SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way)
พุธ
ศุกร์
โลก
อังคาร
พฤหัสบดี เสาร์
ยูเรนัส เนปจูน
พลูโต
ระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์วงใน
ดาวเคราะห์วงนอก
พฤหัสบดี
เสาร์
ยูเรนัส
เนปจูน
พลูโต ดาวอาทิตย์
โลก (Earth)
- ดาวเคราะห์ดวงที่3 จากดวงอาทิตย์
- เส้นผ่านศูนย์กลาง = 12,756 ก.ม. (ใหญ่อันดับ 5 ใน 8 ดวง)
- มวล = 5.9736 X 1024
- วงโคจรเฉลี่ย = 149,600,000 ก.ม. จากดวงอาทิตย์
- บริวาร = ดวงจันทร์ 1 ดาว, ดาวเทียม (มนุษย์สร้างขึ้น)
โลก (Earth)
- แกนโลกเอียง 23 องศา 29 ลิปดา
- โลกหมุนทวนเข็มนาฬิกา
- ดาวเหนือตั้งฉากที่ขั้วโลก
- หมุนรอบตัวเอง 23 ชั่วโมง 56 นาที 4.09 วินาที
(วันดาราคติ) หรือ 24 ชั่วโมง (วันสุริยคติ)
ดวงจันทร์
เส้นผ่านศูนย์กลาง = 3,476 ก.ม.
มวล = 7.35 X 1022 ก.ก.
วงโคจร = 384,400 ก.ม. จากโลก
ดวงจันทร์หมุนรอบโลก
น้าขึ้น - น้าลง
SUN
ดวงอาทิตย์
เส้นผ่านศูนย์กลาง = 1,390,000 ก.ม.
มวล = 1.989 X 1030 ก.ก.
โลกห่างจากดวงอาทิตย์
โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์
ฤดูหนาวฤดูใบไม้ผลิ
ฤดูร้อน
ฤดูใบไม้ร่วง
แสงตั้งฉากที่ศูนย์สูตร
แสงตั้งฉากที่ ละติจูด 23 องศา 30 ลิปดา
ข้อพิสูจน์ว่าโลกกลม
1. ดูด้วยกล้องระดับ จะเห็นว่าเรือค่อย ๆ จมลงในทะเล เมื่อแล่นห่างฝั่งออกไป
ข้อพิสูจน์ว่าโลกกลม
2. เมื่อเกิดจันทรุปราคา เงาโลกบนดวงจันทร์มีลักษณะกลม
3. ดาวเหนือตั้วฉากที่ขั้วโลก และค่อย ๆ ลดระดับ ไปอยู่ที่เส้นขอบฟ้าที่ศูนย์สูตร
มุมที่ทาเปลี่ยนแปลง 1 องศา ทุก ๆ 111 ก.ม. เมื่อลากเส้นตาม พบว่าเป็นเส้น
โค้งของวงกลม
4. วัตถุเดียวกัน ไปชั่งในตาแหน่งต่าง ๆ ทั่วโลก พบว่า มีน้าหนักเกือบเท่ากันทุกที่
5. การเดินเรือทดสอบ นานกว่าศตวรรษ
6. ภาพจากดาวเทียมสารวจโลก
รูปร่างสัณฐานของโลก
12,714 ก.ม.
12,757 ก.ม.
40,000
ก.ม.
การยุบที่ขั้ว
จานวนยุบที่ขั้ว f = (a - b) / a
จานวนเยื้องจากศูนย์กลาง e = FO / a
แบบทดสอบ
• 1.จักวาลมีอายุประมาณกี่ปีมาแล้ว ?
• ก. 1,375 ล้านปีก่อน ข. 13,750 ล้านปีก่อน
• ค. 46,000 ล้านปีก่อน ง. 4,600 ล้านปีก่อน
• 2.โลกของเรามีอายุประมาณกี่ปีมาแล้ว ?
• ก. 1,375 ล้านปีก่อน ข. 13,750 ล้านปีก่อน
• ค. 460 ล้านปีก่อน ง. 4,600 ล้านปีก่อน
• 3.จากข้อสอง หลักฐานสาคัญที่สุดในการกาหนดอายุโลกได้แก่?
• ก. อายุหินบนโลก ข. ซากดึกดาบรรพ์
• ค. อายุหินบนดวงจันทร์
• ง. อายุน้าแข็งโบราณบนโลก
• 4.โลกอยู่ห่างจากดาวอาทิตย์ ประมาณเท่าไร ?
• ก. 150 ล้านกิโลเมตร ข. 160 ล้านกิโลเมตร
• ค. 170 ล้านไมล์ ง. 180 ล้านไมล์
• 5.อัตราเร็วการหมุนของโลกที่ศูนย์สูตรประมาณเท่าไร?
• ก. 1,667 กิโลเมตร/ชั่วโมง
• ข. 1,440 กิโลเมตร/ชั่วโมง
• ค. 25,000 ไมล์/ชั่วโมง
• ง. 10,000 ไมล์/ชั่วโมง
• 6.ดาวจันทร์หมุนรอบตัวเองใช้เวลาประมาณเท่าไร
• ก. 1/24 วัน ข. 8 วัน
• ค. 15 วัน ง. 30 วัน
• 7.ดวงจัทร์หมุนรอบโลกใช้เวลากี่วัน ?
• ก. 1 วัน ข. 15 วัน
• ค. 16 วัน ง. 30 วัน
• 8.เมื่อเราอยู่กลางท้องนาในตอนกลางคืนในวันขึ้น 8 ค่า จะพบปรากฏการณ์ใดได้บ้าง?
• ก. ลมทะเล ข. มีแสงสว่างเหมือนกลางวัน
• ค. เห็นพระจันทร์เว้าด้านตะวันออก
• ง. เห็นพระจันทร์เว้าด้านตะวันตก
• 9.เรามีโอกาสพบจันทรุปราคาวันใด ?
• ก. วันจันทร์ ข. วันขึ้น 15 ค่า
• ค. วันแรม 15 ค่า ง. วันขึ้น 8 ค่า
• 10.หากแกนโลกเราไม่เอียงเกิดอะไรขึ้น ?
• ก. กลายเป็นโลกก้อนน้าแข็ง
• ข. ไม่มีกลางวันกลางคืน
• ค. ไม่มีการเปลี่ยนฤดูกาล ง. เกิดพายุรุนแรง
• 11.โลกเรามีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณเท่าไร ?
• ก. 12,750 กิโลเมตร ข. 6,375 กิโลเมตร
• ค. 1,2750 ไมล์ ง. 6,375 ไมล์
• 12.จากข้อ10 โลกจะมีพื้นดินเท่าไร ?
• ก. 12,750 ตารางกิโลเมตร
• ข. 127,611,563 ตารางกิโลเมตร
• ค. 255,223,126 ตารางกิโลเมตร
• ง. 510,446,252 ตารางกิโลเมตร
• 13.ข้อใดไม่จัดเป็นเส้นวงกลมใหญ่ ?
• ก. เส้นแวง ข. เส้นศูนย์สูตร
• ค. เส้นขนาน ง. เส้นเมริเดียน
• 14.คนในประเทศออสเตรเลียมีโอกาสที่ดวงอาทิตย์ตรงศีรษะในวันใด ?
• ก. 21 มีนาคม ข. 23 กันยายน
• ค. 21 มิถุนายน ง. 22 ธันวาคม
• 15.หากเราเดินทางไปบนโลกได้ระยะ 1 องศาละติจูด จะเท่ากับระยะทางกี่กิโลเมตร ?
• ก. 1 กิโลเมตร ข. 11 กิโลเมตร
• ค. 111 กิโลเมตร ง. 1,111 กิโลเมตร

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemnative
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงnarongsakday
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 

Was ist angesagt? (16)

ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 

Ähnlich wie โลกและจักรวาล

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4Joe Stk
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403Purinut Wongmaneeroj
 
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxssuserfffbdb
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
น้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงน้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงseesai
 

Ähnlich wie โลกและจักรวาล (20)

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
Earth system2009
Earth system2009Earth system2009
Earth system2009
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
 
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
Astro & space technology
Astro & space technologyAstro & space technology
Astro & space technology
 
น้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงน้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลง
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 

Mehr von Pa'rig Prig

Mehr von Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
 

โลกและจักรวาล