SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1. ระบบแสงสว่าง (Lighting)
2. ระบบไฟฟ้ากาลัง (Power)
3. ระบบสัญญาณเตือนภัยและระบบสื่อสาร
(Alarm and Communication)
ระบบไฟฟ้ าส่องสว่างในอาคาร
555261 Building System Equipment 3(2-2-5)
ระบบแสงสว่าง (Lighting)
ระบบไฟฟ้า
ชนิดและ ส่วนประกอบหลักของระบบ
แสงสว่าง มีทั้งหมด 3 ส่วน คือ
1) หลอดไฟฟ้ า
2) บัลลาสต์
3) โคมไฟฟ้ า
ระบบไฟฟ้า
หลอดไส้แบบ
ธรรมดา
ทังสะเตนฮาโลเจน
ฮาโลเจนแรงดันต่า
ความดันไอต่า
ฟลูออเรสเซนต์
คอมแพคท์
โซเดียมความ
ดันไอต่า
ความดันไอสูง
ปรอทความ
ดันไอสูง
เมทัลฮาไลด์
โซเดียมความ
ดันไอสูง
หลอดไฟฟ้า
อินแคนเดสเซนต์ ดีสชาร์จ
หลอดไฟฟ้ า
• เป็ นหลอดที่ให้แสงสว่างจากการให้
• ความร้อนไส้หลอด โดยการผ่าน
• กระแสไฟฟ้ าเข้าที่ไส้หลอดจนร้อน
• แดงและเปล่งแสงออกมา
1. หลอดอินแคนเดสเซนต์
หรือหลอดไส้
ระบบไฟฟ้า
หลอดไส้ธรรมดา
หลอดไส้ทังสเตน-ฮาโลเจน
หลอดไส้ฟลักซ์การส่องสว่างสูง
15 - 200
25 - 300
40 - 2,000
5 - 150
ช่วงกาลังที่มี (วัตต์,W)
(ชนิดมีตัวสะท้อนแสง)
(แรงดันปกติ)
(แรงดันต่า)
อายุการใช้งาน(ชั่วโมง)
1,000
1,000
1,500 - 3,000
2,000 - 3,000
ภาพ
ระบบไฟฟ้า
• เป็นหลอดที่ไม่ต้องใช้ไส้หลอด
• หลอดที่ให้แสงสว่างออกมาโดยการกระตุ้นก๊าซที่บรรจุภายในหลอด เช่น
หลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดคอมแพคท์ หลอดปรอทความดันไอสูง หลอด
โซเดียมความดันไอต่าและสูง หลอดเมทัลฮาไลด์
2. หลอดปล่อยประจุ หรือหลอดดิสชาร์จ
ระบบไฟฟ้า
หลอดดิสชาร์จความดันไอต่า
2. หลอดปล่อยประจุ หรือหลอดดิสชาร์จ
เป็นหลอดที่ให้แสงสว่างออกมาโดยการกระตุ้นก๊าซที่บรรจุภายใน
หลอดให้แตกตัวเป็นไอออนและนากระแส หลอดแก๊สดิสชาร์จความ
ดันต่าที่นิยมใช้มี 3 ชนิดคือ
- หลอดฟลูออเรสเซนต์
- หลอดฟลูออเรสเซนต์ชุดกะทัดรัด
- หลอดโซเดียมความดันต่า
ระบบไฟฟ้า
18 - 180
ช่วงกาลังที่มี (วัตต์,W) อายุการใช้งาน(ชั่วโมง)
8,000 – 10,000
22,000 - 24,000
หลอดฟลูออเรสเซนต์
10 - 58
22 - 40
ชนิดตรง T8
ชนิดกลม T9
หลอดฟลูออเรสเซนต์ชุดกะทัดรัด
หรือหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
หลอดโซเดียมความดันต่า
5,000 – 8,000
ชนิดมีบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ในตัว
ชนิดมีบัลลาสต์แกนเหล็กในตัว
ชนิดไม่มีบัลลาสต์ในตัว
5 – 23
9 – 25
5 - 55
7,500 - 10,000
7,500 - 10,000
7,500 - 10,000
ภาพ
หลอดดิสชาร์จความดันไอสูง
2. หลอดปล่อยประจุ หรือหลอดดิสชาร์จ
หลอดที่ให้แสงสว่างออกมาโดยการกระตุ้นก๊าซที่บรรจุภายใน
หลอด เช่นเดียวกับหลอดแก๊สดิสชาร์จความดันต่า ที่นิยมใช้มีดังนี้
- หลอดปรอทความดันสูง
- หลอดโซเดียมความดันสูง
- หลอดเมทัลฮาไลด์
35 - 2,000
35 - 1,000
ช่วงกาลังที่มี (วัตต์,W) อายุการใช้งาน(ชั่วโมง)
8,000 - 15,000
18,000 - 24,000
หลอดปรอทความดันสูง
หลอดโซเดียมความดันสูง
หลอดเมทัลฮาไลด์
หลอดไอปรอทแบบใช้บัลลาสต์
หลอดไอปรอทแบบไม่ใช้บัลลาสต์
50 - 1,000
80 - 160
20,000 - 24,000
ภาพ
ระบบไฟฟ้าหลอดฟลูออเรสเซนต์
- เป็นหลอดที่มีประสิทธิภาพแสงและ
อายุการใช้งานมากกว่าหลอดไส้
- หลอดฟลูออเรสเซนต์แท่งยาว
ขนาด 36 วัตต์ เป็นที่นิยมใช้แพร่หลาย
- แต่มีหลอดซุปเปอร์ลักซ์ที่ให้ปริมาณ
แสงมากกว่าหลอด 36 วัตต์ธรรมดาถึง
20% ในขนาดการใช้กาลังไฟฟ้าที่เท่ากัน
แต่ก็มีราคาต่อหลอดแพงกว่าหลอด 36
วัตต์ธรรมดา
- หลอดชนิดขดกลมจะให้แสงสว่าง
มากกว่าหลอดไส้ประมาณ 4-5 เท่าถ้าใช้
ปริมาณไฟฟ้าเท่ากัน
ระบบไฟฟ้าหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (CFL) หรือหลอดตะเกียบชนิดให้สีของแสงออกมาเทียบเท่าร้อยละ
85 ของหลอดไส้ (ให้สีของแสงดีที่สุด) สาหรับใช้แทนหลอดไส้ช่วยประหยัดไฟ และอายุการใช้งานนาน
กว่า 8 เท่าของหลอดไส้ มี 2 แบบ คือ แบบขั้วเกลียวกับขั้วเสียบ
หลอดโซเดียมความดันต่า
ประสิทธิภาพสูงสุดแต่คุณภาพแสงเพี้ยน
มาก เหมาะสมกับไฟถนน ไฟรักษาความปลอดภัย
หลอดเมทัลฮาไลด์
ประสิทธิภาพสูง คุณภาพแสงดี แต่ต ้องใช ้
เวลาอุ่นหลอดเมื่อเปิด เหมาะสมกับการส่องสินค ้าใน
ห ้างสรรพสินค ้า
หลอดโซเดียมความดันสูง
ประสิทธิภาพสูง แต่คุณภาพแสงไม่ดี มัก
ใช ้กับไฟถนน คลังสินค ้า ไฟส่องบริเวณที่เปลี่ยน
หลอดยาก พื้นที่นอกอาคาร
บัลลาสต์ (Ballast)
ทาหน้าที่เพิ่มแรงดันเพื่อให้หลอดไฟ
เรืองแสงติดในตอนแรก และทา
หน้าที่ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ผ่าน
หลอด ให้ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว
สตาร์ตเตอร์
(starter)
ทาหน้าที่เป็นสวิตซ์อัตโนมัติในขณะ
หลอดเรืองแสง ยังไม่ติดและหยุด
ทางานเมื่อหลอดติดแล้ว
ระบบไฟฟ้า
บัลลาสต์ประหยัดไฟที่ใช้กับหลอด
ฟลูออเรสเซนต์ มี 2 แบบ คือ
- แบบแกนเหล็กประหยัดไฟ
Low-Loss Magnetic Ballast
- แบบอิเลคทรอนิกส์ Electronic
Ballast
ระบบไฟฟ้า
- บัลลาสต์ธรรมดากินไฟประมาณ 10-12 วัตต์ แต่บัลลาสต์
ประหยัดไฟกินไฟประมาณ 3-6 วัตต์
- บัลลาสต์ธรรมดามีประสิทธิภาพในการส่องสว่าง 95-110%
แต่บัลลาสต์ประหยัดมีค่าในการส่องสว่าง 110-150 %
- บัลลาสต์ประหยัดไฟมีอายุการใช้งานมากกว่าแบบธรรมดา
เท่าตัว แต่ราคาจะสูงกว่า
- การใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟช่วยเพิ่มประสิทธิภาพความ
ปลอดภัย เนื่องจากอุณหภูมิขณะทางาน ไม่เกิน 75 องศา
เซลเซียส แต่บัลลาสต์ธรรมดามีความร้อนถึง 110-120 องศา
เซลเซียส
บัลลาสต์ (Ballast)
โคมไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้า
โคมไฟทาหน้าที่เพื่อบังคับให้แสงของหลอดไฟฟ้าส่องไปในทิศทางที่
ต้องการ ทาให้ประสิทธิภาพของหลอดไฟฟ้าสูงมากขึ้น นอกจากนี้โคมไฟฟ้า
บางชนิดยังใช้เป็นเครื่องประดับห้องหรือพื้นที่นั้นด้วย
โคมไฟสามารถแบ่งออกตามการใช้งานมีทั้งโคมภายใน และโคม
ภายนอก ซึ่งโคมภายในที่ใช้ควรมีประสิทธิภาพสูง ไม่ให้แสงบาดตามาก
เกินไป มีความสวยงามด้วย ส่วนโคมภายนอกควรสามารถกันน้าได้ และมี
ความปลอดภัยต่อการสัมผัส
โคมไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้า
ดังนั้นพอจะสรุปหน้าที่ของโคมไฟฟ้าได้ดังนี้
1. ป้องกันหลอดไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบจากการกระทบจากภายนอก
2. เป็นที่ในการจับยึดหลอดไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบ รวมทั้งการเชื่อมต่อ
วงจรไฟฟ้าของหลอดไฟฟ้า
3. เพื่อบังคับทิศทางของแสงที่ออกมาจากหลอดไฟฟ้าไปตามทิศทางที่ต้องการ
4. ให้ความสวยงาม ประดับในพื้นที่ที่ติดตั้ง
ระบบไฟฟ้า
ชนิดของดวงโคม มีหลากหลายชนิดแต่ยกตัวอย่างมา 3
ลักษณะ ดังนี้
1. ตามลักษณะของหลอดไฟฟ้า
2. ตามลักษณะการติดตั้ง
3. ตามลักษณะการใช้งาน
1.ตามลักษณะของหลอดไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้า
2.ตามลักษณะการติดตั้ง
ระบบไฟฟ้า
2. ตามลักษณะการติดตั้ง
ระบบไฟฟ้า
3. ตามลักษณะการใช้งาน
ระบบไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้าตารางแสดงระดับความสว่างที่แนะนาสาหรับประเภทต่างๆ ของการทางาน/ กิจกรรม/ และตาแหน่งที่ตั้ง
ระบบไฟฟ้าตารางแสดงระดับความสว่างที่แนะนาสาหรับประเภทต่างๆ ของการทางาน/ กิจกรรม/ และตาแหน่งที่ตั้ง (ต่อ)
ระบบไฟฟ้าตารางแสดงระดับความสว่างที่แนะนาสาหรับประเภทต่างๆ ของการทางาน/ กิจกรรม/ และตาแหน่งที่ตั้ง (ต่อ)
ลักษณะพื้นที่ใช้งาน ความสว่าง(ลักซ์)
พื้นที่ทางานทั่วไป 300-700
พื้นที่ส่วนกลางทางเดิน 100-200
บ้านที่อยู่อาศัย ห้องนอน 50
หัวเตียง 200
ห้องน้า 100-500
ห้องนั่งเล่น 100-500
ห้องครัว 300-500
บริเวณบันได 100
ระบบไฟฟ้า
ข้อมูลเพิ่มเติม
คือ หลอดฟลูออเรสเซนต์ที่มีขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลาง 5 หุน (5/8 นิ้ว)
สาหรับ “T” หมายถึง หลอดที่มี
ลักษณะเป็ นหลอดทรงคล้ ายท่ อ
(Tubular)
ตัวเลขต่อท้าย “T” แสดงขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลางเป็ นหุน ซึ่งหลอด
ฟลูออเรสเซนต์ที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปก็จะ
มีอยู่ 3 ขนาดหลัก คือ T12, T8 และ T5
หลอด T5
ระบบไฟฟ้า
รายการ หลอด T8 หลอด T5
ความยาวหลอด มม. 1,199 มม. 1,149 มม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 26 มม.(8หุน) 16 มม.(5 หุน)
ขั้วหลอด G13 G5
กาลังไฟฟ้าที่ใช้ 36 วัตต์ 28 วัตต์
ชนิดบัลลาสต์ที่ใช้
แกนเหล็ก,Low Lost,
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
เท่านั้น
อุณหภูมิใช้งานที่มี
ประสิทธิภาพ
25 องศาเซลเซียส 35 องศาเซลเซียส
ประสิทธิภาพแสง 75-89 ลูเมนต์ /วัตต์
90-104 ลูเมนต์ /
วัตต์
อายุใช้งาน 8000-20000 ชม. 15000-20000 ชม.
ปริมาณแสง 2600-3300 ลูเมนต์ 2400-2900 ลูเมนต์
ค่าดารงลูเมน ที่ 2,000
ชม.
88% 92%
ความถูกต้องสี (CRI) 70-80 82-85
ตารางเปรียบเทียบ T8 กับ T5
ระบบไฟฟ้า
ข้อดีของหลอดผอมเบอร์ 5
1.หลอดผอม T5 ประหยัดไฟกว่า หลอด T8 กว่า 30 % เนื่องจาก
หลอดผอม T5ประสิทธิภาพแสง สูงกว่าหลอด T8 ทาให้กินไฟน้อยกว่าที่ความ
สว่างเท่ากัน
2.หลอดผอม T5 (28 วัตต์) ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า
เนื่องจากมีขนาดเล็กกว่า จึงใช้วัสดุ และ สารปรอทน้อยกว่าหลอด T8 และ
หลอด T12
3.หลอดผอม T5 มีอัตราการคงแสงสว่างไว้ตลอดอายุการใช้งานของ
หลอดไฟ (Lumen maintenance) ประมาณ 95% เมื่อใช้งานไป 2,000 ชั่วโมง สูง
กว่าหลอด T8 และ T12
ระบบไฟฟ้า
ข้อมูลเพิ่มเติม
หลอด LED
LED ไดโอดเปล่งแสง มาจากคาว่า light-emitting diode
ซึ่งสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แสงที่เปล่งออกมา
ประกอบด้วยคลื่นความถี่เดียวและเฟสต่อเนื่องกัน ซึ่ง
ต่างกับแสงธรรมดาที่ตาคนมองเห็น โดยหลอด LED
สามารถเปล่งแสงได้เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าเพียง
เล็กน้อย และมีประสิทธิภาพในการให้แสงสว่างก็ยัง
ดีกว่าหลอดไฟขนาดเล็กทั่วๆ ไป
ระบบไฟฟ้า
LED ได้ถูกพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ ทั้งใน
ด้านสีของแสงที่เปล่งออกมา โดยทั่วไป LED มี
2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
LED ชนิดที่ตาคนเห็นได้ กับชนิดที่
ตาคนมองไม่เห็นต้องใช้ทรานซิสเตอร์มาเป็น
ตัวรับแสงแทนตาคน
และได้มีการนา LED มา ใช้
ประโยชน์แพร่หลายมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น ใน
เครื่องคิดเลข สัญญาณจราจร ไฟท้ายรถยนต์
ป้ายสัญญาณต่างๆ ไฟฉาย ไฟให้สัญญาณของ
ประภาคาร จอภาพยนตร์ขนาดใหญ่ ยิ่งไปกว่า
นั้น หน้าจอ LCD ของโทรศัพท์มือถือที่เราใช้
กันทั่วไป
ระบบไฟฟ้า
ข้อดีของ LED
- ประสิทธิภาพในการให้แสงสว่างดีกว่าหลอดไฟ
ธรรมดาทั่วๆไป
- ตัวหลอด LED เองเมื่อทาให้เกิดแสงขึ้นจะกิน
กระแสน้อยมากประมาณ 1-20 mA
- มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน ประมาณ 50,000 –
100,000 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับคุณภาพของแอลอีดี
วงจรขับกระแส สภาพภูมิอากาศ ความชื้น และ
อุณหภูมิ ซึ่งก็มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่า
หลอดที่ให้แสงสว่างชนิดอื่นๆมาก
ระบบไฟฟ้า
- ไม่มีรังสีอินฟาเรต รังสีอัลตราไวโอเรต ซึ่งเป็น
อันตรายต่อผิวหนัง
- ทนทานต่อสภาวะอากาศ
- ทนทานต่อการสั่นสะเทือน
- มีหลากหลายสีให้เลือกใช้

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า noksaak
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11Wilailak Luck
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1njoyok
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
Ppt หน่วยที่ 2 ความหมายและชนิดของระบบไฟฟ้า
Ppt หน่วยที่ 2 ความหมายและชนิดของระบบไฟฟ้าPpt หน่วยที่ 2 ความหมายและชนิดของระบบไฟฟ้า
Ppt หน่วยที่ 2 ความหมายและชนิดของระบบไฟฟ้าSupragit403
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสTheerawat Duangsin
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านNapasorn Juiin
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfKatewaree Yosyingyong
 

Was ist angesagt? (20)

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
Ppt หน่วยที่ 2 ความหมายและชนิดของระบบไฟฟ้า
Ppt หน่วยที่ 2 ความหมายและชนิดของระบบไฟฟ้าPpt หน่วยที่ 2 ความหมายและชนิดของระบบไฟฟ้า
Ppt หน่วยที่ 2 ความหมายและชนิดของระบบไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 

Ähnlich wie 4

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305wanitda
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305wanitda
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าNeeNak Revo
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าtwosoraya25
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 

Ähnlich wie 4 (20)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 

Mehr von Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

Mehr von Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
 
Bed room (1)
Bed room (1)Bed room (1)
Bed room (1)
 

4