให้ปริมาณและ อัตราการไหลสูงสุดของน้ าผิวดินในพื้ นที่เพิ่มขึ้ น 2. ปริมาตรและอัตราการไหลของน้ าผิวดินที่เพิ่มขึ้ นของพื้ นที่ทึบน้ า จะ ก่อให้เกิดปั ญหาน้ าท่วมทางด้านท้ายน้ าหรือที่ตาเพิ่มมากขึ้ น ปั ญหาน้ า ่ ท่วมที่เกิดขึ้ นจึงขยายตัวเพิ่มขึ้ น ไปทางด้านเหนื อน้ า 3. ขนาดของคลองและความจุเก็บกักทางระบายน้ าเป็ นประการสาคัญ เพราะมีขนาดเล็กกว่าความสามารถในการรองรับปริมาณและอัตราการ ไหลสูงสุดของน้ าผิวดินที่เพิ่มขึ้ นเพราะการรุกล้าคูคลอง และพื้ นที่ สาธารณะ