SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1ST MEETING (REPORT)
          OF
EIS SECONDARY SCHOOL
  NETWORK, THAILAND



   5th February 2010
   At Pulcharaenwittayakom Secondary School, Samutprakan
หลักการและเหตุผลการดาเนินการโครงการ…รูปแบบ EIS
     โดยหลักการและแนวทางการจัดการศึกษาตามพรบ.การศึกษาแห่งชาติ พศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม๒๕๔๕
      ดังนี้
              ..... จากหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา ๘ (๒) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และ(๓)
      การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยมีแนวทางการจัดการศึกษาตามมาตรา
      ๒๒ ... กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ มาตรา๒๔
      (๕)สถานศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อม สื่อการเรียน
      และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่ง
      ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้เรียนและผู้สอนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง
      วิทยาการประเภทต่างๆ และมาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาต้องพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มี
      ประสิทธิภาพ ...
  จากกระบวนการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนด้านภาษาอังกฤษ –คณิตศาสตร์ – วิทยาศาสตร์ และ
      เทคโนโลยี โดยแนวทางรูปแบบ EIS นอกจากส่งผลให้ผู้เรียนสามารถแสดงออกซึ่งทักษะการใช้
      ภาษาอังกฤษได้อย่างดีและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทย์-คณิต-อังกฤษ สูงขึ้นอย่างชัดเจน แล้ว ทาให้ผู้สอนที่
      ไม่เคยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอนมาก่อน สามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารและสอนได้อย่างมี
      ประสิทธิภาพ (สุรพงศ์ งามสม, ๒๕๔๗,๒๕๔๙,๒๕๕๑)
  โดยนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการให้จัดการเรียนการสอนวิทย์-คณิตด้วยภาษาอังกฤษ เพื่อ
      ยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่สากล
 ( เป็นหลักการและเหตุผลสาหรับไว้อ้างอิงในการจัดทาโครงการของแต่ละโรงเรียน)
ลาดับขั้นตอนการขอสมัครเข้าเป็นเครือข่าย EIS
  โรงเรียนต้องสมัครใจและเขียนใบสมัครและสามารถดาเนินการลงนามตามบันทึกทาความเข้าใจ
   (MOU)กับทางศูนย์ครือข่ายEIS ภูมิภาค ที่กาหนดไว้ในแต่ละภูมิภาค
 ต้องมีข้อมูลความสมัครใจของครู และการเตรียมความพร้อมของครูผู้สอนและแผนการพัฒนา
   กระบวนการเรียนการสอนของโรงเรียน
 ขอความเห็นชอบโครงการ...... รูปแบบEIS ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา

 ครูผู้สอนสมัครเข้ารับการพัฒนาและผ่านการประเมินจาก Mentors ตามที่เครือข่าย EIS กาหนด

 นาเสนอความพร้อมที่จะดาเนินการจัดการเรียนการสอนต่อคณะกรรมการสถานศึกษาก่อนเปิดสอน
   ล่วงหน้า 1 ภาคเรียน
 เสนอโครงการฯ เพื่อทราบ/ขอความเห็นชอบต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ/หรือขออนุมัติ
   แล้วแต่กรณี
 ต้องได้รับการประเมินติดตามผลจากสพฐ.และ/หรือหน่วยงานภายนอกเพื่อการประกันคุณภาพ
   มาตรฐานภายใน ๓ ปีนบแต่เปิดการดาเนินโครงการ
                         ั
 โรงเรียนต้องกาหนดให้ครูผู้สอนต้องขอรับการประเมินติดตามผลด้านสมรรถนะการสอนด้วย
   ภาษาอังกฤษ จาก สพฐ./หรือหน่วยงานมาตรฐานจากภายนอก
(หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่งประเทศไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
การวางแผนการดาเนินงานโครงการพัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนวิทย์-คณิต ด้วยภาษาอังกฤษรูปแบบ EIS
   ฝ่ายวิชาการ ครูผู้สอน จัดทาโครงการเพื่อการจัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการ(EIS)
    โดยครูไทยเพื่อเด็กไทยสู่สากล ซึ่งสามารถจัดทาเป็นโครงการศึกษาวิจัย..... /โครงการพัฒนา.... /โครงการดาเนินการ.....
    แล้วแต่กรณี
 นาเสนอโครงการฯนั้น ต่อคณะกรรมการวิชาการและหลักสูตรโรงเรียน

 ผู้บริหารนาเสนอขออนุมัติโครงการฯต่อคณะกรรมการสถานศึกษา

 นาเสนอสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อขอความเห็นชอบและ/หรืออนุมัติและเพื่อเป็นข้อมูลรายงานต่อสพฐ. เพื่อ
    พิจารณาดาเนินการในขั้นต่อไป
 จัดโครงสร้างเวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระทั้งที่สอนด้วยภาษาอังกฤษ และปกติในแต่ละช่วงชั้นให้ชัดเจน

 จัดตารางสอน และกาหนดรายชื่อหนังสือแบบเรียนที่นามาใช้กับผู้เรียน

 ครูจัดทาโครงการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหารโรงเรียน

 โรงเรียนต้องจัดให้มี Pretest ก่อนดาเนินการสอน

 แผนการจัดการเรียนรู้ต้องระบุการใช้ภาษาอังกฤษสื่อในการจัดการเรียนการสอน

 ปรับปรุงการสอนอย่างต่อเนื่อง

 ประเมินผู้เรียนเป็นระยะๆ โดยใช้ข้อทดสอบเป็นภาษาอังกฤษ

 ประเมินผลการเรียนปลายภาคและPosttest

(หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่งประเทศไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
การกาหนดแผนชั้นเรียนตามโครงการ...ฯ รูปแบบ EIS

 รูปแบบการจัดทาโครงการ จัดทาได้หลากหลายรูปแบบ เช่น โครงการวิจัย
  และพัฒนา, โครงการห้องเรียนพิเศษ, โครงการพัฒนากระบวนการเรียน
  รูปแบบ EIS ห้องเรียนปกติ เป็นต้น
 การกาหนดจานวนห้องเรียน ให้สอดคล้องกับแผนชั้นเรียน/ห้องเรียนตามที่
  สพฐ./หรือหน่วยเหนือกาหนด (ไม่จากัดจานวนห้องเรียน ทังนี้ให้ขนอยู่
                                                              ้    ึ้
  ความพร้อมของแต่ละโรงเรียน)
 สาหรับโรงเรียนใหม่ควรเริมต้นที่ชั้นปี่ที่ ๑ ของแต่ละช่วงชันก่อนในปีแรก
                          ่                                 ้
(หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่ง
  ประเทศไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
การระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาโครงการ..ฯ รูปแบบEIS

      ผู้ปกครองนักเรียนต้องสมัครใจ
      ระดมทรัพยากรในรูปแบบที่หลากหลาย จานวนเงินที่ระดมต่อปีการศึกษา ให้ขึ้นอยู่กับบริบทของ
       โรงเรียนทั้งนี้ต้องวางแผนการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ อย่างชัดเจน และ
       ไม่ซ้าซ้อนกับเงินที่รัฐอุดหนุน ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
      ถ้าดาเนินการเก็บเงินบารุงการศึกษาขอให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเงินบารุง
       การศึกษา ลงวันที่ ๒๗ มิ.ย.๒๕๕๑ ผ่านความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษา และรายงานให้
       ผู้บังคับบัญชาหน่วยเหนือทราบ (เขตพื้นที่/สพฐ/อื่นตามกรณีที่กฎหมายกาหนด)
      สามารถบริหารการระดมทรัพยากรได้หลากหลายรูปแบบ อาทิเช่น ในรูปแบบของทางราชการ
       (รวมทั้งการจัดทาระเบียบสวัสดิการต่างๆรองรับ)/ สมาคม/ มูลนิธิ ฯลฯ ทั้งในภายใต้การมีส่วน
       ร่วมของทุกฝ่ายและบริหารกิจการด้วยระบบธรรมาภิบาล

   (หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่งประเทศไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
การพัฒนาบุคลากร/ครู/ทีมบริหาร
 การพัฒนาผู้บริหาร & ทีมบริหาร และครูแกนนา ศูนย์ประสานงานเครือข่าย
  EIS แห่งประเทศไทยจะดาเนินการพัฒนาผ่านทางเครือข่ายอิเลคโทรนิค/IChat
 ครูผู้สอนที่ผ่านการเตรียมความพร้อมมาระยะหนึ่ง ให้ศูนย์เครือข่ายEISภูมิภาค
  ดาเนินการพัฒนาครูร่วมกับโรงเรียนอย่างต่อเนื่องทั้งในประเทศ และนอก
  ประเทศ
 การเตรียมความพร้อมครูผู้สอน ให้ศูนย์เครือข่ายEISภูมิภาค แต่ละศูนย์ ร่วมกับ
  โรงเรียนดาเนินการให้แล้วเสร็จก่อนเปิดภาคเรียน (เริ่มตั้งแต่ เดือน ก.พ. ๕๓
  เป็นต้นไป)
 ทางศูนย์ประสานงานเครือข่าย EIS จะดาเนินการประสานงานกับสพฐ.ในเรื่อง
  งบประมาณและการดาเนินต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากร
(หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่งประเทศ
  ไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
ระบบบริหารเพื่อส่งเสริม/สนับสนุน/กากับติดตามการ
จัดการเรียนการสอน
   ดูแผนผังแนวคิดการบริหารจัดการนโยบาย EITeMS เพื่อยกระดับคุณภาพ
    และกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างยั่งยืนบนวิถีชวิตไทย (ในเอกสาร
                                                ี
    หลักสูตรการอบรม EIS & WCSSMT)ประกอบ
การสร้างเครือข่ายเพือส่งเสริมและสนับการจัดการเรียน
                    ่
การสอน
จากการที่ทางเครือข่าย EIS ได้เชิญ Mr.Chua Chor Huat ผู้อานวยการ
   โรงเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (School of Science and
   Technology: SST) แห่งชาติสิงคโปร์ มาบรรยายและแลกเปลี่ยนแนวคิดเพื่อ
   เชื่อมโยงเครือข่ายได้ข้อสรุป ดังนี้
          ๑. ทางMr. Chua Chor Huat จะประสานงานกับทางหน่วยเหนือของ
   ประเทศสิงคโปร์เรื่องโครงการTwinning Program กับโรงเรียนของแต่ละ
   ศูนย์ EIS และจะพูดคุยและชักชวนกับเพื่อนผู้บริหารโรงเรียนในสิงคโปร์
          ๒. ที่ประชุมได้รับรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของ SST เพื่อเตรียมนักเรียน
   สู่โลกอนาคต หรือ Digital Edge และทางSST ยินดีให้ทางเครือข่าย
   โรงเรียน EIS เข้าศึกษาดูงานโรงเรียน ในโครงการ The Future School
   ของสิงคโปร์ ช่วง 15-19เมษายน ๕๓
แผนภูมิการบังคับบัญชาศูนย์เครือข่าย EIS
                                            เลขาธิการ กพฐ.


                                          ประธานเครือข่าย                                         สานักงานเขต
สานักงานเขต       ศูนย์เครือข่ายEIS ภาค        EIS                        ศูนย์เครือข่ายEIS ภาค
                                                                                                     พื้นที่
   พื้นที่

                     โรงเรียน                   พัฒนาผู้บริหารแกนาและ
                                                ครูแกนนา และRoving
                                                                              โรงเรียน
                                                        Team


                     โรงเรียน
                                                พัฒนาหลักสูตรและวิชาการ
                                                  การบริหารจัดการ และ
                                                                              โรงเรียน
                                                     สร้างเครือข่าย
ระบบการประกันคุณภาพการจัดการศึกษารูปแบบ EIS
ไปสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล
   ดูแผนผังแนวคิดการบริหารจัดการนโยบาย EITeMS เพื่อยกระดับคุณภาพ
    และกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างยั่งยืนบนวิถีชวิตไทย (ในเอกสาร
                                                ี
    หลักสูตรการอบรม EIS & WCSSMT)ประกอบ
   ใช้ Roving Team & School &Regional Network กากับ
    ติดตามและประเมินผล
EIS นวัตกรรมสองภาษารูปแบบใหม่:-
WCSS MODEL

 EIS:จัดการเรียนการสอนด้วย
 ภาษาอังกฤษโดยครูไทยเพื่อเด็กไทยสู่
 สากล
          1 meeting Report of EIS Schools Network, Thailand, 20th Jan.2010
          at Watnaiyroang Secondary School, BKK
What is EIS?

 EIS: English for Integrated Studies
 EIS was implemented in the Thai
  Basic Curriculum on 2004 at SPSS;
  ปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนด้วยครูไทยโดย
  ใช้ภาษาอังกฤษบูรณาการการศึกษาในสาระ
  คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และ
  ภาษาอังกฤษ
What are the contexts of EIS
implementation?
   ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
    - กาหนด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของ EIS ที่สัมพันธ์กับหลักสูตรการศึกษา
     ขั้นพืนฐาน
           ้
    - ใช้หนังสือเรียนและ/หรือประกอบเรียนวิทย์ -คณิต เป็นภาษาอังกฤษ(จาก
     สิงคโปร์)
    - ใช้สื่อ ICT ในการจัดการเรียนการสอน
    - วัดและประเมินผลโดยใช้ข้อทดสอบเป็นภาษาอังกฤษ
    - กาหนดระบบการวัดและประเมินผลการเรียนที่เน้นการปลูกฝังพฤติกรรม
     การเรียนในกระบวนการเรียนรู้เข้มข้นขึน
                                         ้
    - นาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนทาความเข้าใจกับผู้ปกครองและชุมชน
    - ส่งเสริมกิจกรรมรูปแบบ Sister School กับต่างประเทศ(สิงคโปร์ จีน
     และ มาเลเซีย ฯ)
What are the contexts of EIS
 implementation?(2)
 พัฒนาสมรรถนะครูไทยประจาการให้ใช้
  ภาษาอังกฤษระดับขั้นพื้นฐานเพื่อการสื่อสารสาหรับ
  การจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์
  วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ร่วมกับมหาวิทยาลัย
  บูรพา
 พัฒนารูปแบบการพัฒนาครู EIS
ความสาเร็จของผู้เรียนผู้สอนและผู้บริหารภายใต้
ยุทธศาสตร์ EIS
                                     ครูที่ไม่เคยใช้ภาษาอังกฤษ สามารถใช้
   นักเรียนสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้
    เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์              ภาษาอังกฤษในการสื่อสารและสอนด้วย
   นักเรียนสอบชิงทุนเรียนต่อ         ภาษาอังกฤษได้
    ต่างประเทศ                       ครูพัฒนาศักยภาพในการใช้ ภาษาอังกฤษ
   นักเรียน EIS ที่เข้าเรียนใน       และICT ในการจัดการเรียนการสอนได้เป็น
    มหาวิทยาลัยพัฒนาเป็นนักเรียน      อย่างดี
    ชั้นยอด                          ครูแสวงหาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
   ยกระดับการเรียนรู้และพัฒนา
    ศักยภาพทางด้านภาษาอังกฤษ         ยกระดับสมรรถนะในวิชาชีพครูสูงขึ้นอย่างที่
    ของผู้เรียน                       ไม่เคยปรากฏมาก่อน
   ความสามารถทางด้านการคิด          ยกระดับสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาด้าน
    วิเคราะห์ของนักเรียนสูงขึ้น       ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงทางด้านหลักสูตร
                                      และการสอนสู่สากล
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ
   Integrating SSF, OK Model, Mathematical
    Methodology Model and CT in Teaching-Learning
    Process through Textbooks and ICT in English
   Leading for Change of School Leaders based on
    enthusiasm and Instructional Leadership
   Monitoring through Coaching and Mentoring
    Process
   On the job Training through Workplace Learning
   Align Community Relation with school vision
   Educational Network
ตารางเปรียบเทียบการจาแนกกลุ่มโรงเรียน จานวนโรงเรียน ตามกลุมคะแนนค่าเฉลี่ยกลุ่มคะแนนเฉลี่ยมัธยมศึกษาตอนต้น (จานวน
                                                          ่
โรงเรียนทั่วประเทศ: ชลบุรี: ระยอง)และมัธยมศึกษาตอนปลาย (จานวนโรงเรียน ทั่วประเทศ: ชลบุร: ระยอง)ตามคะแนน O-Net ปี
                                                                                       ี
การศึกษา 2551



         กลุ่มคะแนนเฉลี่ย                              จานวน ร.ร. / คะแนนเฉลี่ย
  ตารางเปรียบเทียบการจาแนกกลุ่มโรงเรียน จานวนโรงเรียน ตามกลุ่มคะแนน
  ค่าเฉลี่ยกลุ่มคะแนนเฉลี่ยมัธยมศึมัธษาตอนต้น น านวนโรงเรียมันทั่วประเทศ: ชลบุร:
                                     ก ยมศึกษาตอนต้ (จ                        ธยมศึกษาตอนปลาย                ี
                            (จานวนโรงเรียนทั่วประเทศ: ชลบุรี: ระยอง) (จานวนโรงเรียน ทั่วประเทศ: ชลบุรี: ระยอง)
  ระยอง)และมัธยมศึกษาตอนปลาย (จานวนโรงเรียน ทั่วประเทศ: ชลบุรี: ระยอง)
  ตามคะแนน O-Net ปีการศึกษา 2551
      กลุ่มสูงสุด (1)                 269 : 5 : 3                             277 : 11 : 6
      ค่าเฉลี่ยกลุ่มสูง                   37.94                                     35.76
             กลุ่ม 2                  593:15:12                                  563:15:9
     ค่าเฉลี่ยกลุ่มกลาง                   34.10                                   32.08
              กลุ่ม3                     861:6:3                                  851:4:4
      ค่าเฉลี่ยกลุ่มต่า                  31.97                                    30.05
              กลุ่ม4                     686:5:1                                  649:1:0
 ค่าเฉลี่ยของสุนทรภู่พิทยา               42.50                                    38.58
               รวม                2409:31:19                                2409:31:19
Characteristics of World Class
Curriculum(1)
   Developing citizens of the world-culture, language
    and learning to live together.
   Building and reinforcing students’ sense of identity
    and cultural awareness.
   Stimulating curiosity and inquiring in order to foster
    a spirit of discovery and enjoyment of learning.
   Equipping students with the skills to learn and to
    acquire knowledge, individually, and to apply these
    skills and knowledge accordingly across a broad
    range of areas.
Characteristics World Class Curriculum
(2)
   Providing international content while responding to
    local requirement and interests.
   Encouraging diversity and flexibility in pedagogical
    approaches
   Providing appropriate forms of assessment and
    international benchmarking
The Successful of Leading for Teamwork to
Learning Society in the Schools
Conceptualization of ENO: EIS School
Network Organization

                               N-Eastern
      Northern
                                 U&L

                    Centre
                 (SPSS&OBEC)


     Southern            Middle & BKK & Eastern
ENO: EIS School Network Organization
   โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม จังหวัดเชียงราย เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO
    ภาคเหนือ (เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ลาพูน พะเยา ลาปาง ตาก
    อุตรดิษถ์ พิจิตร กาแพงเพชร พิษณุโลก สุโขทัย)
   โรงเรียนกมลาศัย จังหวัดกาฬสินธ์ เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO ภาค
    ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (กาฬสินธิ์ มุกดาหาร ร้อยเอ็ด สกลนคร นครพนม
    มหาสารคาม ขอนแก่น อุดรธานี เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลาพู หนองคาย)
   โรงเรียนนางรอง และนางรองพิทยาคมจังหวัดบุรีรัมย์เป็นผู้อานวยการศูนย์
    ENO ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง(บุรีรัมย์ อุบลราชธานี สุรินทร์
    ศรีษะเกษ ยโสธร อานาจเจริญ)
   โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จังหวัดนครราชสีมาเป็นผู้อานวยการศูนย์ENO ภาค
    กลาง(นครราชสีมา ชัยภูมิ สระบุรี อยุธยา ชัยนาท ลพบุรี อุทัยธานี นครสวรรค์)
ENO: EIS School Network Organization
   โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO ภาคใต้
   โรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม จังหวัดสมุทรปราการ เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO
    กรุงเทพฯ และปริมลฑล (กทม. สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
    เพชรบุรี กาญจนบุรี นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา)
   โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO
    ภาคตะวันออก
   โรงเรียนบ้านมาบตาพุด จังหวัดระยอง เป็น ผู้อานวยศูนย์ ENO สาหรับการ
    จัดการศึกษาระดับประถมศึกษา ทั้งหมด
   โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา จังหวัดระยอง เป็นผู้ประสานงานศูนย์ ENO กับ
    OBEC

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กนำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กsosoksg
 
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITDenpong Soodphakdee
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนnokhongkhum
 
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานrbsupervision
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนวราภรณ์ อุ่นเที่ยว
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57สมใจ จันสุกสี
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltvPrachoom Rangkasikorn
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนนางดวงใจ ฝุ่นแก้ว
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศDenpong Soodphakdee
 

Was ist angesagt? (20)

นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กนำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
 
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
 
5กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ575กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ57
 
Study kc online
Study kc onlineStudy kc online
Study kc online
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11
 
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562
 
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงาน
 
Add m5-1-link
Add m5-1-linkAdd m5-1-link
Add m5-1-link
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
Add m6-2-link
Add m6-2-linkAdd m6-2-link
Add m6-2-link
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Ähnlich wie 1st meeting report of eis secondary school network

แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...Prachoom Rangkasikorn
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์jeabjeabloei
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554Thanawut Rattanadon
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 

Ähnlich wie 1st meeting report of eis secondary school network (20)

ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdfO.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
Km project12
Km project12Km project12
Km project12
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 

Mehr von Kroo nOOy

คอร์ดเพลง เหงา เหงา ที่นาน้อย (อูคู+กีตาร์)
คอร์ดเพลง เหงา เหงา ที่นาน้อย (อูคู+กีตาร์)คอร์ดเพลง เหงา เหงา ที่นาน้อย (อูคู+กีตาร์)
คอร์ดเพลง เหงา เหงา ที่นาน้อย (อูคู+กีตาร์)Kroo nOOy
 
แผนผังโรงเรียนนาน้อย
แผนผังโรงเรียนนาน้อยแผนผังโรงเรียนนาน้อย
แผนผังโรงเรียนนาน้อยKroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10Kroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 9
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 9รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 9
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 9Kroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8Kroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 7
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 7รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 7
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 7Kroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 6
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 6รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 6
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 6Kroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5Kroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3Kroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3Kroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2Kroo nOOy
 
รอบรั้ว วนาหลวง ฉบับที่ 1
รอบรั้ว วนาหลวง ฉบับที่ 1รอบรั้ว วนาหลวง ฉบับที่ 1
รอบรั้ว วนาหลวง ฉบับที่ 1Kroo nOOy
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4Kroo nOOy
 
Mediafilesharing
MediafilesharingMediafilesharing
MediafilesharingKroo nOOy
 

Mehr von Kroo nOOy (15)

คอร์ดเพลง เหงา เหงา ที่นาน้อย (อูคู+กีตาร์)
คอร์ดเพลง เหงา เหงา ที่นาน้อย (อูคู+กีตาร์)คอร์ดเพลง เหงา เหงา ที่นาน้อย (อูคู+กีตาร์)
คอร์ดเพลง เหงา เหงา ที่นาน้อย (อูคู+กีตาร์)
 
แผนผังโรงเรียนนาน้อย
แผนผังโรงเรียนนาน้อยแผนผังโรงเรียนนาน้อย
แผนผังโรงเรียนนาน้อย
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 9
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 9รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 9
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 9
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 7
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 7รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 7
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 7
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 6
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 6รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 6
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 6
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
 
รอบรั้ว วนาหลวง ฉบับที่ 1
รอบรั้ว วนาหลวง ฉบับที่ 1รอบรั้ว วนาหลวง ฉบับที่ 1
รอบรั้ว วนาหลวง ฉบับที่ 1
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
 
Mediafilesharing
MediafilesharingMediafilesharing
Mediafilesharing
 
My Style
My StyleMy Style
My Style
 

1st meeting report of eis secondary school network

  • 1. 1ST MEETING (REPORT) OF EIS SECONDARY SCHOOL NETWORK, THAILAND 5th February 2010 At Pulcharaenwittayakom Secondary School, Samutprakan
  • 2. หลักการและเหตุผลการดาเนินการโครงการ…รูปแบบ EIS  โดยหลักการและแนวทางการจัดการศึกษาตามพรบ.การศึกษาแห่งชาติ พศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม๒๕๔๕ ดังนี้ ..... จากหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา ๘ (๒) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และ(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยมีแนวทางการจัดการศึกษาตามมาตรา ๒๒ ... กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ มาตรา๒๔ (๕)สถานศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้เรียนและผู้สอนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง วิทยาการประเภทต่างๆ และมาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาต้องพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ ...  จากกระบวนการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนด้านภาษาอังกฤษ –คณิตศาสตร์ – วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี โดยแนวทางรูปแบบ EIS นอกจากส่งผลให้ผู้เรียนสามารถแสดงออกซึ่งทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษได้อย่างดีและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทย์-คณิต-อังกฤษ สูงขึ้นอย่างชัดเจน แล้ว ทาให้ผู้สอนที่ ไม่เคยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอนมาก่อน สามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารและสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (สุรพงศ์ งามสม, ๒๕๔๗,๒๕๔๙,๒๕๕๑)  โดยนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการให้จัดการเรียนการสอนวิทย์-คณิตด้วยภาษาอังกฤษ เพื่อ ยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่สากล ( เป็นหลักการและเหตุผลสาหรับไว้อ้างอิงในการจัดทาโครงการของแต่ละโรงเรียน)
  • 3. ลาดับขั้นตอนการขอสมัครเข้าเป็นเครือข่าย EIS  โรงเรียนต้องสมัครใจและเขียนใบสมัครและสามารถดาเนินการลงนามตามบันทึกทาความเข้าใจ (MOU)กับทางศูนย์ครือข่ายEIS ภูมิภาค ที่กาหนดไว้ในแต่ละภูมิภาค  ต้องมีข้อมูลความสมัครใจของครู และการเตรียมความพร้อมของครูผู้สอนและแผนการพัฒนา กระบวนการเรียนการสอนของโรงเรียน  ขอความเห็นชอบโครงการ...... รูปแบบEIS ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา  ครูผู้สอนสมัครเข้ารับการพัฒนาและผ่านการประเมินจาก Mentors ตามที่เครือข่าย EIS กาหนด  นาเสนอความพร้อมที่จะดาเนินการจัดการเรียนการสอนต่อคณะกรรมการสถานศึกษาก่อนเปิดสอน ล่วงหน้า 1 ภาคเรียน  เสนอโครงการฯ เพื่อทราบ/ขอความเห็นชอบต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ/หรือขออนุมัติ แล้วแต่กรณี  ต้องได้รับการประเมินติดตามผลจากสพฐ.และ/หรือหน่วยงานภายนอกเพื่อการประกันคุณภาพ มาตรฐานภายใน ๓ ปีนบแต่เปิดการดาเนินโครงการ ั  โรงเรียนต้องกาหนดให้ครูผู้สอนต้องขอรับการประเมินติดตามผลด้านสมรรถนะการสอนด้วย ภาษาอังกฤษ จาก สพฐ./หรือหน่วยงานมาตรฐานจากภายนอก (หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่งประเทศไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
  • 4. การวางแผนการดาเนินงานโครงการพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนวิทย์-คณิต ด้วยภาษาอังกฤษรูปแบบ EIS  ฝ่ายวิชาการ ครูผู้สอน จัดทาโครงการเพื่อการจัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการ(EIS) โดยครูไทยเพื่อเด็กไทยสู่สากล ซึ่งสามารถจัดทาเป็นโครงการศึกษาวิจัย..... /โครงการพัฒนา.... /โครงการดาเนินการ..... แล้วแต่กรณี  นาเสนอโครงการฯนั้น ต่อคณะกรรมการวิชาการและหลักสูตรโรงเรียน  ผู้บริหารนาเสนอขออนุมัติโครงการฯต่อคณะกรรมการสถานศึกษา  นาเสนอสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อขอความเห็นชอบและ/หรืออนุมัติและเพื่อเป็นข้อมูลรายงานต่อสพฐ. เพื่อ พิจารณาดาเนินการในขั้นต่อไป  จัดโครงสร้างเวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระทั้งที่สอนด้วยภาษาอังกฤษ และปกติในแต่ละช่วงชั้นให้ชัดเจน  จัดตารางสอน และกาหนดรายชื่อหนังสือแบบเรียนที่นามาใช้กับผู้เรียน  ครูจัดทาโครงการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหารโรงเรียน  โรงเรียนต้องจัดให้มี Pretest ก่อนดาเนินการสอน  แผนการจัดการเรียนรู้ต้องระบุการใช้ภาษาอังกฤษสื่อในการจัดการเรียนการสอน  ปรับปรุงการสอนอย่างต่อเนื่อง  ประเมินผู้เรียนเป็นระยะๆ โดยใช้ข้อทดสอบเป็นภาษาอังกฤษ  ประเมินผลการเรียนปลายภาคและPosttest (หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่งประเทศไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
  • 5. การกาหนดแผนชั้นเรียนตามโครงการ...ฯ รูปแบบ EIS  รูปแบบการจัดทาโครงการ จัดทาได้หลากหลายรูปแบบ เช่น โครงการวิจัย และพัฒนา, โครงการห้องเรียนพิเศษ, โครงการพัฒนากระบวนการเรียน รูปแบบ EIS ห้องเรียนปกติ เป็นต้น  การกาหนดจานวนห้องเรียน ให้สอดคล้องกับแผนชั้นเรียน/ห้องเรียนตามที่ สพฐ./หรือหน่วยเหนือกาหนด (ไม่จากัดจานวนห้องเรียน ทังนี้ให้ขนอยู่ ้ ึ้ ความพร้อมของแต่ละโรงเรียน)  สาหรับโรงเรียนใหม่ควรเริมต้นที่ชั้นปี่ที่ ๑ ของแต่ละช่วงชันก่อนในปีแรก ่ ้ (หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่ง ประเทศไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
  • 6. การระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาโครงการ..ฯ รูปแบบEIS  ผู้ปกครองนักเรียนต้องสมัครใจ  ระดมทรัพยากรในรูปแบบที่หลากหลาย จานวนเงินที่ระดมต่อปีการศึกษา ให้ขึ้นอยู่กับบริบทของ โรงเรียนทั้งนี้ต้องวางแผนการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ อย่างชัดเจน และ ไม่ซ้าซ้อนกับเงินที่รัฐอุดหนุน ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา  ถ้าดาเนินการเก็บเงินบารุงการศึกษาขอให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเงินบารุง การศึกษา ลงวันที่ ๒๗ มิ.ย.๒๕๕๑ ผ่านความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษา และรายงานให้ ผู้บังคับบัญชาหน่วยเหนือทราบ (เขตพื้นที่/สพฐ/อื่นตามกรณีที่กฎหมายกาหนด)  สามารถบริหารการระดมทรัพยากรได้หลากหลายรูปแบบ อาทิเช่น ในรูปแบบของทางราชการ (รวมทั้งการจัดทาระเบียบสวัสดิการต่างๆรองรับ)/ สมาคม/ มูลนิธิ ฯลฯ ทั้งในภายใต้การมีส่วน ร่วมของทุกฝ่ายและบริหารกิจการด้วยระบบธรรมาภิบาล (หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่งประเทศไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
  • 7. การพัฒนาบุคลากร/ครู/ทีมบริหาร  การพัฒนาผู้บริหาร & ทีมบริหาร และครูแกนนา ศูนย์ประสานงานเครือข่าย EIS แห่งประเทศไทยจะดาเนินการพัฒนาผ่านทางเครือข่ายอิเลคโทรนิค/IChat  ครูผู้สอนที่ผ่านการเตรียมความพร้อมมาระยะหนึ่ง ให้ศูนย์เครือข่ายEISภูมิภาค ดาเนินการพัฒนาครูร่วมกับโรงเรียนอย่างต่อเนื่องทั้งในประเทศ และนอก ประเทศ  การเตรียมความพร้อมครูผู้สอน ให้ศูนย์เครือข่ายEISภูมิภาค แต่ละศูนย์ ร่วมกับ โรงเรียนดาเนินการให้แล้วเสร็จก่อนเปิดภาคเรียน (เริ่มตั้งแต่ เดือน ก.พ. ๕๓ เป็นต้นไป)  ทางศูนย์ประสานงานเครือข่าย EIS จะดาเนินการประสานงานกับสพฐ.ในเรื่อง งบประมาณและการดาเนินต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากร (หมายเหตุ - เป็นผลมาจากการอภิปรายสรุปประชุมเครือข่าย EIS แห่งประเทศ ไทย เมื่อ ๕ กพ.๕๓)
  • 8. ระบบบริหารเพื่อส่งเสริม/สนับสนุน/กากับติดตามการ จัดการเรียนการสอน  ดูแผนผังแนวคิดการบริหารจัดการนโยบาย EITeMS เพื่อยกระดับคุณภาพ และกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างยั่งยืนบนวิถีชวิตไทย (ในเอกสาร ี หลักสูตรการอบรม EIS & WCSSMT)ประกอบ
  • 9. การสร้างเครือข่ายเพือส่งเสริมและสนับการจัดการเรียน ่ การสอน จากการที่ทางเครือข่าย EIS ได้เชิญ Mr.Chua Chor Huat ผู้อานวยการ โรงเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (School of Science and Technology: SST) แห่งชาติสิงคโปร์ มาบรรยายและแลกเปลี่ยนแนวคิดเพื่อ เชื่อมโยงเครือข่ายได้ข้อสรุป ดังนี้ ๑. ทางMr. Chua Chor Huat จะประสานงานกับทางหน่วยเหนือของ ประเทศสิงคโปร์เรื่องโครงการTwinning Program กับโรงเรียนของแต่ละ ศูนย์ EIS และจะพูดคุยและชักชวนกับเพื่อนผู้บริหารโรงเรียนในสิงคโปร์ ๒. ที่ประชุมได้รับรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของ SST เพื่อเตรียมนักเรียน สู่โลกอนาคต หรือ Digital Edge และทางSST ยินดีให้ทางเครือข่าย โรงเรียน EIS เข้าศึกษาดูงานโรงเรียน ในโครงการ The Future School ของสิงคโปร์ ช่วง 15-19เมษายน ๕๓
  • 10. แผนภูมิการบังคับบัญชาศูนย์เครือข่าย EIS เลขาธิการ กพฐ. ประธานเครือข่าย สานักงานเขต สานักงานเขต ศูนย์เครือข่ายEIS ภาค EIS ศูนย์เครือข่ายEIS ภาค พื้นที่ พื้นที่ โรงเรียน พัฒนาผู้บริหารแกนาและ ครูแกนนา และRoving โรงเรียน Team โรงเรียน พัฒนาหลักสูตรและวิชาการ การบริหารจัดการ และ โรงเรียน สร้างเครือข่าย
  • 11. ระบบการประกันคุณภาพการจัดการศึกษารูปแบบ EIS ไปสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล  ดูแผนผังแนวคิดการบริหารจัดการนโยบาย EITeMS เพื่อยกระดับคุณภาพ และกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างยั่งยืนบนวิถีชวิตไทย (ในเอกสาร ี หลักสูตรการอบรม EIS & WCSSMT)ประกอบ  ใช้ Roving Team & School &Regional Network กากับ ติดตามและประเมินผล
  • 12. EIS นวัตกรรมสองภาษารูปแบบใหม่:- WCSS MODEL EIS:จัดการเรียนการสอนด้วย ภาษาอังกฤษโดยครูไทยเพื่อเด็กไทยสู่ สากล 1 meeting Report of EIS Schools Network, Thailand, 20th Jan.2010 at Watnaiyroang Secondary School, BKK
  • 13. What is EIS?  EIS: English for Integrated Studies  EIS was implemented in the Thai Basic Curriculum on 2004 at SPSS; ปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนด้วยครูไทยโดย ใช้ภาษาอังกฤษบูรณาการการศึกษาในสาระ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และ ภาษาอังกฤษ
  • 14. What are the contexts of EIS implementation?  ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา - กาหนด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของ EIS ที่สัมพันธ์กับหลักสูตรการศึกษา ขั้นพืนฐาน ้ - ใช้หนังสือเรียนและ/หรือประกอบเรียนวิทย์ -คณิต เป็นภาษาอังกฤษ(จาก สิงคโปร์) - ใช้สื่อ ICT ในการจัดการเรียนการสอน - วัดและประเมินผลโดยใช้ข้อทดสอบเป็นภาษาอังกฤษ - กาหนดระบบการวัดและประเมินผลการเรียนที่เน้นการปลูกฝังพฤติกรรม การเรียนในกระบวนการเรียนรู้เข้มข้นขึน ้ - นาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนทาความเข้าใจกับผู้ปกครองและชุมชน - ส่งเสริมกิจกรรมรูปแบบ Sister School กับต่างประเทศ(สิงคโปร์ จีน และ มาเลเซีย ฯ)
  • 15. What are the contexts of EIS implementation?(2)  พัฒนาสมรรถนะครูไทยประจาการให้ใช้ ภาษาอังกฤษระดับขั้นพื้นฐานเพื่อการสื่อสารสาหรับ การจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ร่วมกับมหาวิทยาลัย บูรพา  พัฒนารูปแบบการพัฒนาครู EIS
  • 16. ความสาเร็จของผู้เรียนผู้สอนและผู้บริหารภายใต้ ยุทธศาสตร์ EIS  ครูที่ไม่เคยใช้ภาษาอังกฤษ สามารถใช้  นักเรียนสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ ภาษาอังกฤษในการสื่อสารและสอนด้วย  นักเรียนสอบชิงทุนเรียนต่อ ภาษาอังกฤษได้ ต่างประเทศ  ครูพัฒนาศักยภาพในการใช้ ภาษาอังกฤษ  นักเรียน EIS ที่เข้าเรียนใน และICT ในการจัดการเรียนการสอนได้เป็น มหาวิทยาลัยพัฒนาเป็นนักเรียน อย่างดี ชั้นยอด  ครูแสวงหาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง  ยกระดับการเรียนรู้และพัฒนา ศักยภาพทางด้านภาษาอังกฤษ  ยกระดับสมรรถนะในวิชาชีพครูสูงขึ้นอย่างที่ ของผู้เรียน ไม่เคยปรากฏมาก่อน  ความสามารถทางด้านการคิด  ยกระดับสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาด้าน วิเคราะห์ของนักเรียนสูงขึ้น ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงทางด้านหลักสูตร และการสอนสู่สากล
  • 17. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ  Integrating SSF, OK Model, Mathematical Methodology Model and CT in Teaching-Learning Process through Textbooks and ICT in English  Leading for Change of School Leaders based on enthusiasm and Instructional Leadership  Monitoring through Coaching and Mentoring Process  On the job Training through Workplace Learning  Align Community Relation with school vision  Educational Network
  • 18. ตารางเปรียบเทียบการจาแนกกลุ่มโรงเรียน จานวนโรงเรียน ตามกลุมคะแนนค่าเฉลี่ยกลุ่มคะแนนเฉลี่ยมัธยมศึกษาตอนต้น (จานวน ่ โรงเรียนทั่วประเทศ: ชลบุรี: ระยอง)และมัธยมศึกษาตอนปลาย (จานวนโรงเรียน ทั่วประเทศ: ชลบุร: ระยอง)ตามคะแนน O-Net ปี ี การศึกษา 2551 กลุ่มคะแนนเฉลี่ย จานวน ร.ร. / คะแนนเฉลี่ย ตารางเปรียบเทียบการจาแนกกลุ่มโรงเรียน จานวนโรงเรียน ตามกลุ่มคะแนน ค่าเฉลี่ยกลุ่มคะแนนเฉลี่ยมัธยมศึมัธษาตอนต้น น านวนโรงเรียมันทั่วประเทศ: ชลบุร: ก ยมศึกษาตอนต้ (จ ธยมศึกษาตอนปลาย ี (จานวนโรงเรียนทั่วประเทศ: ชลบุรี: ระยอง) (จานวนโรงเรียน ทั่วประเทศ: ชลบุรี: ระยอง) ระยอง)และมัธยมศึกษาตอนปลาย (จานวนโรงเรียน ทั่วประเทศ: ชลบุรี: ระยอง) ตามคะแนน O-Net ปีการศึกษา 2551 กลุ่มสูงสุด (1) 269 : 5 : 3 277 : 11 : 6 ค่าเฉลี่ยกลุ่มสูง 37.94 35.76 กลุ่ม 2 593:15:12 563:15:9 ค่าเฉลี่ยกลุ่มกลาง 34.10 32.08 กลุ่ม3 861:6:3 851:4:4 ค่าเฉลี่ยกลุ่มต่า 31.97 30.05 กลุ่ม4 686:5:1 649:1:0 ค่าเฉลี่ยของสุนทรภู่พิทยา 42.50 38.58 รวม 2409:31:19 2409:31:19
  • 19. Characteristics of World Class Curriculum(1)  Developing citizens of the world-culture, language and learning to live together.  Building and reinforcing students’ sense of identity and cultural awareness.  Stimulating curiosity and inquiring in order to foster a spirit of discovery and enjoyment of learning.  Equipping students with the skills to learn and to acquire knowledge, individually, and to apply these skills and knowledge accordingly across a broad range of areas.
  • 20. Characteristics World Class Curriculum (2)  Providing international content while responding to local requirement and interests.  Encouraging diversity and flexibility in pedagogical approaches  Providing appropriate forms of assessment and international benchmarking
  • 21. The Successful of Leading for Teamwork to Learning Society in the Schools
  • 22. Conceptualization of ENO: EIS School Network Organization N-Eastern Northern U&L Centre (SPSS&OBEC) Southern Middle & BKK & Eastern
  • 23. ENO: EIS School Network Organization  โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม จังหวัดเชียงราย เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO ภาคเหนือ (เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ลาพูน พะเยา ลาปาง ตาก อุตรดิษถ์ พิจิตร กาแพงเพชร พิษณุโลก สุโขทัย)  โรงเรียนกมลาศัย จังหวัดกาฬสินธ์ เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (กาฬสินธิ์ มุกดาหาร ร้อยเอ็ด สกลนคร นครพนม มหาสารคาม ขอนแก่น อุดรธานี เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลาพู หนองคาย)  โรงเรียนนางรอง และนางรองพิทยาคมจังหวัดบุรีรัมย์เป็นผู้อานวยการศูนย์ ENO ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง(บุรีรัมย์ อุบลราชธานี สุรินทร์ ศรีษะเกษ ยโสธร อานาจเจริญ)  โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จังหวัดนครราชสีมาเป็นผู้อานวยการศูนย์ENO ภาค กลาง(นครราชสีมา ชัยภูมิ สระบุรี อยุธยา ชัยนาท ลพบุรี อุทัยธานี นครสวรรค์)
  • 24. ENO: EIS School Network Organization  โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO ภาคใต้  โรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม จังหวัดสมุทรปราการ เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO กรุงเทพฯ และปริมลฑล (กทม. สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี กาญจนบุรี นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา)  โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง เป็นผู้อานวยการศูนย์ENO ภาคตะวันออก  โรงเรียนบ้านมาบตาพุด จังหวัดระยอง เป็น ผู้อานวยศูนย์ ENO สาหรับการ จัดการศึกษาระดับประถมศึกษา ทั้งหมด  โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา จังหวัดระยอง เป็นผู้ประสานงานศูนย์ ENO กับ OBEC