SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
อีร ิค   เอช.  อีร ิค
                   สัน   
03/10/12                           1
ประวัต ิข องอีร ิค   เอช.  อีร ิค
สัน  (Erik  H.  Erikson) 
 อีริคสัน  เกิดที่เมืองแฟรงค์เฟิร์ต  ประเทศ
  เยอรมนี  ในปี  ค.ศ. 1902
 ในวัยเด็กได้รับการสนับสนุนทางด้านการวาด
  ภาพต่อมาเขาได้ยึดอาชีพครูสอนศิลปะใน
  โรงเรียนประถมศึกษาในกรุงเวียนนา 
 เขาได้ศึกษาแนวคิดของฟรอยด์  และเขียน
  บทความเกี่ยวกับจิตวิเคราะห์ออกเผยแพร่ 
 อีริคสัน  ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฎีต่างๆ 
  ของพัฒนาการของมนุษย์และการปรับตัวใน
  สังคม  โดยใช้ชื่อว่า  Chilhood and society
03/10/12                                          2
อีร ิค สัน (Erikson)
 เป็นลูกศิษย์ของฟรอยด์
 ได้สร้างทฤษฎีขึ้นในแนวทางความคิดของฟ
  รอยด์
 ความสำาคัญทางด้านสังคม วัฒนธรรม และสิง  ่
  แวดล้อมด้านจิตใจ
 ความคิดของอีริคสันต่างกับฟรอยด์หลาย
  ประการ
  - เห็นความสำาคัญของ Ego มากกว่า Id
  - พัฒนาการของคนไม่ได้จบแค่วัยรุ่น แต่ต่อไป
  จนกระทั่งวาระสุดท้าย ของชีวิต คือ วัยชรา
03/10/12                                       3
ขั้น ที่ 1 ความไว้ว างใจ – ความ
              ไม่ไ ว้ว างใจ
        (Trust vs Mistrust)
เป็นรากฐานทีสำาคัญของพัฒนาการ
             ่
 ในวัยต่อไป
ความไว้วางใจเป็นรากฐานสำาคัญของ
 การพัฒนาบุคลิกภาพ



03/10/12                            4
ขั้น ที่ 2 ความเป็น ตัว ของตัว เอง
  อย่า งอิส ระ – ความสงสัย ไม่แ น่ใ จ
  ตัว เอง (Autonomous vs Shame
               and Doubt)
พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อแข็งแรง
 ขึ้น
ให้โอกาสเด็กพึ่งตนเอง มีอิสระใน
 การลองทำาสิ่งต่างๆ

03/10/12                                5
ขั้น ที่ 3 การเป็น ผู้ค ิด ริเ ริ่ม –
              การรู้ส ึก ผิด
       (Initiative vs Guilt)
เป็นวัยที่เด็กมีความคิดริเริ่มอยากจะ
 ทำาอะไรด้วยตนเอง
 การเล่นสำาคัญมากสำาหรับวัยนีเพราะ
                              ้
 เด็กจะได้ทดลองทำาสิงต่างๆ จะสนุก
                    ่
 จากการสมมติของต่างๆ เป็นของจริง


03/10/12                                  6
ขั้น ที่ 4 ความต้อ งการที่จ ะทำา
         กิจ กรรมอยู่เ สมอ –
 ความรู้ส ึก ด้อ ย (Industry vs
             Inferiority)
Industry
มีพัฒนาการด้านสติปญญาและทาง
                      ั
 ด้านร่างกาย อยู่ในขั้นทีมีความ
                         ่
 ต้องการทีจะอะไรอยู่เสมอ ไม่เคยว่าง
          ่



03/10/12                              7
ขั้น ที่ 5 ความเป็น เอกลัก ษณ์ –
ความสับ สนในบทบาท (Ego
Identity vs Role Confusion)
จะรู้สึกตนเองว่า มีความเจริญเติบโต
ร่างกายเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ว มี
              ่
 การเปลียนแปลงทางเพศทังหญิงและ
         ่                 ้
 ชาย
เด็กวัยรุ่นจะมีความรู้สกในเรื่องเพศ
                        ึ
 และบางคนเป็นกังวลต่อการ
03/10/12                               8
ขั้น ที่ 6 ความใกล้ช ิด ผูก พัน –
       ความอ้า งว้า งตัว คนเดีย ว
       (Intimacy vs Isolation)
รู้จักตนเองว่ามีจุดมุ่งหมายในชีวิต
 อย่างไร
 เป็นวัยทีพร้อมทีจะมีความสัมพันธ์กับ
           ่       ่
 เพื่อนต่างเพศในฐานะเพือนสนิทที่จะ
                           ่
 เสียสละให้กันและกัน

03/10/12                                9
ขั้น ที่ 7 การทำา ประโยชน์ใ ห้ก บ
                                 ั
  สัง คม– ความคิด ถึง แต่ต นเอง
(Generativity vs Stagnation)
วัยทีเป็นห่วงเพือนร่วมโลกโดยทัวไป
      ่          ่             ่
 หรือเป็นห่วงเยาวชนรุ่นหลัง
สร้างประโยชน์ให้กับสังคม




03/10/12                             10
ขั้น ที่ 8 บูร ณาภาพ– ความสิ้น
                    หวัง
    (Ego Integrity vs Despair)
วัยนีเป็นระยะบันปลายของชีวิต
      ้         ้
บุคลิกภาพของคนวัยนี้มกจะเป็นผล
                       ั
 รวมของวัย 7 วัยทีผ่านมา
                  ่




03/10/12                             11
แนวคิด ของอีร ิค สัน ที่ม ีอ ิท ธิพ ล
           ต่อ การศึก ษา
ระดับอนุบาล      - เป็นวัยที่กล้ามเนื้อต่างๆ
 กำาลังพัฒนา
                - เป็นวัยที่พร้อมจะเรียนรู้สง
                                            ิ่
 ต่างๆเร็วมาก
บทบาทครู        ควรเปิดโอกาสให้เด็กได้
 ทดลองทำาสิงต่างๆอย่าง
            ่
 อิสระคอยช่วยเหลือแนะนำาอยูห่างๆ
                              ่
 กระตุ้นให้เกิดความคิดริเริ่ม
03/10/12                                        12
แนวคิดของอีริคสันที่มอิทธิพลต่อ
                          ี
            การศึกษา(ต่อ)
ระดับประถม - เด็กต้องการเป็นทียอมรับ
                                ่
 ของครูและเพื่อน
            - ต้องการความสำาเร็จจาก
 การทำางานสูง

 บทบาทของครู         ควรสอนให้เด็กเกิด
 ความพึงพอใจกับการทำางานให้เสร็จ
 สมบูรณ์ โดยมีความตั้งใจและความขยัน
 ขันแข็ง ต้องระวังอย่าให้พัฒนาความรู้สก
                                      ึ
03/10/12                                13
แนวคิดของอีริคสันที่มอิทธิพลต่อ
                          ี
            การศึกษา(ต่อ)
 ระดับมัธยม - ช่วงวัยรุ่น    เป็นวัยที่กำาลัง
  แสวงหาเอกลักษณ์ของ
               ตนเอง
            - มีความเป็นตัวของตัวเอง / ไม่มี
  จุดยืนของตนเอง
 บทบาทของครู สิ่งที่จะต้องทำาคือ
  สัมพันธภาพระหว่างครู-นักเรียน
                ความเมตตา ความเข้าใจ
  และความสนใจในตัว
03/10/12
                เด็กอย่างจริงจัง     พยายาม  14
อ้างอิง
 เอกสารประกอบการสอน – จิตวิทยาการเรียนการสอนและ
  การแนะแนวสำาหรับครู
 http://jif-du-ke.blogspot.com/2009/02/erikson.html
 http://www.kroobannok.com/105
 http://cmruzone.blogspot.com/2011/01/erikson.html
 http://mail.ctc.ru.ac.th/a402/group5/project/theory/
2.html



 03/10/12                                           15
จัดทำาโดย

 นางสาวนาดียะ มูซอ           รหัส
  405404018
 นางสาวซารีนา กาเจ           รหัส
  405404036
 นางสาวซีตีพาตีเม๊าะ บาเหะ   รหัส
  405404050


03/10/12                             16

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
คนสวย ฉัน
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
Paew Tongpanya
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
Art Nan
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
teaw-sirinapa
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
Hataitip Suwanachote
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
supphawan
 

Was ist angesagt? (20)

3
33
3
 
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทยการปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาโครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
 
Is แผ่นพับ
Is แผ่นพับIs แผ่นพับ
Is แผ่นพับ
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 

Andere mochten auch (14)

Erik erikson contribution to counselling k3
Erik erikson contribution to counselling k3Erik erikson contribution to counselling k3
Erik erikson contribution to counselling k3
 
Erik Erikson
Erik EriksonErik Erikson
Erik Erikson
 
ทฤษฎีของอีเรคสัน
ทฤษฎีของอีเรคสันทฤษฎีของอีเรคสัน
ทฤษฎีของอีเรคสัน
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
 
Philosophical Theories
Philosophical TheoriesPhilosophical Theories
Philosophical Theories
 
Alfred Adler with example
Alfred Adler with exampleAlfred Adler with example
Alfred Adler with example
 
Erik Erikson's Psychosocial Crisis Theory
Erik Erikson's Psychosocial Crisis TheoryErik Erikson's Psychosocial Crisis Theory
Erik Erikson's Psychosocial Crisis Theory
 
Sullivan's interpersonal theory
Sullivan's interpersonal theory Sullivan's interpersonal theory
Sullivan's interpersonal theory
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
 
Sullivan interpersonal theory
Sullivan interpersonal theorySullivan interpersonal theory
Sullivan interpersonal theory
 
Theories of personality
Theories of personality Theories of personality
Theories of personality
 
Personality theories
Personality theoriesPersonality theories
Personality theories
 
1. theories of personality
1. theories of personality1. theories of personality
1. theories of personality
 
Personality ppt
Personality pptPersonality ppt
Personality ppt
 

Ähnlich wie อีริคสัน 

Ähnlich wie อีริคสัน  (20)

Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
การใช้เหตุผล
การใช้เหตุผลการใช้เหตุผล
การใช้เหตุผล
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 

Mehr von nimaskah

อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
nimaskah
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
nimaskah
 
ฮาวิกเฮิร์ส
ฮาวิกเฮิร์สฮาวิกเฮิร์ส
ฮาวิกเฮิร์ส
nimaskah
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
nimaskah
 
ฮาวิกเฮิร์ส
ฮาวิกเฮิร์สฮาวิกเฮิร์ส
ฮาวิกเฮิร์ส
nimaskah
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
nimaskah
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
nimaskah
 
Jerome bruner
Jerome  bruner  Jerome  bruner
Jerome bruner
nimaskah
 
Jerome bruner copy
Jerome  bruner   copyJerome  bruner   copy
Jerome bruner copy
nimaskah
 
Jerome bruner copy
Jerome  bruner   copyJerome  bruner   copy
Jerome bruner copy
nimaskah
 

Mehr von nimaskah (12)

อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
 
ฮาวิกเฮิร์ส
ฮาวิกเฮิร์สฮาวิกเฮิร์ส
ฮาวิกเฮิร์ส
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
 
ฮาวิกเฮิร์ส
ฮาวิกเฮิร์สฮาวิกเฮิร์ส
ฮาวิกเฮิร์ส
 
Gestalt
GestaltGestalt
Gestalt
 
Gestalt
GestaltGestalt
Gestalt
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  bruner  Jerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner copy
Jerome  bruner   copyJerome  bruner   copy
Jerome bruner copy
 
Jerome bruner copy
Jerome  bruner   copyJerome  bruner   copy
Jerome bruner copy
 

อีริคสัน 

  • 1. อีร ิค   เอช.  อีร ิค สัน    03/10/12 1
  • 2. ประวัต ิข องอีร ิค   เอช.  อีร ิค สัน  (Erik  H.  Erikson)   อีริคสัน  เกิดที่เมืองแฟรงค์เฟิร์ต  ประเทศ เยอรมนี  ในปี  ค.ศ. 1902  ในวัยเด็กได้รับการสนับสนุนทางด้านการวาด ภาพต่อมาเขาได้ยึดอาชีพครูสอนศิลปะใน โรงเรียนประถมศึกษาในกรุงเวียนนา   เขาได้ศึกษาแนวคิดของฟรอยด์  และเขียน บทความเกี่ยวกับจิตวิเคราะห์ออกเผยแพร่   อีริคสัน  ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฎีต่างๆ  ของพัฒนาการของมนุษย์และการปรับตัวใน สังคม  โดยใช้ชื่อว่า  Chilhood and society 03/10/12 2
  • 3. อีร ิค สัน (Erikson)  เป็นลูกศิษย์ของฟรอยด์  ได้สร้างทฤษฎีขึ้นในแนวทางความคิดของฟ รอยด์  ความสำาคัญทางด้านสังคม วัฒนธรรม และสิง ่ แวดล้อมด้านจิตใจ  ความคิดของอีริคสันต่างกับฟรอยด์หลาย ประการ - เห็นความสำาคัญของ Ego มากกว่า Id - พัฒนาการของคนไม่ได้จบแค่วัยรุ่น แต่ต่อไป จนกระทั่งวาระสุดท้าย ของชีวิต คือ วัยชรา 03/10/12 3
  • 4. ขั้น ที่ 1 ความไว้ว างใจ – ความ ไม่ไ ว้ว างใจ (Trust vs Mistrust) เป็นรากฐานทีสำาคัญของพัฒนาการ ่ ในวัยต่อไป ความไว้วางใจเป็นรากฐานสำาคัญของ การพัฒนาบุคลิกภาพ 03/10/12 4
  • 5. ขั้น ที่ 2 ความเป็น ตัว ของตัว เอง อย่า งอิส ระ – ความสงสัย ไม่แ น่ใ จ ตัว เอง (Autonomous vs Shame and Doubt) พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อแข็งแรง ขึ้น ให้โอกาสเด็กพึ่งตนเอง มีอิสระใน การลองทำาสิ่งต่างๆ 03/10/12 5
  • 6. ขั้น ที่ 3 การเป็น ผู้ค ิด ริเ ริ่ม – การรู้ส ึก ผิด (Initiative vs Guilt) เป็นวัยที่เด็กมีความคิดริเริ่มอยากจะ ทำาอะไรด้วยตนเอง  การเล่นสำาคัญมากสำาหรับวัยนีเพราะ ้ เด็กจะได้ทดลองทำาสิงต่างๆ จะสนุก ่ จากการสมมติของต่างๆ เป็นของจริง 03/10/12 6
  • 7. ขั้น ที่ 4 ความต้อ งการที่จ ะทำา กิจ กรรมอยู่เ สมอ – ความรู้ส ึก ด้อ ย (Industry vs Inferiority) Industry มีพัฒนาการด้านสติปญญาและทาง ั ด้านร่างกาย อยู่ในขั้นทีมีความ ่ ต้องการทีจะอะไรอยู่เสมอ ไม่เคยว่าง ่ 03/10/12 7
  • 8. ขั้น ที่ 5 ความเป็น เอกลัก ษณ์ – ความสับ สนในบทบาท (Ego Identity vs Role Confusion) จะรู้สึกตนเองว่า มีความเจริญเติบโต ร่างกายเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ว มี ่ การเปลียนแปลงทางเพศทังหญิงและ ่ ้ ชาย เด็กวัยรุ่นจะมีความรู้สกในเรื่องเพศ ึ และบางคนเป็นกังวลต่อการ 03/10/12 8
  • 9. ขั้น ที่ 6 ความใกล้ช ิด ผูก พัน – ความอ้า งว้า งตัว คนเดีย ว (Intimacy vs Isolation) รู้จักตนเองว่ามีจุดมุ่งหมายในชีวิต อย่างไร  เป็นวัยทีพร้อมทีจะมีความสัมพันธ์กับ ่ ่ เพื่อนต่างเพศในฐานะเพือนสนิทที่จะ ่ เสียสละให้กันและกัน 03/10/12 9
  • 10. ขั้น ที่ 7 การทำา ประโยชน์ใ ห้ก บ ั สัง คม– ความคิด ถึง แต่ต นเอง (Generativity vs Stagnation) วัยทีเป็นห่วงเพือนร่วมโลกโดยทัวไป ่ ่ ่ หรือเป็นห่วงเยาวชนรุ่นหลัง สร้างประโยชน์ให้กับสังคม 03/10/12 10
  • 11. ขั้น ที่ 8 บูร ณาภาพ– ความสิ้น หวัง (Ego Integrity vs Despair) วัยนีเป็นระยะบันปลายของชีวิต ้ ้ บุคลิกภาพของคนวัยนี้มกจะเป็นผล ั รวมของวัย 7 วัยทีผ่านมา ่ 03/10/12 11
  • 12. แนวคิด ของอีร ิค สัน ที่ม ีอ ิท ธิพ ล ต่อ การศึก ษา ระดับอนุบาล - เป็นวัยที่กล้ามเนื้อต่างๆ กำาลังพัฒนา - เป็นวัยที่พร้อมจะเรียนรู้สง ิ่ ต่างๆเร็วมาก บทบาทครู ควรเปิดโอกาสให้เด็กได้ ทดลองทำาสิงต่างๆอย่าง ่ อิสระคอยช่วยเหลือแนะนำาอยูห่างๆ ่ กระตุ้นให้เกิดความคิดริเริ่ม 03/10/12 12
  • 13. แนวคิดของอีริคสันที่มอิทธิพลต่อ ี การศึกษา(ต่อ) ระดับประถม - เด็กต้องการเป็นทียอมรับ ่ ของครูและเพื่อน - ต้องการความสำาเร็จจาก การทำางานสูง  บทบาทของครู ควรสอนให้เด็กเกิด ความพึงพอใจกับการทำางานให้เสร็จ สมบูรณ์ โดยมีความตั้งใจและความขยัน ขันแข็ง ต้องระวังอย่าให้พัฒนาความรู้สก ึ 03/10/12 13
  • 14. แนวคิดของอีริคสันที่มอิทธิพลต่อ ี การศึกษา(ต่อ)  ระดับมัธยม - ช่วงวัยรุ่น เป็นวัยที่กำาลัง แสวงหาเอกลักษณ์ของ ตนเอง - มีความเป็นตัวของตัวเอง / ไม่มี จุดยืนของตนเอง  บทบาทของครู สิ่งที่จะต้องทำาคือ สัมพันธภาพระหว่างครู-นักเรียน ความเมตตา ความเข้าใจ และความสนใจในตัว 03/10/12 เด็กอย่างจริงจัง พยายาม 14
  • 15. อ้างอิง  เอกสารประกอบการสอน – จิตวิทยาการเรียนการสอนและ การแนะแนวสำาหรับครู  http://jif-du-ke.blogspot.com/2009/02/erikson.html  http://www.kroobannok.com/105  http://cmruzone.blogspot.com/2011/01/erikson.html  http://mail.ctc.ru.ac.th/a402/group5/project/theory/ 2.html 03/10/12 15
  • 16. จัดทำาโดย  นางสาวนาดียะ มูซอ รหัส 405404018  นางสาวซารีนา กาเจ รหัส 405404036  นางสาวซีตีพาตีเม๊าะ บาเหะ รหัส 405404050 03/10/12 16