SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 36
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4
การวาดรูปทรงเรขาคณิต
หัวข้อเนื้อหาประจาบท
1. รูปทรงกลม
2. รูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม
3. รูปทรงกระบอก
4. รูปทรงกรวย
5. รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์
6. รูปทรงปริซึม
7. เขียนรวมรูปทรงเรขาคณิต
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อศึกษาเนื้อหาในบทที่ 4 แล้วนักศึกษามีความสามารถ ดังนี้
1. มีความเข้าใจโครงสร้างรูปทรงเรขาคณิต
2. ลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงเรขาคณิตได้ถูกต้อง
3. วัดขนาดและสัดส่วนของรูปทรงเรขาคณิตได้ถูกต้อง
4. สามารถจัดองค์ประกอบและวาดภาพเรขาคณิตได้ถูกต้องสวยงาม
วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท
วิธีการสอนและกิจกรรมการสอนประจ้าบทที่ 3 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้
1. สาธิตการร่างภาพรูปทรงเรขาคณิต
2. สาธิตการเขียนโครงสร้างรูปทรงเรขาคณิต
3. สาธิตการลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงเรขาคณิต
4. สาธิตการจัดองค์ประกอบและร่างภาพพร้อมลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงเรขาคณิต
5. นักศึกษาลงมือปฏิบัติจัดองค์ประกอบร่างโครงสร้างโดยฝึกเขียนจากหุ่นปูนปลาสเตอร์
รูปทรงเรขาคณิต ได้แก่ รูปทรงกลม รูปทรงกระบอก รูปทรงสามเหลี่ยมปริซึม รูปทรงพีรามิด รูปทรง
กรวยและรูปทรงลูกบาศก์ ในชั่วโมงเรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาวาดเส้นบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
2. ตัวอย่างผลงานการวาดเส้นรูปทรงเรขาคณิต ที่ถูกต้องตามสัดส่วนและจัดวางลง
หน้ากระดาษได้อย่างเหมาะสมพร้อมลงน้้าหนักแสงเงา
3. หุ่นปูนปลาสเตอร์ รูปทรงกลม รูปทรงกระบอก รูปทรงปริซึม รูปทรงพีรามิด รูปทรง
กรวยและรูปทรงลูกบาศก์
4. วัสดุอุปกรณ์ในการวาดเส้น กระดานวาดรูป ดินสอEE ยางลบ คลิปหนีบกระดาษ
กระดาษวาดรูป 80 ปอนด์
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน
2. สังเกตพฤติกรรมความตั้งใจและการตอบสนองของผู้เรียนระหว่างเรียนและการลงมือ
ปฏิบัติการวาดเส้นในชั้นเรียน
3. ประเมินจากผลงานวาดเส้นรูปทรงเรขาคณิต มีการจัดองค์ประกอบการวาดใน
หน้ากระดาษได้อย่างเหมาะสม เขียนโครงสร้างและขนาดสัดส่วนของรูปทรงเรขาคณิตได้ถูกต้อง ลง
น้้าหนักแสงเงาได้ถูกต้องสวยงาม
บทที่ 4
การวาดรูปทรงเรขาคณิต
รูปทรงเรขาคณิตเป็นรูปทรงที่มีความแน่นอน ตายตัว จึงเหมาะที่จะใช้ในการฝึกฝนการ
วาดเส้นเป็นอย่างยิ่ง ที่จะมีรูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ ทรงกรวย พีรามิด ทรงกระบอก ทั้งนี้ผู้ศึกษา
อาจจะหาซื้อเพิ่มเติม หรือประยุกต์ใช้วัตถุที่มีอยู่ใกล้ๆตัวเช่น กล่องสบู่ ถ้วยกาแฟ กระป๋องน้้า ขวด
แทนก็ได้ (อนันต์ ประภาโส.2553:67)
การวาดรูปทรงเรขาคณิต นั้นมีความเหมาะส้าหรับผู้ที่ฝึกหัดเขียนภาพเบื้องต้น เนื่องจาก
สามารถสังเกตเห็นโครงสร้างและการเปรียบเทียบสัดส่วนอย่างง่าย อีกทั้งสามารถเรียนรู้เรื่องการอ่าน
ค่าน้้าหนักและแสงเงาของวัตถุเบื้องต้น(วาดเส้นพื้นฐาน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
2556:31)
การฝึกวาดเส้นในเบื้องต้นนั้นรูปทรงเรขาคณิตถือได้ว่าเป็นพื้นฐานอันส้าคัญในการฝึกและ
ศึกษาเพราะรูปทรงเรขาคณิตจะเป็นรูปทรงสิ่งของส่วนใหญ่ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่นตึกอาคาร รถยนต์
วิทยุ โทรทัศน์ฯลฯ ก็มีพื้นฐานแนวความคิดมากจากรูปทรงเรขาคณิตทั้งสิ้น ก่อนจะมาปรับเป็น
เหลี่ยม มุม โค้ง มน ตามความคิดและจิตนาการตอบสนองความต้องการทั้งทางด้านความงามและ
ประโยชน์ใช้สอยของมนุษย์ ดังนั้นความรู้ความเข้าใจในโครงสร้างและแสงเงาของรูปทรงเรขาคณิต
ได้แก่รูปทรงกลม รูปทรงสี่เหลี่ยมพีรามิด รูปทรงกระบอก รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ รูปทรงกรวย
รูปทรงปริซึม และความเข้าใจในพื้นที่ระนาบและรูปทรง 3 มิติที่จะท้าให้ลงน้้าหนักแสงเงาได้ง่ายขึ้น
ก็สามารถน้าไปต่อยอดการวาดเส้นในสิ่งของต่างๆรอบตัวได้อย่างเข้าใจในที่มาของรูปทรงและ
โครงสร้างแสงเงาอย่างถูกที่จะอธิบายดังต่อไปนี้
“ระนาบ”มีลักษณะเป็น 2 มิติมีพื้นผิวแบนราบเมื่อน้าระนาบมาประกอบเข้าด้วยกันจะได้
รูปทรงที่เป็น 3 มิติ ระนาบเปรียบได้กับแผนที่ ในการลงน้้าหนักแสงเงาถ้าเรามองเห็นระนาบซ้อนอยู่
ในหุ่นที่เราจะวาดได้อย่างชัดเจน เราก็จะรู้ทันที่ว่าเราจะต้องแรงเงาน้้าหนักอ่อนเข้มตรงส่วนไหนของ
หุ่น เช่นการแรเงาทรงกลม ก็ต้องพยายามมองให้เห็นระนาบของทรงกลมที่เราจะแรเงา ว่ามีลักษณะ
อย่างไร และจึงแรเงาน้้าหนักไปตามระนาบที่เราเห็น จากด้านแสงไปหาด้านเงา (พิษณุ ประเสริฐผล.
2557:92)
ภาพที่ 4.1 การมองน้้าหนักรูปทรงให้เป็นระนาบก่อนจะเกลี่ยให้น้้าหนักกลมกลืนเป็นรูปทรง 3 มิติ
ที่มา : พิษณุ ประเสริฐผล. 2557 : 92.
รูปทรงกลม
ทรงกลม เป็น รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีด้านข้างเป็นผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่
ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งเป็นระยะเท่ากัน เรียกจุดคงที่ว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม เรียกระยะที่
เท่ากันว่า รัศมีของทรงกลม
วัตถุทรงกลมประกอบด้วยการลงระดับน้้าหนักให้วัตถุนั้นมีมิติ พื้นฐานของการวาดแรเงา
อยู่ที่วัตถุทรงกลมเป็นส่วนใหญ่ เช่นวาดใบหน้าคนให้กลม การแรเงาน้้าหนักแขนขาอย่างไรให้ได้
ความรู้สึกกลมหรือการวาดภาพหุ่นนิ่งทิวทัศน์ต่างๆ ล้วนแล้วแต่ใช่พื้นฐานการแรงเงาของน้้าหนักทรง
กลมเป็นหลักส้าคัญ ดังนั้นนอกจากความส้าคัญของการร่างภาพสัดส่วนที่ถูกต้องแล้ว การแรเงาวัตถุ
ให้กลมเป็นพื้นฐานที่ส้าคัญมากไม่แพ้กัน(วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ.2552:24)
ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงกลม
1. การร่างภาพรูปทรงกลมจะเริ่มจากการศึกษาสักเกตุหุ่นรูปทรงกลมเพื่อเลือกและมอง
ทิศทางที่แสงมากระทบกับหุ่นปูนเห็นแสงเงาได้ชัดเจนก่อนจะเลือกมุมมองที่ท้าการร่างภาพ
2. เขียนเส้นแกนแนวตั้งฉากและก้าหนดจุดศูนย์กลางของทรงกลม เขียนเส้นแกน
แนวนอนลากผ่านจุดศูนย์กลางจากนั้น
3. เขียนเส้นเฉียง ลากผ่านจุดศูนย์กลาง ก้าหนดรัศมีจากจุดศูนย์กลางโดยการวัดจาก
ปลายดินสอแล้วขีดก้าหนดรัศมี
4. ลากเส้นโค้งตามแนวก้าหนดรัศมีให้บรรจบกันจนกลายเป็นวงกลม และลบเส้นร่าง
เหลือไว้เพียงเส้นรอบนอกเพื่อลงน้้าหนักแสงเงา
5. การลงน้้าหนักแสงเงาควรมองที่แบบบ่อยๆเพื่อสังเกตว่าจุดไหนเป็นแสงและเงาก่อน
วางน้้าหนัก ขั้นแรกลงน้้าหนักเบาสุดลงให้ทั่วภาพ
6. เขียนค่าน้้าหนักกลางและเข้ม จากนั้นจึงเก็บรายระเอียดของภาพ ท้าการลงเงาที่พื้น
และคัดบรรยากาศรอบข้างเพื่อเน้นชิ้นงานให้เกิดความโดดเด่น และเก็บรายละเอียดของภาพให้
สวยงาม ดังภาพที่ผู้เขียนท้าการสาธิตการเขียนโครงสร้างรูปทรงกลม และการให้น้้าหนักแสงเงาตาม
ขั้นตอนดังภาพที่ 4.1-4.3
ภาพที่ 4.2 ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างรูปทรงกลม
ภาพที่ 4.2 ขั้นตอนการลงน้้าหนักแสงเงาสร้างรูปทรงกลม
ภาพที่ 4.3 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงกลม
รูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม
พีระมิด เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยม มียอดแหลมที่อยู่กึ่งกลางของฐาน
และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลม การเรียกชื่อพีระมิดจะเรียกตามรูป
ฐานของพีระมิดว่าเป็นรูปอะไรเช่น ฐานเป็นสีเหลี่ยมก็จะเรียกรูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม เนื่องจากรูปทรง
ด้านข้างพีระมิดจะเป็นระนาบมุมมองในการวาดแต่ละมุมจึงมีความต่างกันออกไป และแต่องศาของ
ตัวฐานที่จะท้ามุมกับการมองของเราและตัวฐานสี่เหลี่ยมจะกว้างหรือแคบก็ขึ้นอยู่กับระดับว่าสูงหรือ
ต่้ากว่าระดับสายตาดังภาพที่ 4.4
วัตถุรูปทรงพีระมิดลักษณะแสงเงาจะคล้ายๆกับรูปทรงสี่เหลี่ยม คือมีน้้าหนักแบน เห็น
แสงเงาแต่ละด้านชัดเจน มุมหักชนมีลักษณะขอบคม จึงมองเห็นน้้าหนักแสงเงาได้ชัดเจนมาก(วัช
รพงศ์ หงษ์สุวรรณ.2552:24)
ภาพที่ 4.4 ภาพแสดงสี่เหลี่ยมฐานพีรามิดที่แปรผันตามระดับสายตาในการมอง
ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม
การเขียนรูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยมนั้นสิ่งแรกคือการหามุมมองที่ควรจะมองเห็นพีรามิดทั้งสองด้าน
เพราะจะเห็นน้้าหนักเปรียบเทียบได้ง่ายระหว่างด้านที่รับแสงและด้านที่อับแสง
1. ก้าหนดเส้นระนาบที่ขนานกับตัวเราอาจจะเอาไม้บัดทัดหรืออะไรก็ได้ที่เป็นเส้นตรงวาง
ขนานกับตัวเราตรงมุมฐานของแบบ จะได้มององศาของฐานพีรามิดแต่ละด้านง่ายขึ้น แล้วจึงลากเส้น
แนวนอน และก้าหนดจุดมุมของฐานพีรามิด
2. ลากเส้นจากจุดมุมของฐานพีรามิดโดยคะเนจากองศาที่ตาเห็นทั้งสองด้าน และลากเส้น
ฐานด้านหลังโดยยึดหลักเส้นฐานด้านหน้าให้ขนานกันเป็นฐานรูปทรงสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด
3. แบ่งครึ่งเส้นฐานทั้งสี่ด้านและลากเส้นเพื่อหาจุดกึ่งกลางของฐานพีรามิด ลากเส้นจากจุด
กึ่งกลางของฐานพีรามิดขึ้นไปในแนวตั้งฉากและก้าหนดความสูงของพีรามิดโดยศึกษาจากสัดส่วนของ
แบบ ให้ขนาดของฐานและความสูงของยอดพีรามิดมีความสัมพันธ์กันแล้วจึงลากเส้นจากจุดสูงสุดของ
พีรามิดมาบรรจบกับมุมฐานของพีรามิดทั้ง4ด้าน
4. จากนั้นลบเส้นโครงสร้างออกเหลือแต่เส้นจริงที่ตาเห็นและลงน้้าหนักอ่อนๆให้ทั่วทั้งภาพ
ลงน้้าหนักกลางโดยสังเกตจากแบบจุดที่แสงเข้าจะสว่างและจุดที่อับแสงจะลงน้้าหนักเข้ม
5. เก็บรายละเอียดของภาพโดยที่รูปทรงพีรามิดนั้นจะเป็นระนาบการลงน้้าหนักแสงเงา
ระหว่าง2ด้านจะชัดเจน ระหว่างด้านที่รับแสงและทึบแสงลงน้้าเงาที่พื้นและบรรยากาศโดยรวมให้
สวยงาม ดังภาพที่ 4.5-4.7
ภาพที่ 4.5 ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างรูปทรงพีรามิดฐานสี่เหลี่ยม
ภาพที่ 4.6 ขั้นตอนการลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงพีรามิดฐานสี่เหลี่ยม
ภาพที่ 4.7 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงพีรามิด
รูปทรงกระบอก
รูปทรงกระบอก เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานสองฐานเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุก
ประการและอยู่บนระนาบที่ขนานกัน และเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐาน
แล้ว จะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันกับฐานเสมอ ด้านข้างเป็นผิวเรียบโค้งโดยรอบ ทรงกระบอก
มองโดยรอบจะมีภาพคล้ายกันจะต่างตามระดับสายตา ถ้ามองสูงก็จะเห็นวงกลมด้านบนทรงกระบอก
กว้างขึ้น และจะแคบเป็นวงรีลงตามระดับสายตาที่มองต่้าลงมา และจะกลายเป็นเส้นตรงแนวนอนก็
ต่อเมื่อวงกลมด้านบนของทรงกระบอกอยู่ระดับเดียวกับสายตา และวงรีจะโค้งขึ้นเมื่อมาสูงกว่าระดับ
สายตาดังภาพที่ 4.8
วัตถุรูปทรงกระบอกเป็นโครงสร้างวัตถุทรงกลมอีกรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะกลมและมีทรง
สูงเป็นรูปทรงพื้นฐานของวัตถุหลายๆอย่าง เช่น แจกัน ขวด แก้วน้้า ต้นไม้ และผลไม้เป็นต้น(วัชรพงศ์
หงษ์สุวรรณ.2552:25)
ภาพที่ 4.8 ภาพแสดงวงกลมด้านล่างและด้านบนของทรงกระกระบอกที่แปรผันตามระดับสายตาใน
การมอง
ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงกระบอก
1. ก้าหนดขอบเขตของรูปทรงโดยเริ่มจากการร่างเส้นแกนเพื่อก้าหนดความสูง จากนั้น
ลากเส้นนอนที่ฐาน ใช้ดินสอเล็งและวัดความสูงความกว้างของฐานที่มีสัดส่วนถูกต้อง
2. สังเกตพื้นที่ของระนาบด้านบนของรูปทรงกระบอกว่ามีพื้นที่เท่าไหร่ จากนั้นจึงลากเส้น
ระนาบแบ่งพื้นที่ ทั้งบริเวณระนาบบนและรานาบฐาน
3. จากนั้นสังเกตถึงพื้นที่วงกลม ก่อนจะน้ามาร่างเป็นลักษณะวงรีที่เรามองเห็นจากด้านที่
เป็นระนาบ โดยพื้นที่วงกลมด้านบนของทรงกระบอกจะเล็กกว่าแคบกว่าฐานของทรงกระบอกเพราะ
พื้นที่วงกลมด้านของทรงกระบอกจะขึ้นมาอยู่ใกล้กับระดับสายตา
4. ตรวจทานแก้ไขโครงสร้างให้ถูกต้องแล้วจึงลบเส้นโครงสร้างทิ้งให้เหลือเพียงเส้นร่างตาม
รูปทรงที่ตาเห็น
5. แรเงาน้้าหนักอ่อนที่สุดในบริเวณที่มีเงาทั้งหมด เว้นบริเวณแสงไว้ก่อน แล้วจึงค่อยๆเพิ่ม
น้้าหนักเงาที่ละชั้น จนได้น้้าหนักแสงเงาใกล้เคียงกับแบบ
6.ร่างดินสอเบาๆ เพื่อก้าหนดขอบเขตของเงาตกทอดที่พื้น จากนั้นแรเงาบริเวณดังกล่าวโดย
ค่อยๆเพิ่มน้้าหนักที่ละชั้น โดยสังเกตว่าบริเวณไหนเข้มบริเวณไหนอ่อน
7. แรงเงาน้้าหนักบริเวณเงาให้เข้มที่สุดบริเวณฐานของวัตถุ แล้วจึงไล่น้้าหนักให้จางลงเรื่อยๆ
และลงบรรยากาศโดยรวมให้สวยงาม จากนั้นตรวจทานความเรียบร้อยจน ลบเส้นที่ไม่ต้องการ
ออกเป็นผลงานที่ส้าเร็จ ดังภาพที่ 4.9-4.11
ภาพที่ 4.9 ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างรูปทรงกระบอก
ภาพที่ 4.10 ขั้นตอนการลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงกระบอกฐานสี่เหลี่ยม
ภาพที่ 4.11 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงกระบอก
รูปทรงกรวย
เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไม่อยู่ในระนาบเดียวกันกับฐาน
และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดกับจุดใดๆ บนขอบของฐานเป็นส่วน
วัตถุทรงกรวยจะคล้ายกับรูปทรงกระบอกต่างกันที่ยอดแหลม การแรเงาน้้าหนักแสงและเงา
ใช้หลักการแรเงาน้้าหนักรูปทรงกลมเป็นเกณฑ์(วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ.2552:28)
ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงกรวย
1. ก้าหนดความสูงของรูปทรงด้วยเส้นแกน จากนั้นก้าหนดเส้นฐาน โดยวัดสัดส่วนความกว้าง
ของฐานให้มีความสัมพันธ์กับความสูง
2. สร้างกรอบสี่เหลี่ยมเพื่อก้าหนดพื้นที่ของฐาน โดยเริ่มจากการก้าหนดเส้นฐานระนาบของ
ทรงกรวยที่จะเป็นรูปทรงรีในทิศทางสายตาที่มองเห็นเป็นโครงสร้าง
3. จากนั้นสร้างเส้นวงรีเพื่อก้าหนดฐานและลากเส้นจากขอบวงรีทั้ง 2 ด้านไปที่จุดปลาย
บนสุดของรูปทรงกรวย
4. ตรวจทานแก้ไขโครงสร้างให้ถูกต้องแล้วจึงลบเส้นโครงสร้างทิ้งให้เหลือเพียงเส้นร่างตาม
รูปทรงที่ตาเห็น
5. แรเงาน้้าหนักอ่อนที่สุดและค่อยๆเพิ่มน้้าหนักลงไปที่ละชั้น โดยพยายามสังเกตเทียบเคียง
น้้าหนักกับแบบอยู่เสมอ
6.เมื่อแรเงาน้้าหนักที่รูปทรงกรวยที่ได้ความโค้งกลมดีแล้ว ให้ร่างขอบเขตเงาที่ตกทอดที่พื้น
จากนั้นแรเงาที่พื้นให้ได้น้้าหนักที่ชัดเจน ดังภาพที่ 4.12-4.14
ภาพที่ 4.12 ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างรูปทรงกรวย
ภาพที่ 4.13 ขั้นตอนการลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงกรวย
ภาพที่ 4.14 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงกรวย
รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์
เป็นทรงหลายหน้า ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้ง 6 หน้า โดยแต่ละจุดยอด จะ
ล้อมรอบด้วยหน้ารูปสี่เหลี่ยมเป็นจ้านวน 3 หน้าทุกจุด ทรงนี้มี 8 จุดยอด 12 ขอบ และเป็นหนึ่งใน
ทรงตันเพลโต ทรงลูกบาศก์เป็นทรงหลายหน้าที่คู่กันกับทรงแปดหน้า
วัตถุทรงสี่เหลี่ยมแตกต่างจากวัตถุทรงกลมโดนสิ้นเชิง ตั้งแต่ลักษณะของรูปทรงตลอดจน
ลักษณะของแสงเงา การแรเงาจะวาดน้้าหนักแบนๆ เห็นแสงเงาแต่ละด้านชัดเจน การตัดขอบเหลี่ยม
มุมคมชัด เป็นรูปทรงพื้นฐานของวัตถุหลายชนิดที่มีลักษณะเป็นสีเหลี่ยม เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ตู้ อาคาร ตึก
และบ้านเรือนเป็นต้น(วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ.2552:26)
ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์
1. ลากเส้นที่เห็นชัดเจนที่สุดก่อน ในที่นี้คือเส้นที่ตั้งฉากที่ขอบของรูปทรงเส้นที่อยู่ใกล้ตาที่สุด
2. สร้างฐานของรูปทรงโดยใช้ไม้บรรทัดหรือดินสอเล็งเป็นแนวขนานที่มุมล่างของเส้นตรงเส้นแรก หา
มุมที่ถูกต้องของฐานและความยาวของเส้นฐานทั้ง 2 เส้น จากนั้นรากเส้นขนานเพื่อก้าหนดเส้นฐาน
3. ลากเส้นตั้งฉากและเส้นขนานที่เหลืออยู่จนเป็นรูปทรงลูกบากศ์ ตรวจสอบความถูกต้องแก้ไขให้
เรียบร้อย
4. ลงน้้าหนักบริเวณที่เป็นเงา โดยพยายามเปรียบเทียบน้้าหนักอ่อน-แก่ของวัตถุอยู่บ่อยๆในกรณีที่
เป็นวัตถุสีขาว บริเวณที่ถูกแสงจัดมักจะมีน้้าหนักอ่อนจนอาจจะเว้นขาวไว้หรือแรเงาเพียงเล็กน้อย
5. ค่อยๆเพิ่มน้้าหนักแสงเงาไปที่ละชั้นโดยเปรียบเทียบน้้าหนักของแบบกับน้้าหนักของภาพที่วาดให้
ใกล้เคียงกัน จากนั้นลงน้้าหนักบริเวณเงาตกทอดที่พื้น เน้นน้้าหนักบริเวณเงามืด(ส่วนมากจะอยู่ใต้
วัตถุบริเวณที่ติดกับพื้น)ตรวจสอบความถูกต้องจนเสร็จเรียบร้อย ดังภาพที่ 4.15-4.17
ภาพที่ 4.15 ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างรูปทรงลูกบาศก์
ภาพที่ 4.16 ขั้นตอนการลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงลูกบาศก์
ภาพที่ 4.17 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงลูกบาศก์
รูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม
เป็นรูปทรงซึ่งมีผิวหน้าบนและล่าง เรียกว่า ฐาน ซึ่งอาจเป็นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หรือ
หลายเหลี่ยมก็ได้ ที่เท่ากันทุกประการ ส่วนผิวด้านข้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ถ้าผิวด้านข้างของ
รูปปริซึมเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และตั้งฉากกับฐานของปริซึมเราเรียกปริซึมชนิดนี้ว่า ปริซึมตรง ถ้าผิว
ด้านข้างไม่ตั้งฉากกับฐาน เราเรียกว่า ปริซึมเอียง กล่องสี่เหลี่ยมเป็นตัวอย่างของปริซึมตรงมีฐานเป็น
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หมอนขวานเป็นตัวอย่างของปริซึมตรงมีฐานเป็นรูปสามเหลี่ยม
ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม
1. ลากเส้นฐานโดยหามุมของฐานด้วยการใช้เส้นดินสอเล็งแนวราบ แล้วสร้างรูปทรงสามเหลี่ยมตาม
ตัวอย่าง
2. ร่างเส้นฐานด้านนอกออกไปโดยวัดมุมฐานให้ถูกต้อง ก้าหนดความยาวของเส้นฐานด้วยการเทียว
สัดส่วนกับฐานและความสูง จากนั้นลากเส้นอื่นๆให้ครบ และตรวจแก้ไขรูปทรง
3. เริ่มแรงเงาน้้าหนักแรกบนภาพที่ร่างเสร็จแล้ว โดยพยายามเปรียบเทียบกับน้้าหนักที่สว่างที่สุด
4. ลงน้้าหนักของเงาเพิ่มขึ้น โดยพยายามเปรียบเทียบน้้าหนักในแต่ละส่วนของแบบให้มี
ความสัมพันธ์กัน
5. ก้าหนดขอบเขตของเงาตกทอดที่พื้นแล้วแรเงาน้้าหนักที่1
6. ตรวจดูความถูกต้องของน้้าหนัก ปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติมน้้าหนักส่วนที่ต้องการเน้น ดังภาพที่
4.18-4.20
ภาพที่ 4.18 ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างรูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม
ภาพที่ 4.19 ขั้นตอนการลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม
ภาพที่ 4.20 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม
เขียนรวมรูปทรงเรขาคณิต
หลังจากการเรียนรู้และฝึกวาดหุ่นรูปทรงเรขาคณิตรูปทรงต่างๆมาพอสมควรก็น้ามา
จัดเป็นหุ่นรวม เริ่มแรกลองจัดหุ่นให้น้อยชิ้น โดยให้มีระยะหน้า กลาง ไกล หรืออาจจะมีผ้าเป็น
องค์ประกอบในการจัดหุ่นร่วมด้วย เพื่อให้การจัดหุ่นนั้นไม่เรียบหรือว่าโล่งจนเกินไป การฝึกวาดหุ่น
รวมเป็นการฝึกทักษะจากการวาดรูปทรงเรขาคณิตเดี่ยวๆมาแล้ว มาถึงขั้นตอนนี้จะมีเรื่องของการ
ผลักระยะ เงาตกกระทบ และแสงสะท้อนจากวัตถุข้างเคียงเข้ามาร่วมด้วย(วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ.
2552:29)
ขั้นตอนการเขียนรวมรูปทรงเรขาคณิต
ก่อนที่จะลงมือร่างภาพการเลือกมุมมองถือว่าเป็นสิ่งส้าคัญในการเขียนหุ่นรวมรูปทรง
เรขาคณิต ควรที่จะเลือกมุมให้ภาพดูมีระยะ หน้า กลาง หลัง เหลี่ยมมุมของรูปทรงมีความชัดเจน
1. ร่างภาพจัดวางวัตถุอย่างคราว ลงบนกระดาษให้ได้องค์ประกอบที่สวยงามไม่เล็กหรือใหญ่
จนเกินไป
2. ขึ้นโครงสร้างของรูปทรงเรขาคณิต ให้ถูกต้องและลงเส้นร่างของรูปทรงและภาพให้ชัดเจนก่อนจะ
ลบเส้นร่างออกให้เหลือเพียงเส้นที่ตาเห็น
3. ลงน้้าหนักแรกให้อ่อนที่สุดโดยสังเกตแสงและเงาจากหุ่น ก่อนวางน้้าหนักอ่อนเข้มคราวๆทั้งภาพ
4. เก็บรายละเอียดรูปทรงกลมที่อยู่ในระยะหน้าให้มีความคมชัด
5. เก็บรายละเอียดของรูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม แต่ให้น้้าหนักอ่อนกว่าทรงกลมที่อยู่ในระยะหน้า
และให้น้้าแสงเงาของผ้า โดยเน้นบริเวณใต้รูปทรงที่เป็นเงาจะมีน้้าหนักเข้ม
6. เก็บรายละเอียดโดยรวมของภาพและใส่บรรยากาศให้ภาพดูมีมิติและสวยงามเป็นอันเสร็จสมบรูณ์
บทสรุป
การวาดรูปทรงเรขาคณิตนั้นมีความเหมาะสมส้าหรับผู้ที่เริ่มฝึกการวาดเส้นในระยะ
เริ่มแรก เนื่องจากรูปทรงเรขาคณิตสามารถสังเกตโครงสร้างและเปรียบเทียบสัดส่วนได้ง่าย อีกทั้งยัง
สามารถที่จะเห็นน้้าหนักแสงเงาได้อย่างชัดเจนเป็นเครื่องมือในการที่จะเรียนรู้การอ่านค่าน้้าหนักแสง
เงาของวัตถุในเบื้องต้นได้เป็นอย่างดี
และในการฝึกวาดรูปทรงเรขาคณิตนั้นยังเป็นพื้นฐานโดยรวมที่จะน้าไปต่อยอดในการ
เขียนวัตถุอื่นๆ เพราะการใช้รูปทรงเราขาคณิตในการมองสิ่งต่างๆ จะช่วยในการวาดภาพได้มาก เช่น
หนังสือ เก้าอี้ เตียงนอน จะได้มาจากรูปทรงสี่เหลี่ยม ขวด แก้วน้้า กระบอกไฟฉาย จะได้มาจากรูป
ทรงกระบอก บ้านอาจเกิดจากแท่งสี่เหลี่ยมผสมรูปทรงพีรามิด เหยือกน้้าอาจเกิดจากรูปทรงกระบอก
รูปทรงกรวย รูปทรงกลมผสมกัน ดั้งนั้นเมื่อเราเรียนรู้ในเรื่องโครงสร้างและการให้น้้าหนักของรูปทรง
เรขาคณิต ในที่สุดเราก็จะมีความเข้าใจว่าวัตถุทั้งหลาย มีรูปทรงพื้นฐานอยู่เพียงสองสามรูปทรง
เท่านั้น และรูปทรงเหล่านั้นล้วนเกี่ยวข้องกับรูปทรงเรขาคณิต
คาถามท้ายบท
1. จงเขียนและอธิบายถึงการเขียนโครงสร้างรูปทรงกลม รูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม รูปทรงกระบอก
รูปทรงกรวย รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ รูปทรงปริซึมรูปทรง
2. จงอธิบายสิ่งของรอบตัวว่ามาจากรูปทรงเรขาคณิตรูปใด
กิจกรรมปฏิบัติ
1. ฝึกปฏิบัติการร่างโครงสร้างและสัดส่วนรูปทรงเรขาคณิตให้ถูกต้องจากหุ่นปูนปลาสเตอร์
รูปทรงกลม รูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม รูปทรงกระบอกรูปทรงกรวย รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ รูปทรง
ปริซึม
2. ฝึกเขียนร่วมรูปทรงเรขาคณิต โดยจัดองค์ประกอบภาพให้มีความสวยงามพร้อมลงน้้าหนัก
แสงเงา
เอกสารอ้างอิง
พิษณุ ประเสริฐผล. (2557). วาดเส้นด้วยดินสอ. นนทบุรี. ส้านักพิมพ์เฟิสท์ ออฟเซท
วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ. (2552). วาดเส้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ. ส้านักพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค
คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2556). วาดเส้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ. บริษัทแปลน พริ้นติ้ง
อนันต์ ประภาโส. (2553). วาดเส้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ. ส้านักพิมพ์สิปประภา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 

Was ist angesagt? (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 

Ähnlich wie บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต

แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิตออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิตJune Khanittha
 
แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)Jirathorn Buenglee
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิตออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิตJune Khanittha
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติSuparat Boonkum
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 

Ähnlich wie บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต (20)

Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
 
Add m1-1-chapter4
Add m1-1-chapter4Add m1-1-chapter4
Add m1-1-chapter4
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิตออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
 
แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิตออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 

Mehr von Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
 
Bed room (1)
Bed room (1)Bed room (1)
Bed room (1)
 

บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต

  • 1. แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต หัวข้อเนื้อหาประจาบท 1. รูปทรงกลม 2. รูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม 3. รูปทรงกระบอก 4. รูปทรงกรวย 5. รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ 6. รูปทรงปริซึม 7. เขียนรวมรูปทรงเรขาคณิต วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาเนื้อหาในบทที่ 4 แล้วนักศึกษามีความสามารถ ดังนี้ 1. มีความเข้าใจโครงสร้างรูปทรงเรขาคณิต 2. ลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงเรขาคณิตได้ถูกต้อง 3. วัดขนาดและสัดส่วนของรูปทรงเรขาคณิตได้ถูกต้อง 4. สามารถจัดองค์ประกอบและวาดภาพเรขาคณิตได้ถูกต้องสวยงาม วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท วิธีการสอนและกิจกรรมการสอนประจ้าบทที่ 3 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ 1. สาธิตการร่างภาพรูปทรงเรขาคณิต 2. สาธิตการเขียนโครงสร้างรูปทรงเรขาคณิต 3. สาธิตการลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงเรขาคณิต 4. สาธิตการจัดองค์ประกอบและร่างภาพพร้อมลงน้้าหนักแสงเงารูปทรงเรขาคณิต
  • 2. 5. นักศึกษาลงมือปฏิบัติจัดองค์ประกอบร่างโครงสร้างโดยฝึกเขียนจากหุ่นปูนปลาสเตอร์ รูปทรงเรขาคณิต ได้แก่ รูปทรงกลม รูปทรงกระบอก รูปทรงสามเหลี่ยมปริซึม รูปทรงพีรามิด รูปทรง กรวยและรูปทรงลูกบาศก์ ในชั่วโมงเรียน สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาวาดเส้นบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต 2. ตัวอย่างผลงานการวาดเส้นรูปทรงเรขาคณิต ที่ถูกต้องตามสัดส่วนและจัดวางลง หน้ากระดาษได้อย่างเหมาะสมพร้อมลงน้้าหนักแสงเงา 3. หุ่นปูนปลาสเตอร์ รูปทรงกลม รูปทรงกระบอก รูปทรงปริซึม รูปทรงพีรามิด รูปทรง กรวยและรูปทรงลูกบาศก์ 4. วัสดุอุปกรณ์ในการวาดเส้น กระดานวาดรูป ดินสอEE ยางลบ คลิปหนีบกระดาษ กระดาษวาดรูป 80 ปอนด์ การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน 2. สังเกตพฤติกรรมความตั้งใจและการตอบสนองของผู้เรียนระหว่างเรียนและการลงมือ ปฏิบัติการวาดเส้นในชั้นเรียน 3. ประเมินจากผลงานวาดเส้นรูปทรงเรขาคณิต มีการจัดองค์ประกอบการวาดใน หน้ากระดาษได้อย่างเหมาะสม เขียนโครงสร้างและขนาดสัดส่วนของรูปทรงเรขาคณิตได้ถูกต้อง ลง น้้าหนักแสงเงาได้ถูกต้องสวยงาม
  • 3. บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต รูปทรงเรขาคณิตเป็นรูปทรงที่มีความแน่นอน ตายตัว จึงเหมาะที่จะใช้ในการฝึกฝนการ วาดเส้นเป็นอย่างยิ่ง ที่จะมีรูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ ทรงกรวย พีรามิด ทรงกระบอก ทั้งนี้ผู้ศึกษา อาจจะหาซื้อเพิ่มเติม หรือประยุกต์ใช้วัตถุที่มีอยู่ใกล้ๆตัวเช่น กล่องสบู่ ถ้วยกาแฟ กระป๋องน้้า ขวด แทนก็ได้ (อนันต์ ประภาโส.2553:67) การวาดรูปทรงเรขาคณิต นั้นมีความเหมาะส้าหรับผู้ที่ฝึกหัดเขียนภาพเบื้องต้น เนื่องจาก สามารถสังเกตเห็นโครงสร้างและการเปรียบเทียบสัดส่วนอย่างง่าย อีกทั้งสามารถเรียนรู้เรื่องการอ่าน ค่าน้้าหนักและแสงเงาของวัตถุเบื้องต้น(วาดเส้นพื้นฐาน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556:31) การฝึกวาดเส้นในเบื้องต้นนั้นรูปทรงเรขาคณิตถือได้ว่าเป็นพื้นฐานอันส้าคัญในการฝึกและ ศึกษาเพราะรูปทรงเรขาคณิตจะเป็นรูปทรงสิ่งของส่วนใหญ่ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่นตึกอาคาร รถยนต์ วิทยุ โทรทัศน์ฯลฯ ก็มีพื้นฐานแนวความคิดมากจากรูปทรงเรขาคณิตทั้งสิ้น ก่อนจะมาปรับเป็น เหลี่ยม มุม โค้ง มน ตามความคิดและจิตนาการตอบสนองความต้องการทั้งทางด้านความงามและ ประโยชน์ใช้สอยของมนุษย์ ดังนั้นความรู้ความเข้าใจในโครงสร้างและแสงเงาของรูปทรงเรขาคณิต
  • 4. ได้แก่รูปทรงกลม รูปทรงสี่เหลี่ยมพีรามิด รูปทรงกระบอก รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ รูปทรงกรวย รูปทรงปริซึม และความเข้าใจในพื้นที่ระนาบและรูปทรง 3 มิติที่จะท้าให้ลงน้้าหนักแสงเงาได้ง่ายขึ้น ก็สามารถน้าไปต่อยอดการวาดเส้นในสิ่งของต่างๆรอบตัวได้อย่างเข้าใจในที่มาของรูปทรงและ โครงสร้างแสงเงาอย่างถูกที่จะอธิบายดังต่อไปนี้ “ระนาบ”มีลักษณะเป็น 2 มิติมีพื้นผิวแบนราบเมื่อน้าระนาบมาประกอบเข้าด้วยกันจะได้ รูปทรงที่เป็น 3 มิติ ระนาบเปรียบได้กับแผนที่ ในการลงน้้าหนักแสงเงาถ้าเรามองเห็นระนาบซ้อนอยู่ ในหุ่นที่เราจะวาดได้อย่างชัดเจน เราก็จะรู้ทันที่ว่าเราจะต้องแรงเงาน้้าหนักอ่อนเข้มตรงส่วนไหนของ หุ่น เช่นการแรเงาทรงกลม ก็ต้องพยายามมองให้เห็นระนาบของทรงกลมที่เราจะแรเงา ว่ามีลักษณะ อย่างไร และจึงแรเงาน้้าหนักไปตามระนาบที่เราเห็น จากด้านแสงไปหาด้านเงา (พิษณุ ประเสริฐผล. 2557:92) ภาพที่ 4.1 การมองน้้าหนักรูปทรงให้เป็นระนาบก่อนจะเกลี่ยให้น้้าหนักกลมกลืนเป็นรูปทรง 3 มิติ ที่มา : พิษณุ ประเสริฐผล. 2557 : 92. รูปทรงกลม ทรงกลม เป็น รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีด้านข้างเป็นผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่ ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งเป็นระยะเท่ากัน เรียกจุดคงที่ว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม เรียกระยะที่ เท่ากันว่า รัศมีของทรงกลม
  • 5. วัตถุทรงกลมประกอบด้วยการลงระดับน้้าหนักให้วัตถุนั้นมีมิติ พื้นฐานของการวาดแรเงา อยู่ที่วัตถุทรงกลมเป็นส่วนใหญ่ เช่นวาดใบหน้าคนให้กลม การแรเงาน้้าหนักแขนขาอย่างไรให้ได้ ความรู้สึกกลมหรือการวาดภาพหุ่นนิ่งทิวทัศน์ต่างๆ ล้วนแล้วแต่ใช่พื้นฐานการแรงเงาของน้้าหนักทรง กลมเป็นหลักส้าคัญ ดังนั้นนอกจากความส้าคัญของการร่างภาพสัดส่วนที่ถูกต้องแล้ว การแรเงาวัตถุ ให้กลมเป็นพื้นฐานที่ส้าคัญมากไม่แพ้กัน(วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ.2552:24) ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงกลม 1. การร่างภาพรูปทรงกลมจะเริ่มจากการศึกษาสักเกตุหุ่นรูปทรงกลมเพื่อเลือกและมอง ทิศทางที่แสงมากระทบกับหุ่นปูนเห็นแสงเงาได้ชัดเจนก่อนจะเลือกมุมมองที่ท้าการร่างภาพ 2. เขียนเส้นแกนแนวตั้งฉากและก้าหนดจุดศูนย์กลางของทรงกลม เขียนเส้นแกน แนวนอนลากผ่านจุดศูนย์กลางจากนั้น 3. เขียนเส้นเฉียง ลากผ่านจุดศูนย์กลาง ก้าหนดรัศมีจากจุดศูนย์กลางโดยการวัดจาก ปลายดินสอแล้วขีดก้าหนดรัศมี 4. ลากเส้นโค้งตามแนวก้าหนดรัศมีให้บรรจบกันจนกลายเป็นวงกลม และลบเส้นร่าง เหลือไว้เพียงเส้นรอบนอกเพื่อลงน้้าหนักแสงเงา 5. การลงน้้าหนักแสงเงาควรมองที่แบบบ่อยๆเพื่อสังเกตว่าจุดไหนเป็นแสงและเงาก่อน วางน้้าหนัก ขั้นแรกลงน้้าหนักเบาสุดลงให้ทั่วภาพ 6. เขียนค่าน้้าหนักกลางและเข้ม จากนั้นจึงเก็บรายระเอียดของภาพ ท้าการลงเงาที่พื้น และคัดบรรยากาศรอบข้างเพื่อเน้นชิ้นงานให้เกิดความโดดเด่น และเก็บรายละเอียดของภาพให้ สวยงาม ดังภาพที่ผู้เขียนท้าการสาธิตการเขียนโครงสร้างรูปทรงกลม และการให้น้้าหนักแสงเงาตาม ขั้นตอนดังภาพที่ 4.1-4.3
  • 8. ภาพที่ 4.3 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงกลม รูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม พีระมิด เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยม มียอดแหลมที่อยู่กึ่งกลางของฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลม การเรียกชื่อพีระมิดจะเรียกตามรูป ฐานของพีระมิดว่าเป็นรูปอะไรเช่น ฐานเป็นสีเหลี่ยมก็จะเรียกรูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม เนื่องจากรูปทรง ด้านข้างพีระมิดจะเป็นระนาบมุมมองในการวาดแต่ละมุมจึงมีความต่างกันออกไป และแต่องศาของ ตัวฐานที่จะท้ามุมกับการมองของเราและตัวฐานสี่เหลี่ยมจะกว้างหรือแคบก็ขึ้นอยู่กับระดับว่าสูงหรือ ต่้ากว่าระดับสายตาดังภาพที่ 4.4
  • 9. วัตถุรูปทรงพีระมิดลักษณะแสงเงาจะคล้ายๆกับรูปทรงสี่เหลี่ยม คือมีน้้าหนักแบน เห็น แสงเงาแต่ละด้านชัดเจน มุมหักชนมีลักษณะขอบคม จึงมองเห็นน้้าหนักแสงเงาได้ชัดเจนมาก(วัช รพงศ์ หงษ์สุวรรณ.2552:24) ภาพที่ 4.4 ภาพแสดงสี่เหลี่ยมฐานพีรามิดที่แปรผันตามระดับสายตาในการมอง ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม การเขียนรูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยมนั้นสิ่งแรกคือการหามุมมองที่ควรจะมองเห็นพีรามิดทั้งสองด้าน เพราะจะเห็นน้้าหนักเปรียบเทียบได้ง่ายระหว่างด้านที่รับแสงและด้านที่อับแสง 1. ก้าหนดเส้นระนาบที่ขนานกับตัวเราอาจจะเอาไม้บัดทัดหรืออะไรก็ได้ที่เป็นเส้นตรงวาง ขนานกับตัวเราตรงมุมฐานของแบบ จะได้มององศาของฐานพีรามิดแต่ละด้านง่ายขึ้น แล้วจึงลากเส้น แนวนอน และก้าหนดจุดมุมของฐานพีรามิด 2. ลากเส้นจากจุดมุมของฐานพีรามิดโดยคะเนจากองศาที่ตาเห็นทั้งสองด้าน และลากเส้น ฐานด้านหลังโดยยึดหลักเส้นฐานด้านหน้าให้ขนานกันเป็นฐานรูปทรงสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด 3. แบ่งครึ่งเส้นฐานทั้งสี่ด้านและลากเส้นเพื่อหาจุดกึ่งกลางของฐานพีรามิด ลากเส้นจากจุด กึ่งกลางของฐานพีรามิดขึ้นไปในแนวตั้งฉากและก้าหนดความสูงของพีรามิดโดยศึกษาจากสัดส่วนของ แบบ ให้ขนาดของฐานและความสูงของยอดพีรามิดมีความสัมพันธ์กันแล้วจึงลากเส้นจากจุดสูงสุดของ พีรามิดมาบรรจบกับมุมฐานของพีรามิดทั้ง4ด้าน
  • 10. 4. จากนั้นลบเส้นโครงสร้างออกเหลือแต่เส้นจริงที่ตาเห็นและลงน้้าหนักอ่อนๆให้ทั่วทั้งภาพ ลงน้้าหนักกลางโดยสังเกตจากแบบจุดที่แสงเข้าจะสว่างและจุดที่อับแสงจะลงน้้าหนักเข้ม 5. เก็บรายละเอียดของภาพโดยที่รูปทรงพีรามิดนั้นจะเป็นระนาบการลงน้้าหนักแสงเงา ระหว่าง2ด้านจะชัดเจน ระหว่างด้านที่รับแสงและทึบแสงลงน้้าเงาที่พื้นและบรรยากาศโดยรวมให้ สวยงาม ดังภาพที่ 4.5-4.7
  • 13. ภาพที่ 4.7 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงพีรามิด รูปทรงกระบอก รูปทรงกระบอก เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานสองฐานเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุก ประการและอยู่บนระนาบที่ขนานกัน และเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐาน แล้ว จะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันกับฐานเสมอ ด้านข้างเป็นผิวเรียบโค้งโดยรอบ ทรงกระบอก มองโดยรอบจะมีภาพคล้ายกันจะต่างตามระดับสายตา ถ้ามองสูงก็จะเห็นวงกลมด้านบนทรงกระบอก กว้างขึ้น และจะแคบเป็นวงรีลงตามระดับสายตาที่มองต่้าลงมา และจะกลายเป็นเส้นตรงแนวนอนก็ ต่อเมื่อวงกลมด้านบนของทรงกระบอกอยู่ระดับเดียวกับสายตา และวงรีจะโค้งขึ้นเมื่อมาสูงกว่าระดับ สายตาดังภาพที่ 4.8
  • 14. วัตถุรูปทรงกระบอกเป็นโครงสร้างวัตถุทรงกลมอีกรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะกลมและมีทรง สูงเป็นรูปทรงพื้นฐานของวัตถุหลายๆอย่าง เช่น แจกัน ขวด แก้วน้้า ต้นไม้ และผลไม้เป็นต้น(วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ.2552:25) ภาพที่ 4.8 ภาพแสดงวงกลมด้านล่างและด้านบนของทรงกระกระบอกที่แปรผันตามระดับสายตาใน การมอง ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงกระบอก 1. ก้าหนดขอบเขตของรูปทรงโดยเริ่มจากการร่างเส้นแกนเพื่อก้าหนดความสูง จากนั้น ลากเส้นนอนที่ฐาน ใช้ดินสอเล็งและวัดความสูงความกว้างของฐานที่มีสัดส่วนถูกต้อง 2. สังเกตพื้นที่ของระนาบด้านบนของรูปทรงกระบอกว่ามีพื้นที่เท่าไหร่ จากนั้นจึงลากเส้น ระนาบแบ่งพื้นที่ ทั้งบริเวณระนาบบนและรานาบฐาน 3. จากนั้นสังเกตถึงพื้นที่วงกลม ก่อนจะน้ามาร่างเป็นลักษณะวงรีที่เรามองเห็นจากด้านที่ เป็นระนาบ โดยพื้นที่วงกลมด้านบนของทรงกระบอกจะเล็กกว่าแคบกว่าฐานของทรงกระบอกเพราะ พื้นที่วงกลมด้านของทรงกระบอกจะขึ้นมาอยู่ใกล้กับระดับสายตา 4. ตรวจทานแก้ไขโครงสร้างให้ถูกต้องแล้วจึงลบเส้นโครงสร้างทิ้งให้เหลือเพียงเส้นร่างตาม รูปทรงที่ตาเห็น
  • 15. 5. แรเงาน้้าหนักอ่อนที่สุดในบริเวณที่มีเงาทั้งหมด เว้นบริเวณแสงไว้ก่อน แล้วจึงค่อยๆเพิ่ม น้้าหนักเงาที่ละชั้น จนได้น้้าหนักแสงเงาใกล้เคียงกับแบบ 6.ร่างดินสอเบาๆ เพื่อก้าหนดขอบเขตของเงาตกทอดที่พื้น จากนั้นแรเงาบริเวณดังกล่าวโดย ค่อยๆเพิ่มน้้าหนักที่ละชั้น โดยสังเกตว่าบริเวณไหนเข้มบริเวณไหนอ่อน 7. แรงเงาน้้าหนักบริเวณเงาให้เข้มที่สุดบริเวณฐานของวัตถุ แล้วจึงไล่น้้าหนักให้จางลงเรื่อยๆ และลงบรรยากาศโดยรวมให้สวยงาม จากนั้นตรวจทานความเรียบร้อยจน ลบเส้นที่ไม่ต้องการ ออกเป็นผลงานที่ส้าเร็จ ดังภาพที่ 4.9-4.11
  • 18. ภาพที่ 4.11 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงกระบอก รูปทรงกรวย เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไม่อยู่ในระนาบเดียวกันกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดกับจุดใดๆ บนขอบของฐานเป็นส่วน วัตถุทรงกรวยจะคล้ายกับรูปทรงกระบอกต่างกันที่ยอดแหลม การแรเงาน้้าหนักแสงและเงา ใช้หลักการแรเงาน้้าหนักรูปทรงกลมเป็นเกณฑ์(วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ.2552:28) ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงกรวย 1. ก้าหนดความสูงของรูปทรงด้วยเส้นแกน จากนั้นก้าหนดเส้นฐาน โดยวัดสัดส่วนความกว้าง ของฐานให้มีความสัมพันธ์กับความสูง 2. สร้างกรอบสี่เหลี่ยมเพื่อก้าหนดพื้นที่ของฐาน โดยเริ่มจากการก้าหนดเส้นฐานระนาบของ ทรงกรวยที่จะเป็นรูปทรงรีในทิศทางสายตาที่มองเห็นเป็นโครงสร้าง
  • 19. 3. จากนั้นสร้างเส้นวงรีเพื่อก้าหนดฐานและลากเส้นจากขอบวงรีทั้ง 2 ด้านไปที่จุดปลาย บนสุดของรูปทรงกรวย 4. ตรวจทานแก้ไขโครงสร้างให้ถูกต้องแล้วจึงลบเส้นโครงสร้างทิ้งให้เหลือเพียงเส้นร่างตาม รูปทรงที่ตาเห็น 5. แรเงาน้้าหนักอ่อนที่สุดและค่อยๆเพิ่มน้้าหนักลงไปที่ละชั้น โดยพยายามสังเกตเทียบเคียง น้้าหนักกับแบบอยู่เสมอ 6.เมื่อแรเงาน้้าหนักที่รูปทรงกรวยที่ได้ความโค้งกลมดีแล้ว ให้ร่างขอบเขตเงาที่ตกทอดที่พื้น จากนั้นแรเงาที่พื้นให้ได้น้้าหนักที่ชัดเจน ดังภาพที่ 4.12-4.14
  • 22. ภาพที่ 4.14 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงกรวย รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ เป็นทรงหลายหน้า ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้ง 6 หน้า โดยแต่ละจุดยอด จะ ล้อมรอบด้วยหน้ารูปสี่เหลี่ยมเป็นจ้านวน 3 หน้าทุกจุด ทรงนี้มี 8 จุดยอด 12 ขอบ และเป็นหนึ่งใน ทรงตันเพลโต ทรงลูกบาศก์เป็นทรงหลายหน้าที่คู่กันกับทรงแปดหน้า วัตถุทรงสี่เหลี่ยมแตกต่างจากวัตถุทรงกลมโดนสิ้นเชิง ตั้งแต่ลักษณะของรูปทรงตลอดจน ลักษณะของแสงเงา การแรเงาจะวาดน้้าหนักแบนๆ เห็นแสงเงาแต่ละด้านชัดเจน การตัดขอบเหลี่ยม มุมคมชัด เป็นรูปทรงพื้นฐานของวัตถุหลายชนิดที่มีลักษณะเป็นสีเหลี่ยม เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ตู้ อาคาร ตึก และบ้านเรือนเป็นต้น(วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ.2552:26) ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ 1. ลากเส้นที่เห็นชัดเจนที่สุดก่อน ในที่นี้คือเส้นที่ตั้งฉากที่ขอบของรูปทรงเส้นที่อยู่ใกล้ตาที่สุด
  • 23. 2. สร้างฐานของรูปทรงโดยใช้ไม้บรรทัดหรือดินสอเล็งเป็นแนวขนานที่มุมล่างของเส้นตรงเส้นแรก หา มุมที่ถูกต้องของฐานและความยาวของเส้นฐานทั้ง 2 เส้น จากนั้นรากเส้นขนานเพื่อก้าหนดเส้นฐาน 3. ลากเส้นตั้งฉากและเส้นขนานที่เหลืออยู่จนเป็นรูปทรงลูกบากศ์ ตรวจสอบความถูกต้องแก้ไขให้ เรียบร้อย 4. ลงน้้าหนักบริเวณที่เป็นเงา โดยพยายามเปรียบเทียบน้้าหนักอ่อน-แก่ของวัตถุอยู่บ่อยๆในกรณีที่ เป็นวัตถุสีขาว บริเวณที่ถูกแสงจัดมักจะมีน้้าหนักอ่อนจนอาจจะเว้นขาวไว้หรือแรเงาเพียงเล็กน้อย 5. ค่อยๆเพิ่มน้้าหนักแสงเงาไปที่ละชั้นโดยเปรียบเทียบน้้าหนักของแบบกับน้้าหนักของภาพที่วาดให้ ใกล้เคียงกัน จากนั้นลงน้้าหนักบริเวณเงาตกทอดที่พื้น เน้นน้้าหนักบริเวณเงามืด(ส่วนมากจะอยู่ใต้ วัตถุบริเวณที่ติดกับพื้น)ตรวจสอบความถูกต้องจนเสร็จเรียบร้อย ดังภาพที่ 4.15-4.17
  • 26. ภาพที่ 4.17 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงลูกบาศก์ รูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม เป็นรูปทรงซึ่งมีผิวหน้าบนและล่าง เรียกว่า ฐาน ซึ่งอาจเป็นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หรือ หลายเหลี่ยมก็ได้ ที่เท่ากันทุกประการ ส่วนผิวด้านข้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ถ้าผิวด้านข้างของ รูปปริซึมเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และตั้งฉากกับฐานของปริซึมเราเรียกปริซึมชนิดนี้ว่า ปริซึมตรง ถ้าผิว ด้านข้างไม่ตั้งฉากกับฐาน เราเรียกว่า ปริซึมเอียง กล่องสี่เหลี่ยมเป็นตัวอย่างของปริซึมตรงมีฐานเป็น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หมอนขวานเป็นตัวอย่างของปริซึมตรงมีฐานเป็นรูปสามเหลี่ยม ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงน้าหนักแสงเงารูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม 1. ลากเส้นฐานโดยหามุมของฐานด้วยการใช้เส้นดินสอเล็งแนวราบ แล้วสร้างรูปทรงสามเหลี่ยมตาม ตัวอย่าง
  • 27. 2. ร่างเส้นฐานด้านนอกออกไปโดยวัดมุมฐานให้ถูกต้อง ก้าหนดความยาวของเส้นฐานด้วยการเทียว สัดส่วนกับฐานและความสูง จากนั้นลากเส้นอื่นๆให้ครบ และตรวจแก้ไขรูปทรง 3. เริ่มแรงเงาน้้าหนักแรกบนภาพที่ร่างเสร็จแล้ว โดยพยายามเปรียบเทียบกับน้้าหนักที่สว่างที่สุด 4. ลงน้้าหนักของเงาเพิ่มขึ้น โดยพยายามเปรียบเทียบน้้าหนักในแต่ละส่วนของแบบให้มี ความสัมพันธ์กัน 5. ก้าหนดขอบเขตของเงาตกทอดที่พื้นแล้วแรเงาน้้าหนักที่1 6. ตรวจดูความถูกต้องของน้้าหนัก ปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติมน้้าหนักส่วนที่ต้องการเน้น ดังภาพที่ 4.18-4.20
  • 30. ภาพที่ 4.20 งานส้าเร็จการวาดเส้นรูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม เขียนรวมรูปทรงเรขาคณิต หลังจากการเรียนรู้และฝึกวาดหุ่นรูปทรงเรขาคณิตรูปทรงต่างๆมาพอสมควรก็น้ามา จัดเป็นหุ่นรวม เริ่มแรกลองจัดหุ่นให้น้อยชิ้น โดยให้มีระยะหน้า กลาง ไกล หรืออาจจะมีผ้าเป็น องค์ประกอบในการจัดหุ่นร่วมด้วย เพื่อให้การจัดหุ่นนั้นไม่เรียบหรือว่าโล่งจนเกินไป การฝึกวาดหุ่น รวมเป็นการฝึกทักษะจากการวาดรูปทรงเรขาคณิตเดี่ยวๆมาแล้ว มาถึงขั้นตอนนี้จะมีเรื่องของการ ผลักระยะ เงาตกกระทบ และแสงสะท้อนจากวัตถุข้างเคียงเข้ามาร่วมด้วย(วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ. 2552:29) ขั้นตอนการเขียนรวมรูปทรงเรขาคณิต
  • 31. ก่อนที่จะลงมือร่างภาพการเลือกมุมมองถือว่าเป็นสิ่งส้าคัญในการเขียนหุ่นรวมรูปทรง เรขาคณิต ควรที่จะเลือกมุมให้ภาพดูมีระยะ หน้า กลาง หลัง เหลี่ยมมุมของรูปทรงมีความชัดเจน 1. ร่างภาพจัดวางวัตถุอย่างคราว ลงบนกระดาษให้ได้องค์ประกอบที่สวยงามไม่เล็กหรือใหญ่ จนเกินไป
  • 32. 2. ขึ้นโครงสร้างของรูปทรงเรขาคณิต ให้ถูกต้องและลงเส้นร่างของรูปทรงและภาพให้ชัดเจนก่อนจะ ลบเส้นร่างออกให้เหลือเพียงเส้นที่ตาเห็น 3. ลงน้้าหนักแรกให้อ่อนที่สุดโดยสังเกตแสงและเงาจากหุ่น ก่อนวางน้้าหนักอ่อนเข้มคราวๆทั้งภาพ
  • 33. 4. เก็บรายละเอียดรูปทรงกลมที่อยู่ในระยะหน้าให้มีความคมชัด 5. เก็บรายละเอียดของรูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม แต่ให้น้้าหนักอ่อนกว่าทรงกลมที่อยู่ในระยะหน้า และให้น้้าแสงเงาของผ้า โดยเน้นบริเวณใต้รูปทรงที่เป็นเงาจะมีน้้าหนักเข้ม
  • 34. 6. เก็บรายละเอียดโดยรวมของภาพและใส่บรรยากาศให้ภาพดูมีมิติและสวยงามเป็นอันเสร็จสมบรูณ์ บทสรุป การวาดรูปทรงเรขาคณิตนั้นมีความเหมาะสมส้าหรับผู้ที่เริ่มฝึกการวาดเส้นในระยะ เริ่มแรก เนื่องจากรูปทรงเรขาคณิตสามารถสังเกตโครงสร้างและเปรียบเทียบสัดส่วนได้ง่าย อีกทั้งยัง สามารถที่จะเห็นน้้าหนักแสงเงาได้อย่างชัดเจนเป็นเครื่องมือในการที่จะเรียนรู้การอ่านค่าน้้าหนักแสง เงาของวัตถุในเบื้องต้นได้เป็นอย่างดี และในการฝึกวาดรูปทรงเรขาคณิตนั้นยังเป็นพื้นฐานโดยรวมที่จะน้าไปต่อยอดในการ เขียนวัตถุอื่นๆ เพราะการใช้รูปทรงเราขาคณิตในการมองสิ่งต่างๆ จะช่วยในการวาดภาพได้มาก เช่น หนังสือ เก้าอี้ เตียงนอน จะได้มาจากรูปทรงสี่เหลี่ยม ขวด แก้วน้้า กระบอกไฟฉาย จะได้มาจากรูป ทรงกระบอก บ้านอาจเกิดจากแท่งสี่เหลี่ยมผสมรูปทรงพีรามิด เหยือกน้้าอาจเกิดจากรูปทรงกระบอก รูปทรงกรวย รูปทรงกลมผสมกัน ดั้งนั้นเมื่อเราเรียนรู้ในเรื่องโครงสร้างและการให้น้้าหนักของรูปทรง เรขาคณิต ในที่สุดเราก็จะมีความเข้าใจว่าวัตถุทั้งหลาย มีรูปทรงพื้นฐานอยู่เพียงสองสามรูปทรง เท่านั้น และรูปทรงเหล่านั้นล้วนเกี่ยวข้องกับรูปทรงเรขาคณิต
  • 35. คาถามท้ายบท 1. จงเขียนและอธิบายถึงการเขียนโครงสร้างรูปทรงกลม รูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม รูปทรงกระบอก รูปทรงกรวย รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ รูปทรงปริซึมรูปทรง 2. จงอธิบายสิ่งของรอบตัวว่ามาจากรูปทรงเรขาคณิตรูปใด กิจกรรมปฏิบัติ 1. ฝึกปฏิบัติการร่างโครงสร้างและสัดส่วนรูปทรงเรขาคณิตให้ถูกต้องจากหุ่นปูนปลาสเตอร์ รูปทรงกลม รูปทรงพีรามิดสี่เหลี่ยม รูปทรงกระบอกรูปทรงกรวย รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ รูปทรง ปริซึม
  • 36. 2. ฝึกเขียนร่วมรูปทรงเรขาคณิต โดยจัดองค์ประกอบภาพให้มีความสวยงามพร้อมลงน้้าหนัก แสงเงา เอกสารอ้างอิง พิษณุ ประเสริฐผล. (2557). วาดเส้นด้วยดินสอ. นนทบุรี. ส้านักพิมพ์เฟิสท์ ออฟเซท วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ. (2552). วาดเส้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ. ส้านักพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2556). วาดเส้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ. บริษัทแปลน พริ้นติ้ง อนันต์ ประภาโส. (2553). วาดเส้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ. ส้านักพิมพ์สิปประภา