SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 206
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แผนแม่บท
      การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2

                (พ.ศ.2552-2559)




คณะกรรมการมาตรวิทยาแห่งชาติ
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ	ฉบับที่	2	(พ.ศ.	2552-2559)

ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
วันที่
25
พฤศจิกายน
2552
ISBN:
978-616-12-0042-8
พิมพ์ครั้งที่
1
(มกราคม
2553)

ยอดพิมพ์
1,240
เล่ม

สงวนลิขสิทธิ์
พ.ศ.2550
ตาม
พ.ร.บ.
ลิขสิทธิ์
พ.ศ.2537
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ไม่อนุญาตให้คัดลอก
ทำซ้ำ
และดัดแปลง
ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือฉบับนี้
นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น

Copyright

©

2010
by
National
Institute
of
Metrology
(Thailand)
Ministry
of
Science
and
Technology
3
/
4
–
5
Moo
3,
Klong
5,
Klong
Luang,

Pathumthani
12120,
Thailand
Tel:

+662577
5100
Fax:
+662577
2859
http://www.nimt.or.th

จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เลขที่
3
/
4
–
5
หมู่
3
ตำบลคลองห้า

อำเภอคลองหลวง

จังหวัดปทุมธานี
12120
โทรศัพท์
0
2577
5100
โทรสาร

0
2577
2859
http://www.nimt.or.th







2
แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)




                                      สารบัญ	

                                                                                                 หน้า
คำนำ	 	        	 	 	                                                                              7
บทสรุปผู้บริหาร	 	 	                                                                              9
บทที่	1

บทนำ
 
 
                                                                               13

บทที่	2

การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมในการดำเนินการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                       17

       2.1
 ผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
1

                          17

       
      (พ.ศ.2542-2551)


       2.2
 สถานภาพปัจจุบันของโครงสร้างระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                         19

       2.3
 การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม
                                                 26

       
      2.3.1
 การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
           26

       
      2.3.2
 การวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรคของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
             29

บทที่	3

ประเด็นยุทธศาสตร์จากการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม

                                31

       (Strategic
Plan
from
SWOT
Analysis)

       3.1
 SWOT
Matrix
 

                                                           31

       3.2
 วิสัยทัศน์ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                                          33

       3.3
 เป้าประสงค์การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                                 33


       3.4
 ประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                 33
บทที่	4	แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                                    35


       แผนยุทธศาสตร์ที่
1

 การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
                          35

       
      
 
 
          และเครือข่ายพันธมิตร

       แผนยุทธศาสตร์ที่
2

 การพัฒนาห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
ทดสอบ

                   46

       
      
 
 
          และสอบเทียบในประเทศ
    

       แผนยุทธศาสตร์ที่
3

 การพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยา
                      
50

       แผนยุทธศาสตร์ที่
4
 การส่งเสริมให้มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือของรัฐ
               56

       
      
 
 
          ในกิจการต่างประเทศ
  
บทที่	5	การเชื่อมโยงระหว่างแผนแม่บทฯ
นโยบาย
งบประมาณ
และปัจจัยแห่งความสำเร็จฯ
 65


      5.1

 การเชื่อมโยงระหว่างแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติกับนโยบาย

 65

       
      แผนยุทธศาสตร์ชาติ
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


       
      และแผนบริหารราชการอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้อง

       5.2

 ประมาณการงบประมาณเบื้องต้นตามแผนแม่บทฯ
                                  67

       5.3
 การวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่มีผลต่อการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 70


       5.4
 กลไกการดำเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                 73


                                                                                                    3
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




                                                                                        หน้า
บทที่	6

 ารติดตามและประเมินผล
        ก                                                                                75

       6.1
 การประเมินโดยการประเมินตนเอง
                                               75

       6.2
 การประเมินโดยหน่วยงานภายนอก
                                                75

       6.3
 ดัชนีชี้วัดผลความสำเร็จ/ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน
                            76

       6.4
 ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติ
                         80
ภาคผนวก

       ผนวก
ก

 พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
พ.ศ.2540
                       85

       ผนวก
ข

 ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรื่องการกำหนดมาตรฐาน
             99

       
      
 แห่งชาติ
เกี่ยวกับหน่วยวัดปริมาณ
เครื่องมือ
อุปกรณ์
และวัสดุอ้างอิง

       
      
 ที่ใช้ในการจัดปริมาณ

       ผนวก
ค

 ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติและความเป็นมาของสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
          107

       ผนวก
ง


 แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
(พ.ศ.2552-2559)
          115

       ผนวก
จ
 ผลการดำเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ

                137

       
      
 ฉบับที่
1
(พ.ศ.2542-2551)
                                                

       ผนวก
ฉ

 ผลการสำรวจจำนวนเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม
                          165

       ผนวก
ช


 ผลการสำรวจจำนวนการให้บริการสอบเทียบเครื่องมือวัด

                    169



       
      
 และขีดความสามารถของห้องปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ

       ผนวก
ซ

 การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมด้านนโยบายและกฎหมาย
                           173

       ผนวก
ฌ


การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมด้านเศรษฐกิจและสังคม
                          181

       ผนวก
ญ


ผลกระทบจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาให้เข้มแข็ง
                            185

       ผนวก
ฎ


กระบวนการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                   189

       
      
 ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)

       ผนวก
ฏ


หนังสืออนุมัติแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                   193
                                                                                           

       
      
 ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)




4
แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)




                                  สารบัญตาราง	

                                                                                                    หน้า
ตารางที่		1 

ประมาณการจำนวนเครื่องมือวัดของโรงงานอุตสาหกรรมทั่วประเทศ

                             23

     
 
 และประมาณการจำนวนเครื่องมือวัดที่ได้รับการสอบเทียบของโรงงาน

     
 
 อุตสาหกรรมที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ
(ISO
9001)


     
 
 ทั้งประเทศ
พ.ศ.2550
จำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม
                                     
ตารางที่		2

การวิเคราะห์จุดแข็ง
(Strength)
ของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                     26
ตารางที่		3

การวิเคราะห์จุดอ่อน
(Weakness)
ของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                     28

ตารางที่		4


การวิเคราะห์โอกาส
(Opportunity)
ของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                   29
ตารางที่		5


การวิเคราะห์อุปสรรค
(Threat)
ของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                      30

ตารางที่		6 
ประมาณการความต้องการงบประมาณในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                 68


     
 
 ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2552-2559
จำแนกตามแผนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
                    
ตารางที่		7	

อัตรากำลังคนของสถาบันฯ
ปี
2551
จำแนกตามวุฒิการศึกษา
                        70
ตารางที่		8


ประมาณการความต้องการอัตรากำลังคนที่เพิ่มขึ้นของสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

 71

     
 
 พ.ศ.2552-2559
ตารางที่		9 
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
พ.ศ.2552-2559

         76

     
 
 จำแนกตามแผนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
                                                  
ตารางที่	10 แผนความต้องการงบประมาณของยุทธศาสตร์ด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
              132
ตารางที่	11

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
พ.ศ.2552-2559

 133

     
 
 ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ที่
1
ฯ
ตารางที่	12
 ผลการสำรวจความต้องการสอบเทียบเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม

               141

     
 
 จำแนกตามสาขาการวัด
ตารางที่	13
 สถิติการเข้ารับการอบรม
ณ
ต่างประเทศ
พ.ศ.2547-2550
                         147
ตารางที่	14
 จำนวนโรงงานภาคอุตสาหกรรมของประเทศ
พ.ศ.2549-2550
จำแนกตาม
                  167

     
 
 ประเภทอุตสาหกรรม
ตารางที่	15
 ประมาณการจำนวนเครื่องมือวัดของโรงงานอุตสาหกรรมทั่วประเทศ
และประมาณ
 168
       

     
 
 การจำนวนเครื่องมือวัดที่ได้รับการสอบเทียบของโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับการ
  

     
 
 รับรองระบบบริหารงานคุณภาพ
(ISO
9001)
ทั้งประเทศ
พ.ศ.2549-2550
จำแนกตาม
        

     
 
 ประเภทอุตสาหกรรม
ตารางที่	16

ประมาณการจำนวนการให้บริการสอบเทียบเครื่องมือวัดและขีดความสามารถ
           171


     
 
 ทางการวัดของห้องปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ
จำแนกตามสาขาการวัด
ตารางที่	17

แสดงจำนวนห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
ทดสอบ
และสอบเทียบระดับทุติยภูมิที่ได้รับ
 171


     
 
 การรับรองความสามารถ
ISO/IEC
17025
จำแนกตามภาค


                                                                                                       5
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




                                   สารบัญแผนภาพ	

                                                                                     หน้า
แผนภาพที่		1
 ประมาณการจำนวนการให้บริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของห้องปฏิบัติการ
       22
                                                                                        

            
 สอบเทียบ
พ.ศ.2550
จำแนกตามสาขาการวัด
แผนภาพที่	 2
 จำนวนห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
ทดสอบ
และสอบเทียบที่ได้รับการรับรอง
       22

            
 ความสามารถ
ISO/IEC
17025
ทั้งประเทศ
พ.ศ.2550
จำแนกตามภาค
                
แผนภาพที่		3
 การกำหนดกลยุทธ์จาก
SWOT
Matrix
                                         31
แผนภาพที่		4 
SWOT
Matrix
การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
                              32
แผนภาพที่	 	5

สรุปแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2

                  58
                                                                                        

            
 (พ.ศ.2552-2559)
แผนภาพที่		6	 การเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการพัฒนา
                       59

            
 ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติกับหน่วยงานร่วมดำเนินการ
แผนภาพที่	 7		การเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
            65
                                                                                        

            
 กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
แผนภาพที่	 8	 การเชื่อมโยงระหว่างแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
               66
                                                                                        

            
 กับนโยบายภาครัฐ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ
แผนปฏิบัติราชการ
 

            
 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และแผนบริหารราชการอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้อง
แผนภาพที่	 9
 สรุปผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติ
             83
แผนภาพที่	10

ประเภทของมาตรวิทยาจำแนกตามระดับความแม่นยำ
                             110
แผนภาพที่	11

โครงสร้างระบบมาตรวิทยาของชาติเชื่อมโยงถึงการยอมรับจากนานาชาติ
         112







6
แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)




         
         
                                       คำนำ	
         
         
         

           
ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่จุดเปลี่ยนผ่านของสังคมองค์ความรู้ที่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
จำเป็นต้องตั้งอยู่บนฐานของความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจโดยเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจ
โลกอย่างลึกซึ้ง
 ขณะเดียวกันต้องดูแลให้คุณภาพชีวิตของคนไทยได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
 ทำให้ปัจจัยด้านองค์ความรู้และนวัตกรรมจำเป็นต้อง
อาศัยพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้มแข็งกลายเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเพื่อสร้าง
ความเจริญทางเศรษฐกิจและการยกระดับคุณภาพชีวิต
 และส่งผลให้การวัดและทดสอบมาตรฐานและ
คุณภาพของสินค้าและบริการ
รวมทั้งสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นสากลที่ได้รับความสำคัญ
           
ส ถาบั น มาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ
 ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานอิ ส ระภายใต้ ก ารกำกั บ ของกระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่รับผิดชอบในการสร้างหลักประกันในด้านความเชื่อถือได้ของผลการวัด
ให้ แ ก่ ภ าคการผลิ ต
 การคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค
 และการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม
 จึ ง ได้ จั ด ทำแผนแม่ บ ท
                                                                                                                
การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 2
 (พ.ศ.2552-2559)
 ต่อเนื่องจากแผนแม่บทฯ
 ฉบับที่
 1
(พ.ศ.2542-2551)
 เพื่อใช้เป็นกรอบในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติให้สอดคล้องและสนับสนุน
กั บ ภาพรวมของการพั ฒ นาประเทศ
 ภายใต้ แ ผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ
 ฉบั บ ที่
 10
(พ.ศ.2550-2554)
นโยบายของรัฐบาล
และยุทธศาสตร์ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 เพื่อ
ให้ระบบมาตรวิทยาสามารถให้การสนับสนุนและพัฒนาข้อได้เปรียบทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มีส่วนช่วยให้เกิดการผนึกกำลังในการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
           
แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 2
 (พ.ศ.2552-2559)
 ประกอบด้วย
แผนยุทธศาสตร์หลัก
 4
 ประการ
 ได้แก่
 1)
 การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติและเครือข่าย
พันธมิตรให้เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ
 สามารถให้บริการมาตรฐานด้านการวัดแห่งชาติได้เพียงพอกับ
ความต้องการในประเทศ
 และมุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศ
ให้เข้มแข็ง
 2)
 การพัฒนาห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
 ทดสอบ
 และสอบเทียบในประเทศ
 ให้มีคุณภาพ
                      
และจำนวนที่เพียงพอสำหรับรองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
 สามารถคุ้มครองผู้บริโภคใน
ประเทศและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 3)
 การพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยาให้มีความรู้ความเข้าใจ
และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของระบบมาตรวิทยา
 และ
 4)
 การส่งเสริมให้
มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือของรัฐในกิจการต่างประเทศ
 โดยการเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับ
ประเทศเพื่อนบ้านอันจะส่งผลให้ผู้ประกอบการไทยสามารถขยายตลาดสู่ต่างประเทศ
 ซึ่งในแต่ละ
ประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวได้มีการกำหนด
 เป้าหมาย
 ตัวชี้วัด
 และระบบติดตามและประเมินผลเพื่อ
นำไปสู่การปรับตัวทางยุทธศาสตร์ได้อย่างทันกาล
 แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
 2
 (พ.ศ.2552-2559)
 นี้
 ในภาพรวมเป็นการขยายการดำเนินงานต่อจากแผนแม่บทการพัฒนา
ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 1
(พ.ศ.2542-2551)
โดยเน้นการพัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
ให้เข้มแข็งเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาประเทศให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในปัจจุบันที่


                                                                                                              7
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพมีบทบาทเป็นอย่างมาก
 นอกจากนี้แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยา
แห่งชาติ
 ฉบับที่
 2
 (พ.ศ.2552-2559)
 ยังเน้นให้ใช้ประโยชน์ของมาตรวิทยาในการเสริมสร้างความ
สัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้านด้วย
         
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ใคร่ขอขอบคุณหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทั้งภาครัฐและเอกชนในการ
มีส่วนร่วมอย่างสำคัญ
 รวมทั้งความสนับสนุนที่ได้รับจากคณะกรรมการฯ
 และผู้บริหารและบุคลากร
ของสถาบันเอง
 ที่ทำให้แผนแม่บทฯ
 สำเร็จเป็นรูปร่าง
 และเชื่อมั่นว่าแผนแม่บทฯ
 ฉบับนี้จะได้รับการ
ขยายผลของการนำไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการช่วยให้ระบบ
เศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยความร่วมมือร่วมใจของภาคีทุกภาคส่วน
        




8
แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)




                                      บทสรุปผู้บริหาร
           
           
           
           
           
           
ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 (National
Metrology
System)
ประกอบด้วย
สถาบันมาตรวิทยา
แห่งชาติ
 ห้องปฏิบตการวิเคราะห์
 ทดสอบ
 และสอบเทียบระดับทุตยภูม
 และผูใช้บริการด้านมาตรวิทยา
                      ั ิ                                                   ิ ิ           ้
ในประเทศ
 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติเป็นห้องปฏิบัติการฯ
 ระดับปฐมภูมิ
 ทำหน้าที่พัฒนา
 จัดหา
                         
ดู แ ลรั ก ษามาตรฐานด้ า นการวั ด แห่ ง ชาติ
 อั น ได้ แ ก่
 หน่ ว ยวั ด และวั ส ดุ อ้ า งอิ ง ด้ า นการวั ด ของชาติ
ห้องปฎิบัติการวิเคราะห์ฯ
 ระดับทุติยภูมิ
 ทำหน้าที่ถ่ายทอดความถูกต้องจากมาตรฐานด้านการวัด
แห่งชาติสู่ผู้ใช้บริการด้านมาตรวิทยา
 อันได้แก่
 ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ
 เป็นต้น
ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติจะเป็นหลักประกันความถูกต้องของการวัด
 การวิเคราะห์
 และการทดสอบ
เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพได้มาตรฐานตรงตามข้อกำหนดของประเทศคู่ค้า
 รวมทั้งเป็นหลักประกัน
ในการคุ้มครองผู้บริโภคและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เพื่อให้สังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดี

           
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติได้ดำเนินงานพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติตามแผนแม่บท
                               
การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 1
 (พ.ศ.2542-2551)
 โดยมีผลการดำเนินงานเป็นไปตาม
เป้าหมายที่กำหนด
 จากการสำรวจและวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมพบว่าหน่วยวัดแห่งชาติด้านฟิสิกส์
สามารถพัฒนาได้ประมาณร้อยละ
85
ตามความต้องการของประเทศแล้ว
ส่วนมาตรวิทยาด้านเคมีและ
ชีวภาพต้องการการพัฒนาอีกมาก
 เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการในประเทศ
 สำหรับ
ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
 ทดสอบ
 และสอบเทียบระดับทุติยภูมิจำนวนประมาณร้อยละ
 60
 ได้รับ
การรับรองมาตรฐานตามสากลแล้ว
 แต่สัดส่วนการกระจายไปสู่ภูมิภาคยังน้อย
 กล่าวคือ
 ร้อยละ
 85
ของห้องปฏิบัติการฯ
 ระดับทุติยภูมิ
 ตั้งอยู่ในภาคกลาง
 ในส่วนผู้ใช้บริการระบบมาตรวิทยา
 อันได้แก่
ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ
 ยังมองข้ามความสำคัญและไม่เห็นประโยชน์ของระบบมาตรวิทยา
 มีผลให้
ความสามารถการแข่งขันในเวทีการค้าโลกของผลิตภัณฑ์จากภาคอุตสาหกรรมไทยไม่สูงเท่าที่ควร
                                
เนื่องจากผลิตภัณฑ์มีคุณภาพไม่ตรงตามความต้องการของคู่ค้า
 อีกทั้งต้นทุนการผลิตสูงเกินกว่า
ที่ ค วรจะเป็ น
 อั น มี ส าเหตุ ม าจากการวั ด ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ พ ลั ง งานและการควบคุ ม คุ ณ ภาพ
    
ในกระบวนการการผลิตไม่ถูกต้อง

           
เพื่อให้การดำเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติมีความต่อเนื่อง
 มีทิศทางในการ
ดำเนิ น งานที่ ชั ด เจน
 สถาบั น มาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ จึ ง ดำเนิ น การจั ด ทำแผนแม่ บ ทการพั ฒ นาระบบ
            
มาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 2
 (พ.ศ.2552-2559)
 ขึ้น
 โดยแผนแม่บทฯ
 จะมีความสอดคล้องกับ
นโยบายของรัฐบาล
 แผนยุทธศาสตร์ชาติ
 พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 พ.ศ.2540
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 ฉบับที่
 10
 (พ.ศ.2550-2554)
 แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ
 (พ.ศ.2547-2556)
 แผนยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(พ.ศ.2551-2554)
 แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 (พ.ศ.2552-2554)
 และ
แผนอื่นๆ
 ที่เกี่ยวข้อง
 โดยประสานความร่วมมือในการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมเป็น



                                                                                                                  9
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




เครือข่ายพันธมิตร
 เพื่อให้ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 สามารถเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหลักประกัน
ให้กับการพัฒนาเศรษฐกิจ
และคุณภาพชีวิตของสังคมไทยได้อย่างยั่งยืน
         
จากผลการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมประกอบกับแนวนโยบายของรัฐและแผนยุทธศาสตร์ชาติ
ต่างๆ
 นำมาพัฒนาแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 2
 (พ.ศ.2552-2559)
 ซึ่ง
ประกอบด้วยแผนยุทธศาสตร์
4
แผน
โดยมีสาระสรุปได้ดังนี้
         ยุทธศาสตร์ที่หนึ่ง
การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติและเครือข่ายพันธมิตร
ประกอบด้วย
กลยุทธ์การสถาปนาและพัฒนาหน่วยวัดแห่งชาติให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
 และเพียงพอกับความ
ต้องการของประเทศ
 กลยุทธ์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศ
ให้เข้มแข็ง
 กลยุทธ์การพัฒนาและดำรงระบบคุณภาพของสถาบันฯ
 กลยุทธ์การพัฒนาการให้บริการ
สอบเทียบและการให้คำปรึกษา
 กลยุทธ์การพัฒนาขีดความสามารถด้านงานวิจัยและพัฒนา
 กลยุทธ์
การพัฒนาบุคลากรของสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
 กลยุทธ์การบูรณาการด้านมาตรวิทยากับต่างประเทศ
รวมทั้งกลยุทธ์การพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย
         ยุทธศาสตร์ที่สอง
 การพัฒนาห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
 ทดสอบ
 และสอบเทียบในประเทศ
ประกอบด้วยกลยุทธ์การเสริมสร้างความเข้มแข็งห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
 ทดสอบ
 และสอบเทียบ
                           
พร้อมทั้งกลยุทธ์การส่งเสริมให้มีห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
ทดสอบ
และสอบเทียบในภูมิภาค

         ยุทธศาสตร์ที่สาม
 การพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยา
 ประกอบด้วย
 กลยุทธ์การสร้าง
                      
ความตระหนักและพัฒนาการศึกษาด้านมาตรวิทยา
 กลยุทธ์การยกระดับความสามารถด้านการวัด
ในภาคอุตสาหกรรม
 และกลยุทธ์การส่งเสริมสนับสนุนการวัดทางการแพทย์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
สากล

         
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ สี่
 การส่ ง เสริ ม ให้ ม าตรวิ ท ยาเป็ น เครื่ อ งมื อ ของรั ฐ ในกิ จ การต่ า งประเทศ
                                                                                                                 
ประกอบด้วย
 กลยุทธ์การใช้มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ
เพื่อนบ้าน
และกลยุทธ์การส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการขยายตลาดสู่ต่างประเทศ
         ผลที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ เมื่ อ จบแผนแม่ บ ทการพั ฒ นาระบบมาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ
 ฉบั บ ที่
 2
         
(พ.ศ.2552-2559)
ประกอบด้วยผลผลิต
ผลลัพธ์
และผลกระทบดังนี้

         ผลผลิต
 จะทำให้ประเทศไทยมีหน่วยวัดและวัสดุอ้างอิงมาตรฐานของชาติเพียงพอรองรับ
ความต้องการของผู้ใช้บริการในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน
มีห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
ทดสอบ
และ
สอบเทียบ
 ที่มีมาตรฐานสากลกระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ
 อันจะส่งผลให้มีการสอบเทียบ
                             
เครื่องมือวัดเพิ่มขึ้น
ผลการวัด
การวิเคราะห์
 และทดสอบของผู้ประกอบการในภาคต่างๆ
ของประเทศ
มีความถูกต้องตามมาตรฐานสากล
 ยุทธศาสตร์การสร้างความตระหนักจะทำให้ผู้ใช้บริการมาตรวิทยา
เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องระบบมาตรวิทยา
 มีการฝึกอบรมการเรียนการสอนด้านมาตรวิทยา
 เพื่อ
พัฒนาบุคลากรที่อยู่ในระบบงานปัจจุบัน
 และเตรียมบุคลากรป้อนเข้าสู่ระบบงานในอนาคต
 ซึ่งจะ
                         
เป็นผลทำให้ประเทศไทยสามารถยกระดับความสามารถด้านการวัดในภาคอุตสาหกรรม
 ตลอดจน
                                    
การวัดในวงการแพทย์ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์การใช้มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือของรัฐ
ในกิจการต่างประเทศ
 จะทำให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
 ตลอดจน
                           
ผู้ประกอบการไทยสามารถไปดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องมือวัดในต่างประเทศได้สะดวกขึ้น




10
แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)




         ผลลัพธ์
 ผลการวัด
 การวิเคราะห์
 และการทดสอบของประเทศไทยได้รับการยอมรับจาก
นานาชาติ
 เนื่ อ งจากห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ เ คราะห์
 ทดสอบ
 และสอบเที ย บของไทยได้ รั บ การรั บ รอง
            
ความสามารถตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น
 ภาคอุตสาหกรรมมีการพัฒนาระบบการวัด
 การควบคุม
คุณภาพ
 และได้รับการรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น
 ทั้งนี้การวัดที่ถูกต้องทำให้
ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ
 ลดการสูญเสียวัตถุดิบและพลังงานในกระบวนการผลิต
 อันเป็นการลดต้นทุน
การผลิต
 อีกทั้งประเทศไทยสามารถลดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศจากการส่งเครื่องมือวัดไป
                            
สอบเทียบยังต่างประเทศ
 และการสั่งซื้อวัสดุอ้างอิงมาตรฐานจากต่างประเทศ
 รวมทั้งยังสามารถหา
                       
รายได้จากการจำหน่ายวัสดุอ้างอิงมาตรฐานที่ผลิตได้ในประเทศให้แก่ประเทศเพื่อนบ้าน
 ยุทธศาสตร์
การสร้างความตระหนักจะพัฒนาให้ผู้ใช้บริการมาตรวิทยาเห็นความสำคัญและประโยชน์ของระบบ
มาตรวิทยา
         ผลกระทบ
 ประกอบด้วยผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจ
 กล่าวคือ
 การดำเนินงานตามแผนทำให้
ภาคอุตสาหกรรมสามารถเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศ
 โดยการขจัดการ
กีดกันทางการค้าด้วยมาตรการด้านเทคนิค
 (Techical
 Barrier
 to
 Trade
 :
 TBT)
 ที่อาศัยความ
                      
ได้เปรียบทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาเป็นข้อกำหนดคุณภาพของสินค้า
 อันมีผลทำให้เศรษฐกิจ
ของประเทศเจริ ญ ก้ า วหน้ า อย่ า งยั่ ง ยื น
 เกิ ด การลงทุ น ในธุ ร กิ จ ส่ ง ออกเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น การขยายฐาน
เศรษฐกิจของชาติ
 ผลกระทบต่อสังคมประชาชนจะได้รับความรู้ความเข้าใจ
 เกิดความตระหนักถึง
ประโยชน์และเห็นความสำคัญของมาตรวิทยาในวิถการงานและชีวตประจำวันมากขึน
 ระบบมาตรวิทยา
                                                        ี                ิ                     ้
ของชาติ ที่ เ ข้ ม แข็ ง จะมี บ ทบาทสำคั ญ ในการคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค
 ทำให้ สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภคและ
    
การบริการมีมาตรฐานที่ดี
 นอกจากนี้การมีระบบมาตรวิทยาของชาติที่สมบูรณ์ทำให้เกิดความต้องการ
บุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถทางวิชาชีพด้านมาตรวิทยาระดับต่างๆ
เพิ่มขึ้น
 อันเป็นการสร้างงาน
สร้ า งอาชี พ ให้ กั บ ประชาชนในสั ง คม
 และผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม
 เกิ ด การสนั บ สนุ น และเห็ น
ความสำคัญของการวัด
การวิเคราะห์
และทดสอบ
ในกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคของประชาชน
และ
การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม
 สั ง คมเห็ น ความสำคั ญ ของการควบคุ ม
 และตรวจสอบการปล่ อ ยมลพิ ษ
ของภาคอุตสาหกรรมสู่สิ่งแวดล้อม
 โดยจะต้องอยู่ในปริมาณที่ไม่เป็นภัยต่อสิ่งแวดล้อม
 อันส่งผลให้
สังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

         
         
         
         
         
         




                                                                                                              11
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




12
แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)




            
            
                                    บทที่	1
            
            
                                                        บทนำ
            
            
            
ตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 พ.ศ.2540
 กำหนดให้สถาบันมาตรวิทยา
แห่งชาติเป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศให้เป็นที่ยอมรับของ
นานาชาติ
 ซึงครอบคลุมถึงการพัฒนาหน่วยวัดแห่งชาติทเป็นมาตรฐานด้านการวัดระดับปฐมภูม
ิ ซึงเป็น
                 ่                                                    ี่                                         ่
ที่อ้างอิงให้กับกิจกรรมการวัดต่างๆ
 ในประเทศ
 การส่งเสริมให้ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
 ทดสอบ
 และ
สอบเทียบระดับทุติยภูมิมีความสามารถตามมาตรฐานสากล
 และส่งเสริมสนับสนุนให้กิจกรรมการวัด
ต่างๆ
 ในประเทศมีผลการวัดเป็นที่ยอมรับของนานาชาติ
 เนื่องจากกิจกรรมการวัดโดยเฉพาะใน
                                     
ภาคอุตสาหกรรมมีอยู่ในกระบวนการผลิต
 และกระบวนการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์
 ดังนั้น
เพื่ อ เป็ น การสร้ า งหลั ก ประกั น คุ ณ ภาพให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องภาคอุ ต สาหกรรมไทย
 การวั ด ต่ า งๆ
             
ของภาคอุตสาหกรรมจะต้องดำเนินการด้วยเครื่องมือวัดที่ได้รับการสอบเทียบจากห้องปฏิบัติการสอบ
เทียบระดับทุติยภูมิที่มีความสามารถตามมาตรฐานสากล
 กล่าวคือ
 ผลการวัดจะต้องสามารถสอบกลับ
ได้สู่หน่วยวัดแห่งชาติ
 เป็นห่วงโซ่การอ้างอิงกลับได้ของผลการวัดจากกิจกรรมการวัดต่างๆ
สู่หน่วยวัด
ของชาติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
 ทำให้ ผ ลการวั ด มี ค วามถู ก ต้ อ งแม่ น ยำตามมาตรฐานการวั ด สากลมี ผ ลให้
ผลิตภัณฑ์ของภาคอุตสาหกรรมไทยมีคุณภาพตรงตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
 อีกทั้งยังเป็นการลด
จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ไม่ผ่านมาตรฐาน
ตลอดจนสามารถควบคุมปริมาณวัตถุดิบ
และพลังงานที่ใช้ในการ
ผลิตทำให้การใช้วัตถุดิบและพลังงานในกระบวนการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด
เมื่อภาคอุตสาหกรรมสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงด้วยต้นทุนการผลิตต่ำภาคอุตสาหกรรม
                                    
ย่อมสามารถแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก
 เป็นการเพิ่มการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมของประเทศไทย
อันเป็นการช่วยลดการขาดดุลการค้าของประเทศ
ซึ่งจะส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นอย่างยั่งยืน
            
นอกเหนือจากที่กล่าวมาระบบมาตรวิทยาที่เข้มแข็งจะเป็นหลักประกันความถูกต้องของ
                                
การวัด
การวิเคราะห์
และการทดสอบ
ในกิจกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เพื่อให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดี
ไม่มี
มลพิษ
 และกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
 ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพ
 และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวอย่างเช่น
 การตรวจสอบปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 การ
ตรวจวัดปริมาณแคดเมียมในข้าวในกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
 การกำหนดค่ามาตรฐานความ
ปลอดภัยของสินค้าอุปโภคบริโภคในการคุ้มครองผู้บริโภค
 การวัดการวิเคราะห์และการทดสอบเพื่อหา
ปริมาณสารต่างๆ
 ในกระแสเลือดที่ถูกต้องแม่นยำจะทำให้การวินิจฉัย
 และรักษาโรคมีประสิทธิภาพ
ตามมาตรฐานสากล

ตัวอย่างของการพัฒนาระบบมาตรวิทยาให้สมบูรณ์แล้วช่วยยกระดับการคุ้มครอง
                                    
ผู้บริโภค
 ได้แก่
 ประเทศสหรัฐอเมริกา
 กล่าวคือ
 ในการตรวจวัดปริมาณ
 Cholesterol
 ในเลือด
                               
เพื่ อ การวิ นิ จ ฉั ย และรั ก ษาโรคหั ว ใจ
 พบว่ า จากการสร้ า งระบบเครื อ ข่ า ยการทดสอบความชำนาญ
                     
ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารฯ
 ทั่ ว สหรั ฐ อเมริ ก า
 ทำให้ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารฯ
 ด้ า นการแพทย์ ทั่ ว สหรั ฐ อเมริ ก ามี ก าร
พั ฒ นาการวั ด
 Cholesterol
 ในเลื อ ดดี ขึ้ น ตามลำดั บ
 กล่ า วคื อ
 ปี
 1969
 ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารฯ
 มี ผ ล
          
การวัดแตกต่างกันร้อยละ
 18.5
 ลดลงเหลือร้อยละ
 6.4
 ในปี
 1983
 ช่วงต้นของทศวรรษ
 1990
                                  


                                                                                                                     13
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




ความแตกต่างกันของผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการฯ
ลดลงเป็นร้อยละ
5.5-7.2
ทำให้สหรัฐอเมริกา
มีการวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจที่มีประสิทธิภาพสูง
 ตัวอย่างดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของ
ระบบมาตรวิทยาในการคุ้มครองผู้บริโภค
          
นอกเหนือจากการที่ระบบมาตรวิทยาของประเทศที่เข้มแข็งจะมีบทบาทในการเพิ่มศักยภาพ
การแข่งขันทางการค้าของภาคอุตสาหกรรมไทยในตลาดโลก
การอนุรักษ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม
และการ
คุ้มครองผู้บริโภค
 ซึ่งทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
 การพัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
ของประเทศไทยให้เข้มแข็งสามารถวัดค่าปริมาณสารได้ด้วยความถูกต้องแม่นยำ
 ทำให้สามารถผลิต
สารอ้างอิงมาตรฐานระดับต่างๆ
 ได้เอง
 ทำให้ภาคอุตสาหกรรมไม่จำเป็นต้องส่งตัวอย่างไปทำการ
             
ตรวจวัดวิเคราะห์
 และทดสอบโดยห้องปฏิบัติการฯ
 ในต่างประเทศ
 ไม่ต้องสั่งซื้อวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน
จากต่างประเทศ
 ส่งผลให้ประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น
 เป็นการประกาศอิสรภาพทางการ
              
วัดของประเทศไทย
 อีกทั้งเป็นการประหยัดเงินตราต่างประเทศที่ภาคอุตสาหกรรมและห้องปฏิบัติการ
สอบเทียบระดับทุติยภูมิใช้ในการส่งเครื่องมือวัดไปสอบเทียบต่างประเทศ
 สั่งซื้อสารอ้างอิงมาตรฐาน
จากต่ า งประเทศ
 รวมทั้ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยในการสมั ค รเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมโปรแกรมทดสอบความชำนาญ
(Proficiency
 Testing
 Program)
 กับหน่วยงานต่างประเทศ
 ถ้าไม่สถาปนาพัฒนาหน่วยวัดของชาติ
ให้เพียงพอ
 กิจกรรมที่กล่าวมาทั้งหมดเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศเป็นจำนวน
มาก
 ในทางตรงกันข้ามการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศให้มีขีดความสามารถสูงขึ้น
 ประเทศ
ไทยยังสามารถหารายได้จากการจำหน่ายสารอ้างอิงมาตรฐานเหล่านี้แก่ประเทศอื่นๆ
 เป็นการประหยัด
ทั้งเงินตราต่างประเทศ
และเป็นการเพิ่มรายได้เข้าสู่ประเทศอีกทางหนึ่ง

          
ก ารพั ฒ นาระบบมาตรวิ ท ยาของชาติ ไ ด้ เ ริ่ ม ดำเนิ น การตามพระราชบั ญ ญั ติ พั ฒ นาระบบ
                                                                                                    
มาตรวิทยาแห่งชาติ
 พ.ศ.2540
 โดยมีทิศทางและกรอบการดำเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนา
                     
ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 1
 (พ.ศ.2542-2551)
 ที่ได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
 เมื่อวันที่
18
 พฤษภาคม
 2542
 ซึ่งกรอบของแผนมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่
 8
 (พ.ศ.2540-2544)
 และฉบับที่
 9
 (พ.ศ.2545-2549)
 มีผลสำเร็จของการดำเนินงานที่สำคัญ
ตามแผนแม่บทฯ
 คือ
 ได้จัดตั้งสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติและเริ่มดำเนินงานเมื่อวันที่
 1
 มิถุนายน
2541
สถาบันฯ
สามารถสถาปนาและพัฒนาหน่วยวัด
และให้บริการสอบเทียบได้จำนวน
424
รายการวัด
และสามารถผลิตวัสดุอ้างอิงมาตรฐานได้
 4
 ชนิด
 การสถาปนาหน่วยวัดด้านฟิสิกส์สามารถตอบสนอง
ความต้องการของผู้ใช้บริการด้านมาตรวิทยาในประเทศได้ร้อยละ
 83
 หน่วยวัดด้านเคมีและชีวภาพ
            
ได้พัฒนาแล้วในระดับหนึ่ง
 โดยความต้องการด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศยังมีอีกเป็น
ส่วนมากที่ยังไม่ได้ดำเนินการ
 ดังนั้นจึงควรเร่งดำเนินการสถาปนาและพัฒนาหน่วยวัดด้านเคมีและ
ชีวภาพ
 เร่งพัฒนาวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน
 ตลอดจนเร่งจัดทำโปรแกรมการทดสอบความชำนาญให้
เพียงพอ
 ในการประกาศความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของชาติ
 (Calibration
 and
Measurement
 Capabilities
 :
 CMC)
 เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากนานาชาตินั้น
 สถาบันฯ
 ได้ดำเนิน
การให้ความสามารถด้านการวัดดังกล่าวได้รับการเผยแพร่ในเว็บไซต์ขององค์การชั่งตวงวัดระหว่าง
ประเทศ
(Bureau
International
des
Poids
et
Mesures
:
BIPM)
(http://kcdb.bipm.org/Appendix
C)
ทั้งหมด
4
สาขาการวัด
(จำนวน
347
รายการวัด)
คือ
สาขาไฟฟ้า,
สาขามวล,
สาขาความดัน
และ
สาขาอุณหภูมิ
 นอกจากนี้
 สถาบันฯ
 ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการฯ
 ตามมาตรฐาน
             
ISO/IEC
17025
จากองค์กรรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ
Deutscher
Kalibrierdienst
:
DKD


14
แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)




ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
 และจาก
 International
 Accreditation
 Japan
 :
 IA
 Japan
ประเทศญี่ปุ่น
จำนวน
94
รายการวัด
รวมทั้งได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน
ISO
9001:2000
 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
 (Management
 System
 Certification
 Institute
(Thailand)
 :
 MASCI)
 ตั้งแต่
 พ.ศ.2547
 จนถึงปัจจุบัน
 จากการสำรวจสภาวะแวดล้อมพบว่าการให้
บริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของห้องปฏิบัติการฯ
ระดับทุติยภูมิ
มีจำนวนประมาณ
4
แสนชิ้น
คิดเป็น
ร้อยละ
 5
 ของจำนวนเครื่องมือวัดทั้งหมดในประเทศ
 ห้องปฏิบัติการฯ
 ระดับทุติยภูมิประมาณร้อยละ
85
 ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล
 ทำให้ผู้ใช้บริการระบบมาตรวิทยาโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม
ในภูมิภาคต่างๆ
ของประเทศไม่สะดวกในการสอบเทียบเครื่องมือวัดฯ
การดำเนินงานตามแผนแม่บทฯ
ฉบับที่
 1
 ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมมีการวัดการวิเคราะห์
 และทดสอบที่ถูกต้อง
 อันส่งผล
ให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพได้มาตรฐาน
นอกจากนี้การวัดฯ
ที่ถูกต้องยังช่วยประหยัดวัตถุดิบและเชื้อเพลิง
ในกระบวนการผลิต
 อันเป็นการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมให้มีศักยภาพการแข่งขันในเวทีการค้าโลก
สูงขึ้น
 ซึ่งนับได้ว่าประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง
 แต่กลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยาที่ตระหนักถึงความ
สำคัญและเห็นประโยชน์ของระบบมาตรวิทยายังมีเป็นส่วนน้อย

            
เ พื่ อ ให้ ก ารพั ฒ นาระบบมาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ
 มี ค วามต่ อ เนื่ อ งทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลง
                                                                                                              
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
 รวมทั้งจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมายังมีบางเรื่องที่ยังต้องพัฒนา
                    
เพิ่ ม เติ ม
 คณะกรรมการมาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ จึ ง ได้ มี ม ติ ใ ห้ ส ถาบั น ฯ
 ดำเนิ น การจั ด ทำแผนแม่ บ ท
 
การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 2
 (พ.ศ.2552-2559)
 โดยกำหนดให้กรอบของแผน
                            
มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ นโยบายของรั ฐ บาล
 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารพั ฒ นาระบบมาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ
พ.ศ.2540
 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 ฉบับที่
 10
 (พ.ศ.2550-2554)
 แผนกลยุทธ์
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 (พ.ศ.2547-2556)
 และแผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
 (พ.ศ.2552-2554)
 และมีวัตถุประสงค์การจัดทำแผนแม่บทฯ
 ดังนี้
 1)
 เพื่อใช้เป็น
กรอบในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ
2)
เพื่อใช้เป็นแนวทาง
ในการกำหนดทิ ศ ทางและการดำเนิ น งานของสถาบั น มาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ
 และหน่ ว ยงานอื่ น ๆ
                    
ที่เกี่ยวข้อง
 และ
 3)
 เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนกลยุทธ์
 และแผนปฏิบัติราชการในการพัฒนา
ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศและความต้องการของผู้ใช้บริการ
ในประเทศ
อันจะนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
โดยประสานความร่วมมือในการดำเนินงาน
ร่วมกับเครือข่ายพันธมิตร
 ซึ่งแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 2
 (พ.ศ.2552-
2559)
จะประกอบด้วยแผนยุทธศาสตร์หลัก
4
แผน
ได้แก่
 1)
การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
และเครือข่ายพันธมิตรให้เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ
 สามารถให้บริการมาตรฐานด้านการวัดแห่งชาติ
ได้เพียงพอกับความต้องการในประเทศ
 และมุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยาเคมีและ
ชีวภาพของประเทศให้เข้มแข็ง
 2)
 การพัฒนาห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
 ทดสอบ
 และสอบเทียบใน
ประเทศ
 ให้มีคุณภาพและจำนวนที่เพียงพอสำหรับรองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
 สามารถ
คุ้มครองผู้บริโภคในประเทศและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 3)
 การพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยาให้มี
ความรู้
 ความเข้าใจ
 และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของระบบมาตรวิทยา
 และ
                          
4)
 การส่งเสริมให้มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือของรัฐในกิจการต่างประเทศ
 โดยการเสริมสร้างและ
ประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อพัฒนาให้ระบบมาตรวิทยาในภูมิภาคเข้มแข็ง
 อันจะ
                       
ส่งผลให้ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านมีความสัมพันธ์อันดี
 ผู้ประกอบการไทยสามารถขยาย


                                                                                                            15
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




ตลาดสู่ต่างประเทศ
 ซึ่งในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวได้มีการกำหนด
 เป้าหมาย
 ตัวชี้วัด
 และ
ระบบการติดตามและประเมินผล
เพื่อให้การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐาน
         
ด้านวิทยาศาสตร์ของชาติที่เป็นหลักประกันความถูกต้องของกิจกรรมการวัด
 การวิเคราะห์
 และ
             
การทดสอบต่ า งๆ
 ในประเทศ
 สามารถบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ก ำหนดไว้
 ซึ่ ง จะเป็ น การส่ ง เสริ ม
การพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของสังคมไทยให้สูงขึ้นอย่างยั่งยืนต่อไป
        
        
        
        




16
แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
ฉบับที่
2
(พ.ศ.2552-2559)




         

         
                              บทที่	2
         
         
                  การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม	
         
ในการดำเนินการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ	
         
         
ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
 เริ่มตั้งแต่การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ
สอบเทียบเครื่องมือวัดขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทยเมื่อ
 พ.ศ.2504
 โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์
ประยุกต์แห่งประเทศไทย
 ต่อมาในปี
 พ.ศ.2508
 กองทัพอากาศได้ดำเนินการสอบเทียบเครื่องมือวัด
ในกองทัพ
 โดยกองชั่งปรับเทียบมาตรฐานเครื่องวัด
 กรมสื่อสารทหารอากาศ
 และเมื่อ
 พ.ศ.2509
         
กรมวิทยาศาสตร์บริการ
 กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเริ่มให้การบริการสอบเทียบ
เครื่องมือวัดภายใต้โครงการมาตรวิทยาและการรับรองห้องปฏิบัติการฯ
 ในปี
 พ.ศ.2540
 ได้มีการ
ประกาศใช้พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ตามพระราชบัญญัติกำหนดให้จัดตั้ง
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
 เพื่อดำเนินการสถาปนา
 พัฒนา
 และดูแลรักษามาตรฐานการวัดของชาติ
โดยเริ่มดำเนินงานตั้งแต่
พ.ศ.2541
ถึงปัจจุบัน
         
การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติได้ดำเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยา
แห่งชาติ
 ฉบับที่
 1
 (พ.ศ.2542-2551)
 โดยมีผลการดำเนินงานและรายละเอียดสถานภาพปัจจุบันของ
ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติดังนี้
         
2.1		ผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ	ฉบับที่	1		
	 (พ.ศ.	2542-2551)		
          แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 ฉบับที่
 1
 (พ.ศ.2542–2551)
 ประกอบด้วย
แผนงานหลัก
5
แผนงาน
ได้แก่
1)
แผนงานพัฒนาด้านนโยบาย
2)
แผนงานพัฒนาสถาบันมาตรวิทยา
แห่งชาติ
 3)
 แผนงานพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการสอบเทียบ
 4)
 แผนงานพัฒนาสภาพแวดล้อม
      
เพื่อเอื้อต่อการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ
 และ
 5)
 แผนงานพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการ
 มีผลการ
ดำเนินงานตามแผนแม่บทฯ
ตามภาคผนวก
จ
ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้

          2.1.1		แผนงานพัฒนาด้านนโยบาย		
          
       สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติได้ดำเนินการตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยา
แห่งชาติ
 พ.ศ.2540
 โดยได้จัดทำประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 เรื่องการกำหนด
มาตรฐานแห่งชาติเกี่ยวกับการวัดปริมาณ
เครื่องมือ
อุปกรณ์
และวัสดุอ้างอิงที่ใช้ในการวัดปริมาณ
เพื่อ
ใช้เป็นที่อ้างอิงให้กับกิจกรรมการวัดต่างๆ
 ในประเทศ
 นอกจากนี้สถาบันได้เข้าร่วมชี้แจงและให้ข้อมูล
ในการกำหนดนโยบายของภาครัฐ
 รวมทังยังได้ดำเนินการวิจย
 “ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการพัฒนา
                                        ้               ั
ระบบมาตรวิทยา”
และทำการสำรวจ
“ดัชนีบงชีขดความสามารถด้านการวัดของห้องปฏิบตการสอบเทียบ
                                            ่ ้ ี                                  ั ิ
และความต้องการด้านการวัดของภาคอุตสาหกรรม”
 ผลการวิจัยและการสำรวจได้นำมาใช้เป็นข้อมูล
ส่วนหนึ่งของการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาระบบมาตรวิทยา
 และเป็น
แนวทางการตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาห้องปฏิบัติการสอบเทียบในระดับทุติยภูมิของภาคเอกชน


                                                                                                       17
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




         2.1.2 แผนงานพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
         
      สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติเริ่มดำเนินการตั้งแต่วันที่
 1
 มิถุนายน
 2541
 โดยปัจจุบัน
มีอาคารห้องปฏิบัติการฯ
 ที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล
 ณ
 เทคโนธานี
 รังสิต
 คลองห้า
 และสามารถ
ดำเนินการสถาปนาและพัฒนาหน่วยวัดแห่งชาติ
 และสามารถให้บริการสอบเทียบได้
 424
 รายการวัด
ได้แก่
 สาขามิติ
 จำนวน
160
รายการวัด,
สาขาไฟฟ้า
เวลาและความถี่
 จำนวน
93
รายการวัด,
สาขา
เชิงกล
จำนวน
107
รายการวัด,
สาขาอุณหภูมิ
 จำนวน
23
รายการวัด,
สาขาเสียงและการสั่นสะเทือน
จำนวน
13
รายการวัด,
สาขาแสง
จำนวน
3
รายการวัด
และสาขาเคมี
จำนวน
25
รายการวัด
สามารถ
ผลิตวัสดุและสารอ้างอิงรับรองได้
 4
 ชนิด
 ได้แก่
 วัสดุอ้างอิงความแข็งของโลหะ
 (Reference
 Block
Rockwell
 Scale
 HRC)
 และวัสดุอ้างอิงรับรองด้านเคมี
 (pH
 solution,
 Potassium
 Dichromate,
Potassium
 Iodine)
 ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของสถาบันฯ
 (Calibration
 and
Measurement
 Capabilities
 :
 CMC)
 ได้รับการยอมรับในระดับสากล
 โดยความสามารถด้านการวัด
ดังกล่าวได้รับการเผยแพร่ในเว็บไซต์ขององค์การชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ
(Bureau
 International
des
Poids
et
Mesures
:
BIPM)
(http://kcdb.bipm.org/Appendix
C)
รวมทั้งหมด
4
สาขาการวัด
(จำนวน
347
รายการวัด)
คือ
สาขาไฟฟ้า
จำนวน
313
รายการวัด,
สาขามวล
จำนวน
19
รายการวัด,
สาขาความดัน
 จำนวน
 11
 รายการวัด
 และสาขาอุณหภูมิ
 จำนวน
 4
 รายการวัด
 ห้องปฏิบัติการฯ
             
ของสถาบันฯ
 ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการฯ
 ตามมาตรฐาน
 ISO/IEC
 17025
 รวม
                
94
รายการวัด
แบ่งเป็นได้รับการรับรองจากองค์กรรับรองความสามารถ
Deutscher
Kalibrierdienst
:
DKD
 ประเทศสหพั น ธ์ ส าธารณรั ฐ เยอรมนี
 จำนวน
 46
 รายการวั ด
 และจาก
 International
Accreditation
Japan
:
IA
Japan
ประเทศญี่ปุ่น
จำนวน
48
รายการวัด
การบริการสอบเทียบและการ
อบรมของสถาบันฯ
 ได้รับการประเมินตามระบบบริหารงานคุณภาพ
 ISO
 9001:2000
 และได้รับการ
รับรองมาตรฐานจากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
(Management
System
Certification
Institute
(Thailand)
 :
 MASCI)
 ตั้งแต่ปี
 พ.ศ.2547
 จนถึงปัจจุบัน
 ตลอดจนสถาบันฯ
 ได้เข้าร่วมเปรียบเทียบ
     
ผลการวัดระดับนานาชาติ
 (Interlaboratory
 Comparison)
 กับองค์กรมาตรวิทยาระดับภูมิภาคและ
นานาชาติอย่างต่อเนื่อง
และมีผลการวัดอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
อันเป็นกลไกของระบบมาตรวิทยาสากล
เพื่อแสดงให้เห็นถึงการทัดเทียมกันของการวัดระหว่างประเทศ
         
         2.1.3		แผนงานพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการสอบเทียบ	
         
      ในระยะเริ่ ม แรกของแผนแม่ บ ทฯ
 ฉบั บ ที่
 1
 (พ.ศ.2542-2551)
 มี ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร
                                                                                                      
สอบเทียบเครื่องมือวัดจำนวน
 13
 แห่ง
 ปัจจุบันมีห้องปฏิบัติการสอบเทียบทั้งภาครัฐและเอกชนรวม
138
 แห่ง
 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติมีกิจกรรมส่งเสริมห้องปฏิบัติการฯ
 ให้เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง
        
และได้ผลักดันให้จัดตั้งสมาคมห้องปฏิบัติการสอบเทียบแห่งประเทศไทยขึ้น
 มีการจัดตั้งเครือข่าย
มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
 มีหน่วยงานจากภาคการศึกษาและภาครัฐต่างๆ
 จำนวน
 30
 หน่วยงาน
                  
เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่าย
 สถาบันฯ
 ได้เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายห้องปฏิบัติการฯ
 โดย
ได้ดำเนินการเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการสอบเทียบ
 และจัดโปรแกรมการทดสอบ
ความชำนาญของห้องปฏิบัติการวิเคราะห์และทดสอบ
 จัดอบรมสัมมนาเพื่อให้ความรู้แก่บุคลากร
                  
ของห้องปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง
 ดำเนินโครงการให้คำปรึกษาให้กับห้องปฏิบัติการฯ
 เพื่อให้มีขีด
ความสามารถขยายขอบข่ายการให้บริการได้
 นอกจากนี้สถาบันฯ
 ได้มีส่วนร่วมสนับสนุนระบบรับรอง


18
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Single-Cell Analysis
Single-Cell AnalysisSingle-Cell Analysis
Single-Cell AnalysisNIMT
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยNIMT
 
Mangalore Refinery and Petrochemicals Limited
Mangalore Refinery and Petrochemicals LimitedMangalore Refinery and Petrochemicals Limited
Mangalore Refinery and Petrochemicals Limitedvpramod
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]NIMT
 
40 SEO Questions
40 SEO Questions40 SEO Questions
40 SEO Questionspraveen sms
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีNIMT
 
Uthman
UthmanUthman
UthmanTqabel
 
Sahara group v/s SEBI
Sahara group v/s SEBISahara group v/s SEBI
Sahara group v/s SEBIvpramod
 
Value based investment
Value based investmentValue based investment
Value based investmentvpramod
 
Industrial disputes settlement machinery
Industrial disputes settlement machineryIndustrial disputes settlement machinery
Industrial disputes settlement machineryvpramod
 

Andere mochten auch (11)

Single-Cell Analysis
Single-Cell AnalysisSingle-Cell Analysis
Single-Cell Analysis
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
 
Gmail
GmailGmail
Gmail
 
Mangalore Refinery and Petrochemicals Limited
Mangalore Refinery and Petrochemicals LimitedMangalore Refinery and Petrochemicals Limited
Mangalore Refinery and Petrochemicals Limited
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
 
40 SEO Questions
40 SEO Questions40 SEO Questions
40 SEO Questions
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
 
Uthman
UthmanUthman
Uthman
 
Sahara group v/s SEBI
Sahara group v/s SEBISahara group v/s SEBI
Sahara group v/s SEBI
 
Value based investment
Value based investmentValue based investment
Value based investment
 
Industrial disputes settlement machinery
Industrial disputes settlement machineryIndustrial disputes settlement machinery
Industrial disputes settlement machinery
 

Ähnlich wie แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)

2009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report522009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report52Invest Ment
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)krupornpana55
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์kidsana pajjaika
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญkasetpcc
 
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisdnavaroj
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
แนวข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
แนวข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมแนวข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
แนวข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมkidsana pajjaika
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโล...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโล...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโล...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโล...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivityguestad02e0
 
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิChuchai Sornchumni
 
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...ssuserbaf627
 

Ähnlich wie แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559) (20)

2009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report522009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
 
Annual Report 2009
Annual Report 2009Annual Report 2009
Annual Report 2009
 
วิเคราะห์Swotเบื้องต้น
วิเคราะห์Swotเบื้องต้นวิเคราะห์Swotเบื้องต้น
วิเคราะห์Swotเบื้องต้น
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
 
Project ii v.2.0
Project ii v.2.0Project ii v.2.0
Project ii v.2.0
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญ
 
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
 
E risk ict_audit
E risk ict_auditE risk ict_audit
E risk ict_audit
 
Thai Research Databases
Thai Research DatabasesThai Research Databases
Thai Research Databases
 
NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561
 
รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
แนวข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
แนวข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมแนวข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
แนวข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโล...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโล...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโล...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโล...
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivity
 
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
 
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
 

Mehr von NIMT

Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)NIMT
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561NIMT
 
NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRMNIMT
 
Training Course NIMT
Training Course NIMTTraining Course NIMT
Training Course NIMTNIMT
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017NIMT
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityNIMT
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemNIMT
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque StandardsNIMT
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsNIMT
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...NIMT
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud ComputingNIMT
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศNIMT
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าNIMT
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยNIMT
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 NIMT
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 NIMT
 
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1NIMT
 
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3NIMT
 
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553NIMT
 

Mehr von NIMT (20)

Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
 
NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRM
 
Training Course NIMT
Training Course NIMTTraining Course NIMT
Training Course NIMT
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their Suitability
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
 
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
 
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
 
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
 

แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)

  • 1.
  • 2. แผนแม่บท การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) คณะกรรมการมาตรวิทยาแห่งชาติ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 3. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552-2559) ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี วันที่ 25 พฤศจิกายน 2552 ISBN: 978-616-12-0042-8 พิมพ์ครั้งที่ 1 (มกราคม 2553) ยอดพิมพ์ 1,240 เล่ม สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2550 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไม่อนุญาตให้คัดลอก ทำซ้ำ และดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือฉบับนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น Copyright © 2010 by National Institute of Metrology (Thailand) Ministry of Science and Technology 3 / 4 – 5 Moo 3, Klong 5, Klong Luang, Pathumthani 12120, Thailand Tel: +662577 5100 Fax: +662577 2859 http://www.nimt.or.th จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลขที่ 3 / 4 – 5 หมู่ 3 ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2577 5100 โทรสาร 0 2577 2859 http://www.nimt.or.th 2
  • 4. แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) สารบัญ หน้า คำนำ 7 บทสรุปผู้บริหาร 9 บทที่ 1 บทนำ 13 บทที่ 2 การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมในการดำเนินการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 17 2.1 ผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 17 (พ.ศ.2542-2551) 2.2 สถานภาพปัจจุบันของโครงสร้างระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 19 2.3 การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม 26 2.3.1 การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 26 2.3.2 การวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรคของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 29 บทที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์จากการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม 31 (Strategic Plan from SWOT Analysis) 3.1 SWOT Matrix 31 3.2 วิสัยทัศน์ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 33 3.3 เป้าประสงค์การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 33 3.4 ประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 33 บทที่ 4 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 35 แผนยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ 35 และเครือข่ายพันธมิตร แผนยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ 46 และสอบเทียบในประเทศ แผนยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยา 50 แผนยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมให้มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือของรัฐ 56 ในกิจการต่างประเทศ บทที่ 5 การเชื่อมโยงระหว่างแผนแม่บทฯ นโยบาย งบประมาณ และปัจจัยแห่งความสำเร็จฯ 65 5.1 การเชื่อมโยงระหว่างแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติกับนโยบาย 65 แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และแผนบริหารราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 5.2 ประมาณการงบประมาณเบื้องต้นตามแผนแม่บทฯ 67 5.3 การวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่มีผลต่อการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 70 5.4 กลไกการดำเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 73 3
  • 5. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน้า บทที่ 6 ารติดตามและประเมินผล ก 75 6.1 การประเมินโดยการประเมินตนเอง 75 6.2 การประเมินโดยหน่วยงานภายนอก 75 6.3 ดัชนีชี้วัดผลความสำเร็จ/ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน 76 6.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติ 80 ภาคผนวก ผนวก ก พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พ.ศ.2540 85 ผนวก ข ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่องการกำหนดมาตรฐาน 99 แห่งชาติ เกี่ยวกับหน่วยวัดปริมาณ เครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอ้างอิง ที่ใช้ในการจัดปริมาณ ผนวก ค ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติและความเป็นมาของสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ 107 ผนวก ง แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ (พ.ศ.2552-2559) 115 ผนวก จ ผลการดำเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 137 ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) ผนวก ฉ ผลการสำรวจจำนวนเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม 165 ผนวก ช ผลการสำรวจจำนวนการให้บริการสอบเทียบเครื่องมือวัด 169 และขีดความสามารถของห้องปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ ผนวก ซ การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมด้านนโยบายและกฎหมาย 173 ผนวก ฌ การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมด้านเศรษฐกิจและสังคม 181 ผนวก ญ ผลกระทบจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาให้เข้มแข็ง 185 ผนวก ฎ กระบวนการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 189 ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ผนวก ฏ หนังสืออนุมัติแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 193 ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) 4
  • 6. แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ประมาณการจำนวนเครื่องมือวัดของโรงงานอุตสาหกรรมทั่วประเทศ 23 และประมาณการจำนวนเครื่องมือวัดที่ได้รับการสอบเทียบของโรงงาน อุตสาหกรรมที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ (ISO 9001) ทั้งประเทศ พ.ศ.2550 จำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ตารางที่ 2 การวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength) ของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 26 ตารางที่ 3 การวิเคราะห์จุดอ่อน (Weakness) ของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 28 ตารางที่ 4 การวิเคราะห์โอกาส (Opportunity) ของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 29 ตารางที่ 5 การวิเคราะห์อุปสรรค (Threat) ของระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 30 ตารางที่ 6 ประมาณการความต้องการงบประมาณในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 68 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552-2559 จำแนกตามแผนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ตารางที่ 7 อัตรากำลังคนของสถาบันฯ ปี 2551 จำแนกตามวุฒิการศึกษา 70 ตารางที่ 8 ประมาณการความต้องการอัตรากำลังคนที่เพิ่มขึ้นของสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ 71 พ.ศ.2552-2559 ตารางที่ 9 ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พ.ศ.2552-2559 76 จำแนกตามแผนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ตารางที่ 10 แผนความต้องการงบประมาณของยุทธศาสตร์ด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ 132 ตารางที่ 11 ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พ.ศ.2552-2559 133 ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ที่ 1 ฯ ตารางที่ 12 ผลการสำรวจความต้องการสอบเทียบเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม 141 จำแนกตามสาขาการวัด ตารางที่ 13 สถิติการเข้ารับการอบรม ณ ต่างประเทศ พ.ศ.2547-2550 147 ตารางที่ 14 จำนวนโรงงานภาคอุตสาหกรรมของประเทศ พ.ศ.2549-2550 จำแนกตาม 167 ประเภทอุตสาหกรรม ตารางที่ 15 ประมาณการจำนวนเครื่องมือวัดของโรงงานอุตสาหกรรมทั่วประเทศ และประมาณ 168 การจำนวนเครื่องมือวัดที่ได้รับการสอบเทียบของโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับการ รับรองระบบบริหารงานคุณภาพ (ISO 9001) ทั้งประเทศ พ.ศ.2549-2550 จำแนกตาม ประเภทอุตสาหกรรม ตารางที่ 16 ประมาณการจำนวนการให้บริการสอบเทียบเครื่องมือวัดและขีดความสามารถ 171 ทางการวัดของห้องปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ จำแนกตามสาขาการวัด ตารางที่ 17 แสดงจำนวนห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิที่ได้รับ 171 การรับรองความสามารถ ISO/IEC 17025 จำแนกตามภาค 5
  • 7. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สารบัญแผนภาพ หน้า แผนภาพที่ 1 ประมาณการจำนวนการให้บริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของห้องปฏิบัติการ 22 สอบเทียบ พ.ศ.2550 จำแนกตามสาขาการวัด แผนภาพที่ 2 จำนวนห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบที่ได้รับการรับรอง 22 ความสามารถ ISO/IEC 17025 ทั้งประเทศ พ.ศ.2550 จำแนกตามภาค แผนภาพที่ 3 การกำหนดกลยุทธ์จาก SWOT Matrix 31 แผนภาพที่ 4 SWOT Matrix การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 32 แผนภาพที่ 5 สรุปแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 58 (พ.ศ.2552-2559) แผนภาพที่ 6 การเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการพัฒนา 59 ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติกับหน่วยงานร่วมดำเนินการ แผนภาพที่ 7 การเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 65 กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ แผนภาพที่ 8 การเชื่อมโยงระหว่างแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ 66 กับนโยบายภาครัฐ แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิบัติราชการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และแผนบริหารราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง แผนภาพที่ 9 สรุปผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติ 83 แผนภาพที่ 10 ประเภทของมาตรวิทยาจำแนกตามระดับความแม่นยำ 110 แผนภาพที่ 11 โครงสร้างระบบมาตรวิทยาของชาติเชื่อมโยงถึงการยอมรับจากนานาชาติ 112 6
  • 8. แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) คำนำ ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่จุดเปลี่ยนผ่านของสังคมองค์ความรู้ที่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จำเป็นต้องตั้งอยู่บนฐานของความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจโดยเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจ โลกอย่างลึกซึ้ง ขณะเดียวกันต้องดูแลให้คุณภาพชีวิตของคนไทยได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ทำให้ปัจจัยด้านองค์ความรู้และนวัตกรรมจำเป็นต้อง อาศัยพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้มแข็งกลายเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเพื่อสร้าง ความเจริญทางเศรษฐกิจและการยกระดับคุณภาพชีวิต และส่งผลให้การวัดและทดสอบมาตรฐานและ คุณภาพของสินค้าและบริการ รวมทั้งสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นสากลที่ได้รับความสำคัญ ส ถาบั น มาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานอิ ส ระภายใต้ ก ารกำกั บ ของกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่รับผิดชอบในการสร้างหลักประกันในด้านความเชื่อถือได้ของผลการวัด ให้ แ ก่ ภ าคการผลิ ต การคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค และการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม จึ ง ได้ จั ด ทำแผนแม่ บ ท การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ต่อเนื่องจากแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) เพื่อใช้เป็นกรอบในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติให้สอดคล้องและสนับสนุน กั บ ภาพรวมของการพั ฒ นาประเทศ ภายใต้ แ ผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) นโยบายของรัฐบาล และยุทธศาสตร์ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อ ให้ระบบมาตรวิทยาสามารถให้การสนับสนุนและพัฒนาข้อได้เปรียบทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีส่วนช่วยให้เกิดการผนึกกำลังในการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ประกอบด้วย แผนยุทธศาสตร์หลัก 4 ประการ ได้แก่ 1) การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติและเครือข่าย พันธมิตรให้เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ สามารถให้บริการมาตรฐานด้านการวัดแห่งชาติได้เพียงพอกับ ความต้องการในประเทศ และมุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศ ให้เข้มแข็ง 2) การพัฒนาห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบในประเทศ ให้มีคุณภาพ และจำนวนที่เพียงพอสำหรับรองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม สามารถคุ้มครองผู้บริโภคใน ประเทศและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3) การพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยาให้มีความรู้ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของระบบมาตรวิทยา และ 4) การส่งเสริมให้ มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือของรัฐในกิจการต่างประเทศ โดยการเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับ ประเทศเพื่อนบ้านอันจะส่งผลให้ผู้ประกอบการไทยสามารถขยายตลาดสู่ต่างประเทศ ซึ่งในแต่ละ ประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวได้มีการกำหนด เป้าหมาย ตัวชี้วัด และระบบติดตามและประเมินผลเพื่อ นำไปสู่การปรับตัวทางยุทธศาสตร์ได้อย่างทันกาล แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) นี้ ในภาพรวมเป็นการขยายการดำเนินงานต่อจากแผนแม่บทการพัฒนา ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) โดยเน้นการพัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ให้เข้มแข็งเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาประเทศให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในปัจจุบันที่ 7
  • 9. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพมีบทบาทเป็นอย่างมาก นอกจากนี้แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยา แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ยังเน้นให้ใช้ประโยชน์ของมาตรวิทยาในการเสริมสร้างความ สัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้านด้วย สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ใคร่ขอขอบคุณหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนในการ มีส่วนร่วมอย่างสำคัญ รวมทั้งความสนับสนุนที่ได้รับจากคณะกรรมการฯ และผู้บริหารและบุคลากร ของสถาบันเอง ที่ทำให้แผนแม่บทฯ สำเร็จเป็นรูปร่าง และเชื่อมั่นว่าแผนแม่บทฯ ฉบับนี้จะได้รับการ ขยายผลของการนำไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการช่วยให้ระบบ เศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยความร่วมมือร่วมใจของภาคีทุกภาคส่วน 8
  • 10. แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) บทสรุปผู้บริหาร ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ (National Metrology System) ประกอบด้วย สถาบันมาตรวิทยา แห่งชาติ ห้องปฏิบตการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุตยภูม และผูใช้บริการด้านมาตรวิทยา ั ิ ิ ิ ้ ในประเทศ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติเป็นห้องปฏิบัติการฯ ระดับปฐมภูมิ ทำหน้าที่พัฒนา จัดหา ดู แ ลรั ก ษามาตรฐานด้ า นการวั ด แห่ ง ชาติ อั น ได้ แ ก่ หน่ ว ยวั ด และวั ส ดุ อ้ า งอิ ง ด้ า นการวั ด ของชาติ ห้องปฎิบัติการวิเคราะห์ฯ ระดับทุติยภูมิ ทำหน้าที่ถ่ายทอดความถูกต้องจากมาตรฐานด้านการวัด แห่งชาติสู่ผู้ใช้บริการด้านมาตรวิทยา อันได้แก่ ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ เป็นต้น ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติจะเป็นหลักประกันความถูกต้องของการวัด การวิเคราะห์ และการทดสอบ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพได้มาตรฐานตรงตามข้อกำหนดของประเทศคู่ค้า รวมทั้งเป็นหลักประกัน ในการคุ้มครองผู้บริโภคและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้สังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดี สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติได้ดำเนินงานพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติตามแผนแม่บท การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) โดยมีผลการดำเนินงานเป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด จากการสำรวจและวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมพบว่าหน่วยวัดแห่งชาติด้านฟิสิกส์ สามารถพัฒนาได้ประมาณร้อยละ 85 ตามความต้องการของประเทศแล้ว ส่วนมาตรวิทยาด้านเคมีและ ชีวภาพต้องการการพัฒนาอีกมาก เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการในประเทศ สำหรับ ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิจำนวนประมาณร้อยละ 60 ได้รับ การรับรองมาตรฐานตามสากลแล้ว แต่สัดส่วนการกระจายไปสู่ภูมิภาคยังน้อย กล่าวคือ ร้อยละ 85 ของห้องปฏิบัติการฯ ระดับทุติยภูมิ ตั้งอยู่ในภาคกลาง ในส่วนผู้ใช้บริการระบบมาตรวิทยา อันได้แก่ ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ยังมองข้ามความสำคัญและไม่เห็นประโยชน์ของระบบมาตรวิทยา มีผลให้ ความสามารถการแข่งขันในเวทีการค้าโลกของผลิตภัณฑ์จากภาคอุตสาหกรรมไทยไม่สูงเท่าที่ควร เนื่องจากผลิตภัณฑ์มีคุณภาพไม่ตรงตามความต้องการของคู่ค้า อีกทั้งต้นทุนการผลิตสูงเกินกว่า ที่ ค วรจะเป็ น อั น มี ส าเหตุ ม าจากการวั ด ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ พ ลั ง งานและการควบคุ ม คุ ณ ภาพ ในกระบวนการการผลิตไม่ถูกต้อง เพื่อให้การดำเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติมีความต่อเนื่อง มีทิศทางในการ ดำเนิ น งานที่ ชั ด เจน สถาบั น มาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ จึ ง ดำเนิ น การจั ด ทำแผนแม่ บ ทการพั ฒ นาระบบ มาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ขึ้น โดยแผนแม่บทฯ จะมีความสอดคล้องกับ นโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ชาติ พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พ.ศ.2540 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ.2547-2556) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ.2551-2554) แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ.2552-2554) และ แผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยประสานความร่วมมือในการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมเป็น 9
  • 11. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายพันธมิตร เพื่อให้ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ สามารถเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหลักประกัน ให้กับการพัฒนาเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของสังคมไทยได้อย่างยั่งยืน จากผลการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมประกอบกับแนวนโยบายของรัฐและแผนยุทธศาสตร์ชาติ ต่างๆ นำมาพัฒนาแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ซึ่ง ประกอบด้วยแผนยุทธศาสตร์ 4 แผน โดยมีสาระสรุปได้ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่หนึ่ง การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติและเครือข่ายพันธมิตร ประกอบด้วย กลยุทธ์การสถาปนาและพัฒนาหน่วยวัดแห่งชาติให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความ ต้องการของประเทศ กลยุทธ์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศ ให้เข้มแข็ง กลยุทธ์การพัฒนาและดำรงระบบคุณภาพของสถาบันฯ กลยุทธ์การพัฒนาการให้บริการ สอบเทียบและการให้คำปรึกษา กลยุทธ์การพัฒนาขีดความสามารถด้านงานวิจัยและพัฒนา กลยุทธ์ การพัฒนาบุคลากรของสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กลยุทธ์การบูรณาการด้านมาตรวิทยากับต่างประเทศ รวมทั้งกลยุทธ์การพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย ยุทธศาสตร์ที่สอง การพัฒนาห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบในประเทศ ประกอบด้วยกลยุทธ์การเสริมสร้างความเข้มแข็งห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบ พร้อมทั้งกลยุทธ์การส่งเสริมให้มีห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบในภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่สาม การพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยา ประกอบด้วย กลยุทธ์การสร้าง ความตระหนักและพัฒนาการศึกษาด้านมาตรวิทยา กลยุทธ์การยกระดับความสามารถด้านการวัด ในภาคอุตสาหกรรม และกลยุทธ์การส่งเสริมสนับสนุนการวัดทางการแพทย์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน สากล ยุ ท ธศาสตร์ ที่ สี่ การส่ ง เสริ ม ให้ ม าตรวิ ท ยาเป็ น เครื่ อ งมื อ ของรั ฐ ในกิ จ การต่ า งประเทศ ประกอบด้วย กลยุทธ์การใช้มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ เพื่อนบ้าน และกลยุทธ์การส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการขยายตลาดสู่ต่างประเทศ ผลที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ เมื่ อ จบแผนแม่ บ ทการพั ฒ นาระบบมาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ประกอบด้วยผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบดังนี้ ผลผลิต จะทำให้ประเทศไทยมีหน่วยวัดและวัสดุอ้างอิงมาตรฐานของชาติเพียงพอรองรับ ความต้องการของผู้ใช้บริการในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน มีห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และ สอบเทียบ ที่มีมาตรฐานสากลกระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ อันจะส่งผลให้มีการสอบเทียบ เครื่องมือวัดเพิ่มขึ้น ผลการวัด การวิเคราะห์ และทดสอบของผู้ประกอบการในภาคต่างๆ ของประเทศ มีความถูกต้องตามมาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์การสร้างความตระหนักจะทำให้ผู้ใช้บริการมาตรวิทยา เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องระบบมาตรวิทยา มีการฝึกอบรมการเรียนการสอนด้านมาตรวิทยา เพื่อ พัฒนาบุคลากรที่อยู่ในระบบงานปัจจุบัน และเตรียมบุคลากรป้อนเข้าสู่ระบบงานในอนาคต ซึ่งจะ เป็นผลทำให้ประเทศไทยสามารถยกระดับความสามารถด้านการวัดในภาคอุตสาหกรรม ตลอดจน การวัดในวงการแพทย์ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์การใช้มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือของรัฐ ในกิจการต่างประเทศ จะทำให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ตลอดจน ผู้ประกอบการไทยสามารถไปดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องมือวัดในต่างประเทศได้สะดวกขึ้น 10
  • 12. แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ผลลัพธ์ ผลการวัด การวิเคราะห์ และการทดสอบของประเทศไทยได้รับการยอมรับจาก นานาชาติ เนื่ อ งจากห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ เ คราะห์ ทดสอบ และสอบเที ย บของไทยได้ รั บ การรั บ รอง ความสามารถตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น ภาคอุตสาหกรรมมีการพัฒนาระบบการวัด การควบคุม คุณภาพ และได้รับการรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น ทั้งนี้การวัดที่ถูกต้องทำให้ ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ ลดการสูญเสียวัตถุดิบและพลังงานในกระบวนการผลิต อันเป็นการลดต้นทุน การผลิต อีกทั้งประเทศไทยสามารถลดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศจากการส่งเครื่องมือวัดไป สอบเทียบยังต่างประเทศ และการสั่งซื้อวัสดุอ้างอิงมาตรฐานจากต่างประเทศ รวมทั้งยังสามารถหา รายได้จากการจำหน่ายวัสดุอ้างอิงมาตรฐานที่ผลิตได้ในประเทศให้แก่ประเทศเพื่อนบ้าน ยุทธศาสตร์ การสร้างความตระหนักจะพัฒนาให้ผู้ใช้บริการมาตรวิทยาเห็นความสำคัญและประโยชน์ของระบบ มาตรวิทยา ผลกระทบ ประกอบด้วยผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจ กล่าวคือ การดำเนินงานตามแผนทำให้ ภาคอุตสาหกรรมสามารถเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศ โดยการขจัดการ กีดกันทางการค้าด้วยมาตรการด้านเทคนิค (Techical Barrier to Trade : TBT) ที่อาศัยความ ได้เปรียบทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาเป็นข้อกำหนดคุณภาพของสินค้า อันมีผลทำให้เศรษฐกิจ ของประเทศเจริ ญ ก้ า วหน้ า อย่ า งยั่ ง ยื น เกิ ด การลงทุ น ในธุ ร กิ จ ส่ ง ออกเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น การขยายฐาน เศรษฐกิจของชาติ ผลกระทบต่อสังคมประชาชนจะได้รับความรู้ความเข้าใจ เกิดความตระหนักถึง ประโยชน์และเห็นความสำคัญของมาตรวิทยาในวิถการงานและชีวตประจำวันมากขึน ระบบมาตรวิทยา ี ิ ้ ของชาติ ที่ เ ข้ ม แข็ ง จะมี บ ทบาทสำคั ญ ในการคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค ทำให้ สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภคและ การบริการมีมาตรฐานที่ดี นอกจากนี้การมีระบบมาตรวิทยาของชาติที่สมบูรณ์ทำให้เกิดความต้องการ บุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถทางวิชาชีพด้านมาตรวิทยาระดับต่างๆ เพิ่มขึ้น อันเป็นการสร้างงาน สร้ า งอาชี พ ให้ กั บ ประชาชนในสั ง คม และผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม เกิ ด การสนั บ สนุ น และเห็ น ความสำคัญของการวัด การวิเคราะห์ และทดสอบ ในกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคของประชาชน และ การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คมเห็ น ความสำคั ญ ของการควบคุ ม และตรวจสอบการปล่ อ ยมลพิ ษ ของภาคอุตสาหกรรมสู่สิ่งแวดล้อม โดยจะต้องอยู่ในปริมาณที่ไม่เป็นภัยต่อสิ่งแวดล้อม อันส่งผลให้ สังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน 11
  • 14. แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) บทที่ 1 บทนำ ตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พ.ศ.2540 กำหนดให้สถาบันมาตรวิทยา แห่งชาติเป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศให้เป็นที่ยอมรับของ นานาชาติ ซึงครอบคลุมถึงการพัฒนาหน่วยวัดแห่งชาติทเป็นมาตรฐานด้านการวัดระดับปฐมภูม ิ ซึงเป็น ่ ี่ ่ ที่อ้างอิงให้กับกิจกรรมการวัดต่างๆ ในประเทศ การส่งเสริมให้ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และ สอบเทียบระดับทุติยภูมิมีความสามารถตามมาตรฐานสากล และส่งเสริมสนับสนุนให้กิจกรรมการวัด ต่างๆ ในประเทศมีผลการวัดเป็นที่ยอมรับของนานาชาติ เนื่องจากกิจกรรมการวัดโดยเฉพาะใน ภาคอุตสาหกรรมมีอยู่ในกระบวนการผลิต และกระบวนการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ ดังนั้น เพื่ อ เป็ น การสร้ า งหลั ก ประกั น คุ ณ ภาพให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องภาคอุ ต สาหกรรมไทย การวั ด ต่ า งๆ ของภาคอุตสาหกรรมจะต้องดำเนินการด้วยเครื่องมือวัดที่ได้รับการสอบเทียบจากห้องปฏิบัติการสอบ เทียบระดับทุติยภูมิที่มีความสามารถตามมาตรฐานสากล กล่าวคือ ผลการวัดจะต้องสามารถสอบกลับ ได้สู่หน่วยวัดแห่งชาติ เป็นห่วงโซ่การอ้างอิงกลับได้ของผลการวัดจากกิจกรรมการวัดต่างๆ สู่หน่วยวัด ของชาติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทำให้ ผ ลการวั ด มี ค วามถู ก ต้ อ งแม่ น ยำตามมาตรฐานการวั ด สากลมี ผ ลให้ ผลิตภัณฑ์ของภาคอุตสาหกรรมไทยมีคุณภาพตรงตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด อีกทั้งยังเป็นการลด จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ไม่ผ่านมาตรฐาน ตลอดจนสามารถควบคุมปริมาณวัตถุดิบ และพลังงานที่ใช้ในการ ผลิตทำให้การใช้วัตถุดิบและพลังงานในกระบวนการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด เมื่อภาคอุตสาหกรรมสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงด้วยต้นทุนการผลิตต่ำภาคอุตสาหกรรม ย่อมสามารถแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก เป็นการเพิ่มการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมของประเทศไทย อันเป็นการช่วยลดการขาดดุลการค้าของประเทศ ซึ่งจะส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นอย่างยั่งยืน นอกเหนือจากที่กล่าวมาระบบมาตรวิทยาที่เข้มแข็งจะเป็นหลักประกันความถูกต้องของ การวัด การวิเคราะห์ และการทดสอบ ในกิจกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดี ไม่มี มลพิษ และกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตัวอย่างเช่น การตรวจสอบปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การ ตรวจวัดปริมาณแคดเมียมในข้าวในกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค การกำหนดค่ามาตรฐานความ ปลอดภัยของสินค้าอุปโภคบริโภคในการคุ้มครองผู้บริโภค การวัดการวิเคราะห์และการทดสอบเพื่อหา ปริมาณสารต่างๆ ในกระแสเลือดที่ถูกต้องแม่นยำจะทำให้การวินิจฉัย และรักษาโรคมีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานสากล ตัวอย่างของการพัฒนาระบบมาตรวิทยาให้สมบูรณ์แล้วช่วยยกระดับการคุ้มครอง ผู้บริโภค ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา กล่าวคือ ในการตรวจวัดปริมาณ Cholesterol ในเลือด เพื่ อ การวิ นิ จ ฉั ย และรั ก ษาโรคหั ว ใจ พบว่ า จากการสร้ า งระบบเครื อ ข่ า ยการทดสอบความชำนาญ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารฯ ทั่ ว สหรั ฐ อเมริ ก า ทำให้ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารฯ ด้ า นการแพทย์ ทั่ ว สหรั ฐ อเมริ ก ามี ก าร พั ฒ นาการวั ด Cholesterol ในเลื อ ดดี ขึ้ น ตามลำดั บ กล่ า วคื อ ปี 1969 ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารฯ มี ผ ล การวัดแตกต่างกันร้อยละ 18.5 ลดลงเหลือร้อยละ 6.4 ในปี 1983 ช่วงต้นของทศวรรษ 1990 13
  • 15. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความแตกต่างกันของผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการฯ ลดลงเป็นร้อยละ 5.5-7.2 ทำให้สหรัฐอเมริกา มีการวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจที่มีประสิทธิภาพสูง ตัวอย่างดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของ ระบบมาตรวิทยาในการคุ้มครองผู้บริโภค นอกเหนือจากการที่ระบบมาตรวิทยาของประเทศที่เข้มแข็งจะมีบทบาทในการเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันทางการค้าของภาคอุตสาหกรรมไทยในตลาดโลก การอนุรักษ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม และการ คุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การพัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ของประเทศไทยให้เข้มแข็งสามารถวัดค่าปริมาณสารได้ด้วยความถูกต้องแม่นยำ ทำให้สามารถผลิต สารอ้างอิงมาตรฐานระดับต่างๆ ได้เอง ทำให้ภาคอุตสาหกรรมไม่จำเป็นต้องส่งตัวอย่างไปทำการ ตรวจวัดวิเคราะห์ และทดสอบโดยห้องปฏิบัติการฯ ในต่างประเทศ ไม่ต้องสั่งซื้อวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน จากต่างประเทศ ส่งผลให้ประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น เป็นการประกาศอิสรภาพทางการ วัดของประเทศไทย อีกทั้งเป็นการประหยัดเงินตราต่างประเทศที่ภาคอุตสาหกรรมและห้องปฏิบัติการ สอบเทียบระดับทุติยภูมิใช้ในการส่งเครื่องมือวัดไปสอบเทียบต่างประเทศ สั่งซื้อสารอ้างอิงมาตรฐาน จากต่ า งประเทศ รวมทั้ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยในการสมั ค รเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมโปรแกรมทดสอบความชำนาญ (Proficiency Testing Program) กับหน่วยงานต่างประเทศ ถ้าไม่สถาปนาพัฒนาหน่วยวัดของชาติ ให้เพียงพอ กิจกรรมที่กล่าวมาทั้งหมดเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศเป็นจำนวน มาก ในทางตรงกันข้ามการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศให้มีขีดความสามารถสูงขึ้น ประเทศ ไทยยังสามารถหารายได้จากการจำหน่ายสารอ้างอิงมาตรฐานเหล่านี้แก่ประเทศอื่นๆ เป็นการประหยัด ทั้งเงินตราต่างประเทศ และเป็นการเพิ่มรายได้เข้าสู่ประเทศอีกทางหนึ่ง ก ารพั ฒ นาระบบมาตรวิ ท ยาของชาติ ไ ด้ เ ริ่ ม ดำเนิ น การตามพระราชบั ญ ญั ติ พั ฒ นาระบบ มาตรวิทยาแห่งชาติ พ.ศ.2540 โดยมีทิศทางและกรอบการดำเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนา ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) ที่ได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2542 ซึ่งกรอบของแผนมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) และฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) มีผลสำเร็จของการดำเนินงานที่สำคัญ ตามแผนแม่บทฯ คือ ได้จัดตั้งสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติและเริ่มดำเนินงานเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2541 สถาบันฯ สามารถสถาปนาและพัฒนาหน่วยวัด และให้บริการสอบเทียบได้จำนวน 424 รายการวัด และสามารถผลิตวัสดุอ้างอิงมาตรฐานได้ 4 ชนิด การสถาปนาหน่วยวัดด้านฟิสิกส์สามารถตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้บริการด้านมาตรวิทยาในประเทศได้ร้อยละ 83 หน่วยวัดด้านเคมีและชีวภาพ ได้พัฒนาแล้วในระดับหนึ่ง โดยความต้องการด้านมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศยังมีอีกเป็น ส่วนมากที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ดังนั้นจึงควรเร่งดำเนินการสถาปนาและพัฒนาหน่วยวัดด้านเคมีและ ชีวภาพ เร่งพัฒนาวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน ตลอดจนเร่งจัดทำโปรแกรมการทดสอบความชำนาญให้ เพียงพอ ในการประกาศความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของชาติ (Calibration and Measurement Capabilities : CMC) เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากนานาชาตินั้น สถาบันฯ ได้ดำเนิน การให้ความสามารถด้านการวัดดังกล่าวได้รับการเผยแพร่ในเว็บไซต์ขององค์การชั่งตวงวัดระหว่าง ประเทศ (Bureau International des Poids et Mesures : BIPM) (http://kcdb.bipm.org/Appendix C) ทั้งหมด 4 สาขาการวัด (จำนวน 347 รายการวัด) คือ สาขาไฟฟ้า, สาขามวล, สาขาความดัน และ สาขาอุณหภูมิ นอกจากนี้ สถาบันฯ ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการฯ ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 จากองค์กรรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ Deutscher Kalibrierdienst : DKD 14
  • 16. แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และจาก International Accreditation Japan : IA Japan ประเทศญี่ปุ่น จำนวน 94 รายการวัด รวมทั้งได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2000 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Management System Certification Institute (Thailand) : MASCI) ตั้งแต่ พ.ศ.2547 จนถึงปัจจุบัน จากการสำรวจสภาวะแวดล้อมพบว่าการให้ บริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของห้องปฏิบัติการฯ ระดับทุติยภูมิ มีจำนวนประมาณ 4 แสนชิ้น คิดเป็น ร้อยละ 5 ของจำนวนเครื่องมือวัดทั้งหมดในประเทศ ห้องปฏิบัติการฯ ระดับทุติยภูมิประมาณร้อยละ 85 ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ทำให้ผู้ใช้บริการระบบมาตรวิทยาโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไม่สะดวกในการสอบเทียบเครื่องมือวัดฯ การดำเนินงานตามแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 1 ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมมีการวัดการวิเคราะห์ และทดสอบที่ถูกต้อง อันส่งผล ให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพได้มาตรฐาน นอกจากนี้การวัดฯ ที่ถูกต้องยังช่วยประหยัดวัตถุดิบและเชื้อเพลิง ในกระบวนการผลิต อันเป็นการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมให้มีศักยภาพการแข่งขันในเวทีการค้าโลก สูงขึ้น ซึ่งนับได้ว่าประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง แต่กลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยาที่ตระหนักถึงความ สำคัญและเห็นประโยชน์ของระบบมาตรวิทยายังมีเป็นส่วนน้อย เ พื่ อ ให้ ก ารพั ฒ นาระบบมาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ มี ค วามต่ อ เนื่ อ งทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมายังมีบางเรื่องที่ยังต้องพัฒนา เพิ่ ม เติ ม คณะกรรมการมาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ จึ ง ได้ มี ม ติ ใ ห้ ส ถาบั น ฯ ดำเนิ น การจั ด ทำแผนแม่ บ ท การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) โดยกำหนดให้กรอบของแผน มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ นโยบายของรั ฐ บาล พระราชบั ญ ญั ติ ก ารพั ฒ นาระบบมาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ พ.ศ.2540 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) แผนกลยุทธ์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ.2547-2556) และแผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (พ.ศ.2552-2554) และมีวัตถุประสงค์การจัดทำแผนแม่บทฯ ดังนี้ 1) เพื่อใช้เป็น กรอบในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ 2) เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการกำหนดทิ ศ ทางและการดำเนิ น งานของสถาบั น มาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ และหน่ ว ยงานอื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และ 3) เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติราชการในการพัฒนา ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศและความต้องการของผู้ใช้บริการ ในประเทศ อันจะนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป โดยประสานความร่วมมือในการดำเนินงาน ร่วมกับเครือข่ายพันธมิตร ซึ่งแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552- 2559) จะประกอบด้วยแผนยุทธศาสตร์หลัก 4 แผน ได้แก่ 1) การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ และเครือข่ายพันธมิตรให้เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ สามารถให้บริการมาตรฐานด้านการวัดแห่งชาติ ได้เพียงพอกับความต้องการในประเทศ และมุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยาเคมีและ ชีวภาพของประเทศให้เข้มแข็ง 2) การพัฒนาห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบใน ประเทศ ให้มีคุณภาพและจำนวนที่เพียงพอสำหรับรองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม สามารถ คุ้มครองผู้บริโภคในประเทศและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3) การพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการมาตรวิทยาให้มี ความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของระบบมาตรวิทยา และ 4) การส่งเสริมให้มาตรวิทยาเป็นเครื่องมือของรัฐในกิจการต่างประเทศ โดยการเสริมสร้างและ ประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อพัฒนาให้ระบบมาตรวิทยาในภูมิภาคเข้มแข็ง อันจะ ส่งผลให้ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านมีความสัมพันธ์อันดี ผู้ประกอบการไทยสามารถขยาย 15
  • 17. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลาดสู่ต่างประเทศ ซึ่งในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวได้มีการกำหนด เป้าหมาย ตัวชี้วัด และ ระบบการติดตามและประเมินผล เพื่อให้การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์ของชาติที่เป็นหลักประกันความถูกต้องของกิจกรรมการวัด การวิเคราะห์ และ การทดสอบต่ า งๆ ในประเทศ สามารถบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ก ำหนดไว้ ซึ่ ง จะเป็ น การส่ ง เสริ ม การพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของสังคมไทยให้สูงขึ้นอย่างยั่งยืนต่อไป 16
  • 18. แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) บทที่ 2 การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม ในการดำเนินการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ สอบเทียบเครื่องมือวัดขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2504 โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ประยุกต์แห่งประเทศไทย ต่อมาในปี พ.ศ.2508 กองทัพอากาศได้ดำเนินการสอบเทียบเครื่องมือวัด ในกองทัพ โดยกองชั่งปรับเทียบมาตรฐานเครื่องวัด กรมสื่อสารทหารอากาศ และเมื่อ พ.ศ.2509 กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเริ่มให้การบริการสอบเทียบ เครื่องมือวัดภายใต้โครงการมาตรวิทยาและการรับรองห้องปฏิบัติการฯ ในปี พ.ศ.2540 ได้มีการ ประกาศใช้พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติกำหนดให้จัดตั้ง สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ เพื่อดำเนินการสถาปนา พัฒนา และดูแลรักษามาตรฐานการวัดของชาติ โดยเริ่มดำเนินงานตั้งแต่ พ.ศ.2541 ถึงปัจจุบัน การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติได้ดำเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยา แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) โดยมีผลการดำเนินงานและรายละเอียดสถานภาพปัจจุบันของ ระบบมาตรวิทยาแห่งชาติดังนี้ 2.1 ผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2542-2551) แผนแม่บทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542–2551) ประกอบด้วย แผนงานหลัก 5 แผนงาน ได้แก่ 1) แผนงานพัฒนาด้านนโยบาย 2) แผนงานพัฒนาสถาบันมาตรวิทยา แห่งชาติ 3) แผนงานพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการสอบเทียบ 4) แผนงานพัฒนาสภาพแวดล้อม เพื่อเอื้อต่อการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ และ 5) แผนงานพัฒนากลุ่มผู้ใช้บริการ มีผลการ ดำเนินงานตามแผนแม่บทฯ ตามภาคผนวก จ ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้ 2.1.1 แผนงานพัฒนาด้านนโยบาย สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติได้ดำเนินการตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยา แห่งชาติ พ.ศ.2540 โดยได้จัดทำประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่องการกำหนด มาตรฐานแห่งชาติเกี่ยวกับการวัดปริมาณ เครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอ้างอิงที่ใช้ในการวัดปริมาณ เพื่อ ใช้เป็นที่อ้างอิงให้กับกิจกรรมการวัดต่างๆ ในประเทศ นอกจากนี้สถาบันได้เข้าร่วมชี้แจงและให้ข้อมูล ในการกำหนดนโยบายของภาครัฐ รวมทังยังได้ดำเนินการวิจย “ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการพัฒนา ้ ั ระบบมาตรวิทยา” และทำการสำรวจ “ดัชนีบงชีขดความสามารถด้านการวัดของห้องปฏิบตการสอบเทียบ ่ ้ ี ั ิ และความต้องการด้านการวัดของภาคอุตสาหกรรม” ผลการวิจัยและการสำรวจได้นำมาใช้เป็นข้อมูล ส่วนหนึ่งของการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาระบบมาตรวิทยา และเป็น แนวทางการตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาห้องปฏิบัติการสอบเทียบในระดับทุติยภูมิของภาคเอกชน 17
  • 19. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.1.2 แผนงานพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติเริ่มดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2541 โดยปัจจุบัน มีอาคารห้องปฏิบัติการฯ ที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล ณ เทคโนธานี รังสิต คลองห้า และสามารถ ดำเนินการสถาปนาและพัฒนาหน่วยวัดแห่งชาติ และสามารถให้บริการสอบเทียบได้ 424 รายการวัด ได้แก่ สาขามิติ จำนวน 160 รายการวัด, สาขาไฟฟ้า เวลาและความถี่ จำนวน 93 รายการวัด, สาขา เชิงกล จำนวน 107 รายการวัด, สาขาอุณหภูมิ จำนวน 23 รายการวัด, สาขาเสียงและการสั่นสะเทือน จำนวน 13 รายการวัด, สาขาแสง จำนวน 3 รายการวัด และสาขาเคมี จำนวน 25 รายการวัด สามารถ ผลิตวัสดุและสารอ้างอิงรับรองได้ 4 ชนิด ได้แก่ วัสดุอ้างอิงความแข็งของโลหะ (Reference Block Rockwell Scale HRC) และวัสดุอ้างอิงรับรองด้านเคมี (pH solution, Potassium Dichromate, Potassium Iodine) ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของสถาบันฯ (Calibration and Measurement Capabilities : CMC) ได้รับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถด้านการวัด ดังกล่าวได้รับการเผยแพร่ในเว็บไซต์ขององค์การชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ (Bureau International des Poids et Mesures : BIPM) (http://kcdb.bipm.org/Appendix C) รวมทั้งหมด 4 สาขาการวัด (จำนวน 347 รายการวัด) คือ สาขาไฟฟ้า จำนวน 313 รายการวัด, สาขามวล จำนวน 19 รายการวัด, สาขาความดัน จำนวน 11 รายการวัด และสาขาอุณหภูมิ จำนวน 4 รายการวัด ห้องปฏิบัติการฯ ของสถาบันฯ ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการฯ ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 รวม 94 รายการวัด แบ่งเป็นได้รับการรับรองจากองค์กรรับรองความสามารถ Deutscher Kalibrierdienst : DKD ประเทศสหพั น ธ์ ส าธารณรั ฐ เยอรมนี จำนวน 46 รายการวั ด และจาก International Accreditation Japan : IA Japan ประเทศญี่ปุ่น จำนวน 48 รายการวัด การบริการสอบเทียบและการ อบรมของสถาบันฯ ได้รับการประเมินตามระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 และได้รับการ รับรองมาตรฐานจากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Management System Certification Institute (Thailand) : MASCI) ตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 จนถึงปัจจุบัน ตลอดจนสถาบันฯ ได้เข้าร่วมเปรียบเทียบ ผลการวัดระดับนานาชาติ (Interlaboratory Comparison) กับองค์กรมาตรวิทยาระดับภูมิภาคและ นานาชาติอย่างต่อเนื่อง และมีผลการวัดอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด อันเป็นกลไกของระบบมาตรวิทยาสากล เพื่อแสดงให้เห็นถึงการทัดเทียมกันของการวัดระหว่างประเทศ 2.1.3 แผนงานพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการสอบเทียบ ในระยะเริ่ ม แรกของแผนแม่ บ ทฯ ฉบั บ ที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) มี ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร สอบเทียบเครื่องมือวัดจำนวน 13 แห่ง ปัจจุบันมีห้องปฏิบัติการสอบเทียบทั้งภาครัฐและเอกชนรวม 138 แห่ง สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติมีกิจกรรมส่งเสริมห้องปฏิบัติการฯ ให้เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง และได้ผลักดันให้จัดตั้งสมาคมห้องปฏิบัติการสอบเทียบแห่งประเทศไทยขึ้น มีการจัดตั้งเครือข่าย มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ มีหน่วยงานจากภาคการศึกษาและภาครัฐต่างๆ จำนวน 30 หน่วยงาน เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่าย สถาบันฯ ได้เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายห้องปฏิบัติการฯ โดย ได้ดำเนินการเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการสอบเทียบ และจัดโปรแกรมการทดสอบ ความชำนาญของห้องปฏิบัติการวิเคราะห์และทดสอบ จัดอบรมสัมมนาเพื่อให้ความรู้แก่บุคลากร ของห้องปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง ดำเนินโครงการให้คำปรึกษาให้กับห้องปฏิบัติการฯ เพื่อให้มีขีด ความสามารถขยายขอบข่ายการให้บริการได้ นอกจากนี้สถาบันฯ ได้มีส่วนร่วมสนับสนุนระบบรับรอง 18