SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 57
B.N.S (2nd class honors)
M.Sc(Pharmacology)
Tarn_ji@yahoo.com
Faculty of Public Health, NRRU
2
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
Pharmacokinetic
ทราบ ของเภสัชจลนศาสตร์(pharmacokinetics)
อธิบาย
อธิบายความสาคัญของ
อธิบายความสาคัญของ
Objectives
PHARMACOKINETICS
Pharmacolog
- การดูดซึม (Absorption)
- การกระจายตัว (Distribution)
- การเปลี่ยนแปลงยา (Metabolism)
- การขับถ่าย (Excretion)
เภสัชจลนศาสตร์
: what the bodydoes to the drug
- กลไกการออกฤทธิ์
(Mechanism of action)
- อาการไม่พึงประสงค์
(Adverse effects)
- ปฏิกิริยาต่อกันของยา
(Drug interactions)
เภสัชพลศาสตร์
: what the drug does to the body
Adequate drug concentration
Pharmacology
3
Introduction to Pharmacology
TabletDisintegration
Free drug
(active)
Drug-Protein complex
(inactive)
Blood vessel
Administration:
p.o., s.c., i.m. etc.
DISTRIBUTION
Other sites
Target site of action
(Adequate concentration)
Adverse effects
Drug action
Dissolution
ABSORPTION
BIOTRANSFORMATION
EXCRETION
Pharmacodynamics
Pharmacokinetics
Administration:
i.v.
4
5
Pharmacokinetic
PHARMACOLOGY
ABSORPTION
DISTRIBUTION
ELIMINATION
Toxicity Efficacy
PHARMACOKINETICS
PHARMACODYNAMICS
METABOLISM
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
PHARMACOKINETICS 6
การเคลื่อนผ านของตัวยาสําคัญจากตําแหน งที่ยาเข าสู
ร างกายไปยังระบบหมุนเวียนเลือด
การเคลื่อนที่ของโมเลกุลยาจากตําแหน่งหนึ่งสู ตําแหน่งอื่น ๆ
ภายในร างกาย
กระบวนการทางเคมีในร างกาย ที่มีผลต อการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างของยา
การกําจัดยาออกจากร างกาย
ABSORPTION
DISTRIBUTION
METABOLISM
EXCRETION
PHARMACOKINETICS 7
8
Pharmacokinetic
การดูดซึมยา(DRUG ABSORPTION)
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
 คุณสมบัติของยา : Lipid solubility, Size, Ionization
 ขนาดของยาที่ให้ : Concentration, Rate
 การไหลเวียนเลือดที่ตาแหน่งการดูดซึม
 พื้นที่ผิวของการดูดซึม : Small intestine, Lung alveoli
 ทางที่ให้ยา :
-Enteral routes: Oral, Sublingual, Rectal
-Parenteral routes: i.v., i.m., s.c.,
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
9
Pharmacokinetic
การเคลื่อนย้ายโมเลกุลของยาผ่านเมมเบรน
CELL MEMBRANE
- Phospholipid bilayer
- Intrinsic protein
- Carbohydrate
“Fluid mosaic model”
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
10
FACULTY OF NURSING, VONGCHAVALITKUL UNIVERSITY
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
Pharmacokinetic
กลไกการขนส่งผ่านเมมเบรน
1) Filtration
2) Simple diffusion
PASSIVE TRANSPORT
SPECIALIZED TRANSPORT
ขนส่งโมเลกุลหรือไอออนที่มีขนาดใหญ่/
ไม่ละลายในไขมัน
1) Carrier-mediated
transport
- Facilitated diffusion
- Active transport
2) Pinocytosis
PHARMACOKINETICS
11
Pharmacokinetic
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยา
ขนาดโมเลกุลและการละลายในไขมัน (Molecular size & Lipid solubility)
การแตกตัวเป็ นประจุ (Ionization)
 ละลายในไขมันได้ดี
 ขนาดโมเลกุลเล็ก
 ไม่มีประจุ
ยาส่วนใหญ่เป็นกรดอ่อน (weak acid) หรือเบสอ่อน (weak base)
กรดอ่อน / ด่างอ่อน จะอยู่ในรูปของ Ionized +Unionized form (pH)
**กรดอ่อนแตกตัวได้ดีในสารละลายที่เป็นด่าง ด่างอ่อนจะแตกตัวได้ดีในสารละลายที่เป็นกรด
Ex: ในปัสสาวะมีความเป็นด่าง ดังนั้นจะขับยาที่เป็นกรดอ่อนออกจากร่างกาย
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
12
FACULTY OF NURSING, VONGCHAVALITKUL UNIVERSITY
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
Pharmacokinetic
Bioavailability – อัตราเร็วและปริมาณที่ยาจะไปถึงตาแหน่งออกฤทธิ์
เป็ นตัวแทนถึงการดูดซึมของยานั้น
PHARMACOKINETICS
13
Pharmacokinetic
การดูดซึมยาผ่านทางเดินอาหาร
การเคลื่อนไหวของลาไส้ และเวลาที่ยาเคลื่อนที่
จากกระเพาะอาหารสู่ลาไส้(gastric emptying)
การทาปฏิกิริยากับสารต่าง ๆ ในทางเดินอาหาร
Bioavailability
หลีกเลี่ยงโดย sublingual, parenteral routes
ยาถูกทาลายโดยเอนไซม์หรือบริเวณที่มีความเป็นกรด
แก้ไขโดย > enteric-coated
ปั จจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยากิน
***First-pass metabolism > liver, gut wall, bacteria
อัตราเร็วของการแตกตัว และการละลายของยา
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
PHARMACOKINETICS 14
15
FACULTY OF NURSING, VONGCHAVALITKUL UNIVERSITY
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
PharmacokineticABSORPTION
PHARMACOKINETICS
Duration
Concentration
Time
Cmax
Tmax
MSC
(Maximum safety conc.)
MEC
(Minimum effective conc.)
Onset
Single Oral Dosing
16PHARMACOKINETICS
Onset = ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มให้ยาจนถึงเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์
Cmax = ระดับยาในพลาสมาสูงสุด
Tmax = ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มให้จนถึงเวลาที่ระดับยาในพลาสมาสูงสุด
Duration = ช่วงเวลาที่ยาออกฤทธิ์
17PHARMACOKINETICS
การกระจายตัวของยา (DRUG DISTRIBUTION)
ยาเข้าสู่กระแสเลือด  กระจายตัวไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ  สมดุล
(tissue & plasma)
การกระจายตัวของยาถูกกาหนดด้วย CO + อัตราเร็วของเลือด ที่ไปเลี้ยง
เนื้อเยื่อนั้นๆ ระยะแรก – หัวใจ ตับ ไต สมอง
แหล่งสะสมยา (Drug reservoirs)
 โปรตีนในพลาสมา เช่น albumin
แหล่งสะสมภายในเซลล์
แหล่งสะสมในไขมัน
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
การกระจายตัวของยา
 few minutes to well-perfused organs:
 several minutes to hours:
19PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
Drug in Blood Drug in Tissue
Distribution
20
Pharmacokinetic
DRUG DISTRIBUTION ในระบบประสาทส่วนกลาง
capillary
Typical capillary bed
capillary
Blood-Brain Barrier
ประโยชน์ BBB : เกราะป้ องกัน CNS จากพิษรุนแรงของสารพิษ/ยาได้
ยาที่เข้าสู่ CNS ได้ – ละลายในไขมันได้ดี, อยู่ในรูปอิสระ, ไม่มีประจุ
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
21
Pharmacokinetic
การเปลี่ยนแปลงยา
(DRUG BIOTRANSFORMATION/ METABOLISM)
กระบวนการที่ยาถูกเปลี่ยนแปลงทางเคมีภายในร่างกาย ซึ่งเป็ นผลจาก
ปฏิกิริยาระหว่างยากับเอนไซม์ต่างๆ
อวัยวะหลักที่ทําหน้าที่เปลี่ยนแปลงยา คือ ตับ
ชนิดของปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา
PHARMACOKINETICS
Phase I reaction การเปลี่ยนแปลงยาเดิมให้เป็นเมแทบอไลต์ที่มีขั้วมากขึ้ น
(oxidation, reduction, hydrolysis) ได้เป็นเมแทบอไลต์ที่
ไม่มีฤทธิ์ มีฤทธิ์ต่าลง หรือเพิ่มฤทธิ์ได้
Phase II reaction “conjugation หรือ synthetic reactions” เป็นปฏิกิริยา
การจับของ endogenous substrate (glucoronic acid,
sulfate, glutathione) เข้ากับยา ทาให้ยามีขนาดใหญ่ขึ้ น
ดูดซึมได้ลดลงFACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
22
Pharmacokinetic
Drug
Excreted Excreted Excreted
• Oxidation
• Reduction
• Hydrolysis
Phase I
Polar gr.
- OH, -NH2,
- COOH,
Metabolites Phase II
Conjugation
+ Endogenous com.
- glucuronic acid,
- sulfate,
- glutathione etc.
Conjugated
metabolites
Oxidation > Mixed function oxidase system (microsome)
> Cytochrome P450 (CYP450)
- DRUG BIOTRANSFORMATION
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
23
Pharmacokinetic
DRUG METABOLISMPATHWAYS
PHARMACOKINETICS
24
Pharmacokinetic
- DRUG BIOTRANSFORMATION
PHARMACOKINETICS
PHARMACOKINETICS 25
26
Pharmacokinetic
ปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงยา
พันธุกรรม
สรีรวิทยา
-อายุ, เพศ
-ภาวะโภชนาการ
-พยาธิสภาพ
สิ่งแวดล้อม
-สารชักนาเอนไซม์(Enzyme inducers)
-สารยับยั้งเอนไซม์(Enzyme inhibitors)
- DRUG BIOTRANSFORMATION
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
27
Pharmacokinetic
การขับถ่ายยา (DRUG EXCRETION)
ยาจะถูกขับออกจากร่างกาย ได้ทั้งในรูปเดิม หรือรูปเมแทบอไลต์ของยา
ไต เป็นอวัยวะสาคัญที่สุดในการขับถ่ายยา โดยขับยาออกมาทาง
ทางน้าดี – ขับยากินที่เหลือจากการดูดซึม ขับออกมาทาง
ทาง – อาจก่อให้เกิดฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ของยา ต่อเด็กที่ดูดนมแม่
ทางปอด – ส่วนใหญ่ใช้ขับยาสลบที่เป็นแก๊ส ทาง
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
28
Pharmacokinetic
- DRUGEXCRETIONการขับถ่ายยาทางปั สสาวะ
Glomerular
filtration
(Unbound drug)
Active secretion (bound + free drug)
Organic
acids
Organic
bases
Distal
tubule
H+
Collecting
duct
Urine
(ionized and
non-lipid soluble drugs)
Loop of Henle
Passive
reabsorption
(non-ionized,
lipid soluble
drugs)
Proximal
tubule
Glomerulus
Glomerular
filtration
(free drug)
Active secretion(bound + free drug)
Passive
reabsorption
unionized
)
(lipid
soluble,
Glomerulus
Proximal
tubule
Loop of Henle
Distal
tubule
Glomerulus
Collecting
duct
Urine
(ionized+unionized
drug)
การขับถ่ายยาและเมแทบอไลต์ต่าง ๆ ทางปัสสาวะ
เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
 Glomerular filtration
 Active secretion
 Reabsorption
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
29
Pharmacokinetic
- DRUGEXCRETIONการขับถ่ายทางน้าดีและอุจจาระ
• Active transport (carrier): >>competition
Glucuronide
Intestine
feces
Active drug
> b-glucuronidase (bacteria)
reabsorbed
Enterohepatic
circulation
เมแทบอไลต์ของยาที่ถูกสร้างขึ้ นที่ตับ จะถูกขับออกทางลาไส้ผ่านน้าดี
เมแทบอไลต์เหล่านี้ อาจถูกขับออกทางอุจจาระ/อาจถูกดูดซึมกลับเข้ากระแสเลือด
แล้วถูกขับออกทางปัสสาวะ
Hepatic portal vein
Oral administration
Biotransformation
Systemic circulation
Liver
Intestine
PHARMACOKINETICS
FACULTY OF PUBLIC HEALTH, NRRU
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมา
30
Thank you for your attention
QUESTION & ANSWER
PHARMACOKINETICS
B.N.S(2nd class honors)
M.Sc (Pharmacology)
Facultyof Public Health, NRRU
Whatthedrugdoestothebody?
ยาทาอะไรกับร่างกาย
31
32
Pharmacodynamics
•
: non-binding-site, specific target-site
: targets for drug action
•
: affinity, efficacy, potency
: agonist, antagonist, partial agonist
•
: therapeutic index, margin of safety
•
: physiological/pharmacological antagonism
: competitive/non-competitive antagonist
OBJECTIVES
33
Pharmacodynamics
การศึกษาเกี่ยวกับผลทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยา
รวมถึง ที่มีต่อร่างกาย ทั้งในด้าน
และ ได้แก่ อาการ
ข้างเคียง และพิษของยา
PHARMACODYNAMICS
ACTION(HOW) & EFFECT (WHAT)
• Opium ………………..
• Colchicine……………..
• Salicin……………….....
• Castor 34
What does the drug do ?
ACTION(HOW) & EFFECT(WHAT)
• Opium ……………….
• Colchicine……………..
• Salicin…………………
• Castor 35
ACTION(HOW) & EFFECT(WHAT)
How does the drug do ?
36
Pharmacodynamics
Mechanisms of drug action
Low potency
-ฤทธิ์ที่เป็ นด่าง: Antacid
-ฤทธิ์ที่ก่อให้เกิดแรงดันออสโมซิส: Laxative, Diuretics
-ฤทธิ์ที่สามารถดูดซับ (adsorbent): activated carbon
Most drugs:
-ออกฤทธิ์ได้แม้ในความเข้มข้นตํ่า ๆ
-มีความจําเพาะต่อตัวรับ ซึ่งเป็ นโปรตีนจําเพาะบนเนื้อเยื่อสูง
-การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเคมีของยา อาจมีผลอย่างมากต่อฤทธิ์ของยา
(เพิ่มขึ้นมาก/ หมดฤทธิ์ไป/ เปลี่ยนฤทธิ์เป็ นอย่างอื่น)
37
การออกฤทธิ์ของยาโดยผ่าน
สารที่สามารถจับกับตัวรับ และมีฤทธิ์กระตุ้นตัวรับ ให้
เกิดผลสนอง (stimulates responses)
สารที่สามารถจับกับตัวรับ แต่ไม่ชักนําให้เกิดผล
(blocks agonist-mediated responses)
38
ปฏิกิริยาระหว่างยากับตัวรับ
ยาที่สามารถจับกับตัวรับและสามารถชักนําให้เซลล์ตอบสนองได้
ยาที่สามารถจับกับตัวรับ แต่ไม่สามารถกระตุ้นตัวรับให้เกิดการตอบสนอง
ยาที่สามารถจับกับตัวรับ และกระตุ้นให้เกิดผลสนองได้ แต่ไม่ได้สูงสุด
ความสามารถในการจับของยากับตัวรับ
Affinity Efficacy/ Intrinsic activity
ความสามารถในการชักนําให้เซลล์เกิดการตอบสนอง
39
40
AGONIST DOSE RESPONSE
CURVES
AGONIST WITH ANTAGONIST DOSE RESPONSE CURV
100
%
41
Pharmacodynamics
Targets for drug actions
Physiologic receptor: เป็ นตัวกลางที่ถ่ายทอดสัญญาณ
ระหว่างสารสื่อในร่างกาย (Neurotransmitter, hormone) กับตัว
แสดงผลภายในเซลล์
Enzymes: e.g. simvastatin HMG CoA reductase
Structural protein, Ion channel, Carrier:
e.g. lidocaine Na+ channel Nerve impulse
(-) (-)
(-)
42
การขัดขวางการออกฤทธิ์
เป็ นสถานการณ์ที่พบได้เสมอ
เมื่อใช้ยาตัวหนึ่ง ร่วมกับยา/สารอีกชนิดหนึ่ง
การขัดขวางฤทธิ์ที่เกิดขึ้น เมื่อสารสองชนิดในสารละลาย
ทําปฏิกิริยาเคมีต่อกัน ทําให้สารหนึ่งหมดฤทธิ์
EDTA+ Pb2+ EDTA-Pbcomplex excretion
ปฏิกิริยาที่เกิดจากสารสองชนิดออกฤทธิ์บน
เนื้อเยื่อเดียวกัน แต่มีผลสนองขัดขวางกัน หรือตรงข้ามกัน
Adrenaline Histamine
H1-receptorb-receptor
Bronchospasm
Bronchialsmoothmuscle
Bronchodilatation
43
เป็ นการขัดขวางฤทธิ์โดยสารสองชนิด
ชนิดหนึ่งเป็ น agonist อีกชนิดเป็ น antagonist
 Competitive antagonism แย่งจับตัวรับแบบเดียวกัน โดยจับกันแบบ
ผันกลับได้(reversible) แย่งจับที่ receptor เดียวกันกับ agonist, maximum
effect ไม่เปลี่ยน
 Non-competitive antagonism แย่งจับตัวรับ ณ ตำแหน่งที่ต่ำงจำกที่
agonist จับและทำให้กำรจับของ agonist กับตัวรับลดลง หรือกำรที่
antagonist จับกับตัวรับแบบถำวร (irreversible) maximum effect ลดลง
44
Pharmacodynamics
Competitive antagonist
Agonist alone
Agonist+Antagonist
Non-competitive antagonist
Agonist alone
Agonist+Antagonist
45
Enhancement of Drug Effects
การเสริมฤทธิ์กันของยา
ยา 2 ชนิดให้ผลการรักษาคล้ายกันถ้าใช้ร่วมกันจะได้ฤทธิ์เสริมกันหรือบวกกัน
CCl4+ isoproterenol
46
- ยาทุกตัวจะให้ฤทธิ์ที่เป็ นทั้งประโยชน์และโทษ เพราะยาส่วนใหญ่มักออก
ฤทธิ์ไม่เฉพาะเจาะจง (specificity)
- ยาในปัจจุบันถูกพัฒนาให้เลือกจับกับตัวรับ (selectivity) แต่ก็ยังเกิด
ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์
- นักวิทยาศาสตร์พยายามพัฒนายาที่ไม่มีผลที่ไม่พึงประสงค์ (Ideal
drugs)
47
การออกฤทธิ์ของยาที่ทําให้เกิดฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์มีกลไกหลายแบบดังนี้
48
Pharmacodynamics
ความแรงของยา ที่ทําให้เนื้อเยื่อเป้ าหมายตอบสนอง
มักใช้ในเชิงเปรียบเทียบระหว่างยาต่างชนิด
C
D
E
Maximum response
A
B
Drugeffect(%response)
Log [Drug concentration]
50
100
0
A, B= fullagonist
C, D= partial agonist
E = antagonist
(Potency: D >A >B > C)
49
50
Pharmacodynamics
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาและการตอบสนอง
ยาที่สามารถให้ผลตอบสนองสูงกว่า = มี efficacy มากกว่า
(Efficacy: A = B >C >D)
C
D
E
Maximum response
A
B
Drugeffect(%response)
Log [Drug concentration]
50
100
0
51
52
Pharmacodynamics
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาและการตอบสนอง
เภสัชวิทยาในระดับประชากร
EC50 (MEAN EFFECTIVE CONCENTRATION) หรือ ED50 (MEAN
EFFECTIVE DOSE)
ความเข้มข้นของยา หรือขนาดของยาที่ทําให้กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50 มีการ
ตอบสนองตามที่ได้กําหนดไว้
Therapeutic index ค่าดัชนีในการรักษา (LD50 /ED50 )
เป็ นตัวเลขที่แสดงให้ทราบถึงความปลอดภัยในการใช้ยา คํานวณจากอัตราส่วน
ของขนาดความเป็ นพิษ (LD50) ต่อขนาดที่ใช้รักษา (ED50)
ถ้า therapeutic index สูง แสดงยานั้นจะมีความปลอดภัยในการใช้มาก
Margin of safety ค่าความปลอดภัยในการใช้ยา
ขนาดยาที่แตกต่างกันระหว่างขนาดที่ก่อให้เกิดอันตราย กับขนาดที่ใช้รักษา
นั่นคือ LD50 - ED50
53
54
Pharmacodynamics
No.ofanimal(%)
50
[dose]
Therapeutic
response Death or
Toxic effect
Drug A
ED50 LD50
100
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาและการตอบสนอง
50
Therapeutic
response
No.ofanimal(%)
Drug B
Death or
Toxic effect
ED50 LD50 [dose]
100
55
Pharmacodynamics
Summary of drug therapy
56
Pharmacodynamics
QUESTION ??
AND
ANSWER
-Thankyoufor your attention-
57
Pharmacodynamics
QUIZzz ???

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree TantisiriUtai Sukviwatsirikul
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, Utai Sukviwatsirikul
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดkalzitem
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวดJumpon Utta
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 

Was ist angesagt? (20)

หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 

Andere mochten auch

1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Observation unit setup
Observation unit setupObservation unit setup
Observation unit setuptaem
 
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ คืนเคียง ฟ้าฟื้น
 
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555Duangkamol Nutrawong
 
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย์
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย์แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย์
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย์Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
Narcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic DrugsNarcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic DrugsPharmCU
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ Utai Sukviwatsirikul
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์adriamycin
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Utai Sukviwatsirikul
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์taem
 
Pharmacodynamics revised
Pharmacodynamics   revisedPharmacodynamics   revised
Pharmacodynamics revisedOmar Moatamed
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองNana Sabaidee
 
Pharmacokinetics - drug absorption, drug distribution, drug metabolism, drug ...
Pharmacokinetics - drug absorption, drug distribution, drug metabolism, drug ...Pharmacokinetics - drug absorption, drug distribution, drug metabolism, drug ...
Pharmacokinetics - drug absorption, drug distribution, drug metabolism, drug ...http://neigrihms.gov.in/
 

Andere mochten auch (20)

Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Observation unit setup
Observation unit setupObservation unit setup
Observation unit setup
 
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
 
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
 
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย์
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย์แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย์
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย์
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
Narcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic DrugsNarcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic Drugs
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
 
Pharmacodynamics revised
Pharmacodynamics   revisedPharmacodynamics   revised
Pharmacodynamics revised
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
 
Pharmacokinetics - drug absorption, drug distribution, drug metabolism, drug ...
Pharmacokinetics - drug absorption, drug distribution, drug metabolism, drug ...Pharmacokinetics - drug absorption, drug distribution, drug metabolism, drug ...
Pharmacokinetics - drug absorption, drug distribution, drug metabolism, drug ...
 

Mehr von Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

Mehr von Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา