SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 67
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ปฐพีวิทยาเบื้องต้น
(Introduction to Soil Science)
(424131)
บทนา (Introduction)
1. ปฐพีวิทยาธรรมชาติ (Pedology) ดิน หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุม
ผิวโลกอยู่บางๆเกิดจากการแปรสภาพหรือผุพังของหินและแร่ และ
อินทรียวัตถุผสมคลุกเคล้ากัน
นิยามของดิน ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาดิน
2. ปฐพีวิทยาสัมพันธ์ (Edaphology) ดิน หมายถึง เทหวัตถุที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติรวมกันเป็นชั้น จากส่วนผสมของแร่ธาตุต่างๆ ที่สลายตัวเป็นชิ้น
เล็กชิ้นน้อยกับอินทรียวัตถุที่เปื่อยผุพัง รวมกันเป็นชั้นบางๆห่อหุ้มผิวโลก
และเมื่อมีอากาศและน้าในปริมาณที่เหมาะสมแล้วจะช่วยค้าจุน พร้อมทั้งช่วย
ยังชีพและการเจริญเติบโตของพืช
แนวทางด้านปฐพีวิทยาธรรมชาติ (Pedological Approach)
- การกาเนิดและการจาแนกดิน (Soil Genesis and Classification)
- การสารวจดินและสัณฐานวิทยา (Soil Survey and Morphology)
- ปฐพีวิทยาจุลภาค (Micropedology)
แนวทางด้านปฐพีวิทยาสัมพันธ์ (Edaphological Approach)
- ฟิสิกส์ของดิน (Soil Physic)
- เคมีของดิน (Soil Chemistry)
- จุลชีววิทยาของดิน (Soil Microbiology)
- ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (Soil Fertility)
- การอนุรักษ์ดิน (Soil Conservation)
แนวทางการศึกษาทางดิน (Approaches in Soil Science)
ส่วนประกอบของดิน (Soil Component)
แบ่งออกเป็น 4 ส่วน
1. อนินทรียวัตถุ หรือ แร่ธาตุ (Mineral Matter) 45% โดยปริมาตร
2. อินทรียวัตถุ (Organic Matter) 5% โดยปริมาตร
3. น้า (Water) 25% โดยปริมาตร
4. อากาศ (Air) 25% โดยปริมาตร
ช่องว่าง 50%
ของแข็ง 50%
กิบบ์ไซต์
granular structure vughy structure
short planar voids
microlaminated clay
granular structure
open porphyric clay coating
ควอร์ตซ์
จุลสัณฐานวิทยาภายใต้ป่ าดิบชื้น
ก : พีดอน 1 (AB) ข : พีดอน 1 (Bt)
ค : พีดอน 2 (BA) ง : พีดอน 2 (Bt2)
หน้าตัดดิน (Soil Profile)
ดินล่าง (Subsoil)
วัตถุต้นกาเนิด (Parent Material)
หินพื้น (Bed Rock)
ดินบน (Surface Soil)
ตะกอนพื้นผิว
(Regolith)
โซลัม
(Solum)
ซับสตราตัม
(Substratum)
วัสดุประกอบดิน (Soil Forming Materials)
หมายถึง วัสดุที่ประกอบกันหรือผสมกันแล้ว ของผสมนั้นเรียกว่าดิน
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
วัสดุอนินทรีย์ประกอบดิน (Inorganic Soil Forming Materials)
แร่ (Minerals)
หิน (Rocks)
วัสดุอินทรีย์ประกอบดิน (Organic Soil Forming Materials)
วัสดุอนินทรีย์ประกอบดิน
แร่ (Minerals)
หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มี
โครงสร้างภายในที่เป็นระเบียบ มีสูตรเคมีและสมบัติอื่นๆที่แน่นอน
และเปลี่ยนแปลงได้ในวงจากัด
แบ่งตามการเกิดออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
1.แร่ปฐมภูมิ (Primary Minerals)
หมายถึง แร่ที่เกิดจากการเย็นตัวของหินหนืด (magma) โดยปรกติจะ
มีผลึกและโครงสร้างที่แน่นอน
2.แร่ทุติยภูมิ (Secondary Minerals)
หมายถึง แร่ที่เกิดจากการการผุพังหรือการตกตะกอนของแร่ปฐมภูมิ
โดยกระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวภาพ
1.กลุ่มแร่เฟลด์สปาร์ (Feldspar Group) หรือ แร่ฟันม้า
- พบมากที่สุดในแร่ประกอบหิน (rock-forming minerals)
1.1 โพแทสเฟสด์สปาร์ (potash feldspar) (KAlSi3O8)
1.2แพลจิโอเคลสเฟลด์สปาร์ (plagioclase feldspar)
(Na,Ca)(Al,Si)AlSi2O8
กลุ่มแร่ที่พบมากในดิน
2.กลุ่มแร่ซิลิกา (Silica Group)
- พบมากเป็นที่สองในแร่ประกอบหิน
- พบแร่ควอร์ตซ์ (quartz) (SiO2) หรือ แร่เขี้ยวหนุมาน พบมากที่สุด
โพแทสเฟสด์สปาร์ (potash feldspar)
(KAlSi3O8) หรือแร่ ไมโครไคลน์
แร่ควอร์ตซ์ (quartz) (SiO2)
หรือ แร่เขี้ยวหนุมาน
4.กลุ่มแร่แอมฟิโบล (Amphibole Group)
- ฮอร์นเบลนด์ (hornblende) พบมากที่สุด
5.กลุ่มแร่ไพรอกซีน (Pyroxene Group)
- ออไจต์ (augite) พบมากที่สุด
6.กลุ่มแร่คาร์บอร์เนต (Carbonates)
6.1แคลไซต์ (calcite)
6.2โดโลไมต์ (dolomite)
3.กลุ่มแร่ไมกา (Mica Group) หรือ แร่กลีบหิน
3.1มัสโคไวต์ (muscovite) หรือ แร่กลีบหินขาว
3.2ไบไอไทต์ (biotite) หรือ แร่กลีบหินดา
กลุ่มแร่ไมกา (Mica Group) กลุ่มแร่แอมฟิโบล (Amphibole Group)
กลุ่มแร่ไพรอกซีน (Pyroxene Group) กลุ่มแร่คาร์บอร์เนต (Carbonates)
7.กลุ่มแร่ดินเหนียว (Clay Minerals)
- กลุ่มขนาดอนุภาคดินที่มีขนาดเล็กกว่า 2 ไมโครเมตร (< 0.002 มม.)
7.1เคโอลิไนต์ หรือ ดินขาว (kaolinite)
- แผ่นซิลิกา:อะลูมินา แบบ 1:1
7.2มอนต์มอริลลอไนต์ (montmorillonite)
- แผ่นซิลิกา:อะลูมินา แบบ 2:1
7.3เวอร์มิคิวไลต์ (vermiculite)
- แผ่นซิลิกา:อะลูมินา แบบ 2:1
7.4อิลไลต์ (illite or hydrous mica)
- แผ่นซิลิกา:อะลูมินา แบบ 2:1 โครงสร้างมีโพแทสเซียมสูง
เคโอลิไนต์ หรือ ดินขาว (kaolinite) มอนต์มอริลลอไนต์ (montmorillonite)
เวอร์มิคิวไลต์ (vermiculite) อิลไลต์ (illite or hydrous mica)
8.กลุ่มแร่เหล็กออกไซด์ (Iron Oxides)
8.1แมกนีไทต์ (magnetite) หรือ แร่เหล็กดา
8.2ฮีมาไทต์ (hematite) หรือแร่เหล็กแดง
8.3ไลมอไนต์ (limonite)
9.แร่อื่นๆ
9.1ยิปซัม (gypsum) หรือ แร่เกลือจืด
9.2ไพไรต์ (pyrite)
9.3เฮไลต์ (halite) หรือ เกลือ หรือเกลือแกง
9.4อะพาไทต์ (apatite)
9.5อื่นๆ
กลุ่มแร่เหล็กออกไซด์ (Iron Oxides) แร่ยิปซัม (gypsum) หรือ แร่เกลือจืด
แร่ ไพไรต์ (pyrite) แร่เฮไลต์ (halite) หรือเกลือแกง
หิน (Rocks)
หมายถึง มวลของแข็งที่ประกอบด้วยแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมกัน
อยู่ตามธรรมชาติ
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1. หินอัคนี (Igneous Rocks)
2. หินชั้น หรือ หินตะกอน (Sedimentary Rocks)
3. หินแปร (Metamorphic Rocks)
หินอัคนี (Igneous Rocks)
หมายถึง หินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืด (magma) ที่อยู่ภายใต้
เปลือกโลก
การเกิดและลักษณะเนื้อของหินอัคนีแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ
1. เกิดจากการเย็นตัวของหินหนืดภายในเปลือกโลก หรือ ใต้ผิวโลก
(Intrusive or Plutonic) หินมีลักษณะเนื้อหยาบ
2. เกิดจากการเย็นตัวของหินหนืดอย่างรวดเร็วบนผิวโลก
(Extrusive or Volcanic) หินมีลักษณะเนื้อละเอียด
3. เกิดจากการเย็นตัวสองครั้ง (Hypabyssal) ในระดับตื้นของหินหนืด
หินลักษณะเนื้อดอก โดยมีเนื้อหยาบและเนื้อละเอียดผสมกัน
การจาแนกหินอัคนี
- แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม โดยใช้องค์ประกอบเชิงแร่ และสี
1. มีซิลิกา (SiO2) มากกว่า 66% เป็นหินสีจาง จัดเป็นกลุ่มหินชนิดกรด
(Acid Rocks) ตัวอย่างเช่น หินแกรนิต
2. มีซิลิกา 52-66% เป็นหินสีจาง-สีเข้ม จัดเป็นกลุ่มหินชนิดเป็นกลาง
(Intermediate Rocks) ตัวอย่างเช่น หินไดออไรต์
3. มีซิลิกา 45-52% เป็นหินสีเข้ม จัดเป็นกลุ่มหินชนิดเบส
(Basic Rocks) ตัวอย่างเช่น หินแกบโบร
4. มีซิลิกาน้อยกว่า 45% เป็นหินสีเข้มมาก จัดเป็นกลุ่มหินชนิดอัลตรา
เบสิก (Ultrabasic Rocks) ตัวอย่างเช่น หินเพอริโดไทต์
ชนิดของหินอัคนี
- แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม
1. ตระกูลแกรนิต-ไรโอไลต์ (granite-rhyolite family)
- แกรนิต พบมากกว่า 90% ของหินอัคนีที่เกิดจากการเย็นตัวของ
หินหนืดภายในเปลือกโลก
2. ตระกูลไดโอไรต์-แอนดีไซต์ (diorite-andesite family)
3. ตระกูลแกบโบร-บะซอลต์ (gabbros-basalt family)
4. ตระกูลเพอริโดไทต์ (peridotite family)
5. หินแก้วภูเขาไฟและหินชิ้นภูเขาไฟ(volcanic glass and pyroclastic)
ตระกูลแกรนิต-ไรโอไลต์ ตระกูลไดโอไรต์-แอนดีไซต์
ตระกูลแกบโบร-บะซอลต์ หินแก้วภูเขาไฟ
หินชั้น หรือหินตะกอน
(Sedimentary Rocks)
หมายถึง หินที่เกิดจากการทับถมของตะกอน ตะกอนเหล่านี้เกิดจากการ
ผุพังแตกสลายของหินอัคนี หินแปร หรือ หินชั้นที่มีอายุเก่ากว่า ถูกพัดพา
มาสะสมโดยน้า ลม ธารน้าแข็ง หรือ การตกตะกอนทางเคมี รวมถึงการ
สะสมของซากดึกดาบรรพ์ด้วย ตะกอนเหล่านี้จะมีการสะสมตัวเป็นชั้นๆ
และเมื่อมีการแข็งตัวจะกลายเป็นหิน
การเกิดของหินตะกอน เกิดจาก 4 กระบวนการ
1. การผุพังอยู่กับที่ (Weathering)
2. การพัดพา (Transportation) ชิ้นส่วนที่เกิดจากการผุพังอยู่กับที่
3. การตกตะกอน (Sedimentation)
4. การแข็งตัว (Lithification)
การจาแนกหินตะกอน
- แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้การเกิด
1. หินตะกอนที่เกิดจากการทับถมของชิ้นส่วนของหินเดิมหรือหิน
ตะกอนเนื้อประสม (Clastic Rocks) ตัวอย่างเช่น หินกรวดกลม
2. หินตะกอนที่เกิดจากการตกตะกอนทางเคมีและชีวภาพ (Chemical
Organic Rocks) ตัวอย่างเช่น หินปูน, ถ่านหิน
ชนิดของหินตะกอนที่พบมาก
1. หินดินดาน (shale) เกิดจากการทับถมอนุภาคขนาดละเอียด
2. หินทราย (sandstone) เกิดจากการทับถมอนุภาคขนาดทราย
3. หินปูน (limestone) เกิดจากการตกผลึกทางเคมี
4. หินดินมาร์ล (marl) เกิดจากหินปูนที่สลายตัวมาทับถมผสมกับดินเหนียว
หินดินดาน (shale) หินทราย (sandstone)
หินปูน (limestone) หินกรวดมน (conglomerate)
หินแปร (Metamorphic Rocks)
หมายถึง หินที่แปรสภาพไปจากหินเดิม โดยการกระทาของความร้อน
ความดัน และ ปฏิกิริยาเคมีของของเหลวและก๊าซ
การแปรสภาพของหินแปร เกิดจาก 4 กระบวนการ
1. การแปรสภาพสัมผัส (Contact Metamorphism)
2. การแปรสภาพจากการเคลื่อนที่ (Dislocation Metamorphism)
3. การแปรสภาพบริเวณไพศาล (Regional Metamorphism)
4. การแปรสภาพจากการเย็นตัวของหินหนืด (Plutonic
Metamorphism)
การจาแนกหินแปร
- แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้โครงสร้างในเนื้อของหินแปร
1. หินแปรที่เกิดมีโครงสร้างริ้วขนาน (Foliated Structure)
- แนวแตกแบบหินชนวน(slaty cleavage)
- การเรียงตัวแบบหินชีสต์ (schistoscity)
- การเรียงตัวเป็นชั้นแบบหินไนส์ (gneissic layering)
2. หินแปรที่มีโครงสร้างแบบไม่มีริ้วขนาน (Nonfoliated Structure)
ชนิดของหินแปรที่พบมาก
1. หินชนวน (slate) แปรสภาพมาจากหินดินดาน
2. หินไนส์ (gneiss) แปรสภาพมาจากหินแกรนิต
3. หินอ่อน (marble) แปรสภาพมาจากหินปูน
4. หินควอร์ตไซต์ (quartzite) แปรสภาพมาจากหินทราย
หินชนวน (slate) หินไนส์ (gneiss)
หินอ่อน (marble) หินควอร์ตไซต์ (quartzite)
วัสดุอินทรีย์ประกอบดิน
แหล่งที่มาของอินทรียวัตถุ
- พืช อินทรียวัตถุส่วนใหญ่ได้มาจากอินทรียสารที่เป็นเนื้อเยื่อพืช
- สัตว์ ซึ่งจัดเป็นแหล่งทุติยภูมิของอินทรียสาร
ชนิดของสารประกอบในเนื้อเยื่อพืช
1. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrates) ปริมาณ 60% ของน้าหนักแห้ง
2. ลิกนิน (Lignins) ปริมาณ 25% ของน้าหนักแห้ง
3. โปรตีนต่างๆ (Protiens) ปริมาณ 10% ของน้าหนักแห้ง
4. สารอื่นๆ ปริมาณ 5% ของน้าหนักแห้ง เช่น ไขมัน (fats), ขี้ผึ้ง
(waxes), แทนนิน (tannins)
Organic Compounds in Soil The Changing Forms of Soil Organic Matter
การกาเนิดของดิน (Soil Genesis)
ขั้นตอนการเกิดของดิน
วัสดุประกอบดิน วัตถุต้นกาเนิดดิน ดิน
อินทรียวัตถุ
กระบวนการทาลาย กระบวนการสร้าง
กระบวนการทาลาย จะรวมความถึง กระบวนการผุพังอยู่กับที่ การกร่อน และการพัดพา
กระบวนการสร้าง โดยทั่วไปเรียก กระบวนการทางดิน (pedogenic processes)
กระบวนการผุพังอยู่กับที่
(Weathering Processes)
กระบวนการผุพังอยู่กับที่ทางฟิสิกส์ (Physical Weathering Processes)
1. การแตกเป็นแผ่นเพื่อลดความดัน (Unloading)
2. การแตกของหินเนื่องจากการเติบโตของผลึก (Crystal Growth)
3. การแตกของหินเนื่องจากอิทธิพลของความร้อน (Thermal Exfoliation)
4. การแตกของหินเนื่องจากขยายตัวเพราะความชื้น (Moisture Swelling)
5. การผุพังอยู่กับที่เนื่องจากการเปียกและแห้งสลับกัน
(Wetting and Drying Weathering)
6. การแตกของหินเนื่องจากการครูดถู (Abrasion)
กระบวนการผุพังอยู่กับที่ทางเคมี (Chemical Weathering Processes)
1. ไฮโดรไลซิส (Hydrolysis)
KAlSi3O8 + H2O HAlSi3O8 + K+ + OH-
2. การละลาย (Solution)
NaCl + H2O Na+ + Cl- + H2O
3. ไฮเดรชัน (Hydration)
CaSO4 + 2H2O CaSO4 . 2H2O
4. ออกซิเดชัน (Oxidation)
2FeS2 + 7O2 + 2H2O 2Fe+2 + 4SO4
-2 + 4H+
กระบวนการผุพังสลายตัวของวัสดุอินทรีย์
อัตราการสลายตัว จากง่ายไปถึงยากที่สุด
น้าตาล แป้งและโปรตีนที่มีสูตรไม่ซับซ้อน โปรตีนสูตร
ซับซ้อน เฮมิเซลลูโลส เซลลูโลส ลิกนิน ไขมัน
และ ขี้ผึ้ง
ผลที่จากการผุพังสลายตัว
1. ผลทางฟิสิกส์ วัสดุประกอบดินอนินทรีย์มีขนาดเล็กลง
2. ผลทางเคมี เกิดแร่ใหม่, ปริมาตรรวมเพิ่มขึ้น, ความถ่วงจาเพาะลดลง
3. ผลทางอินทรีย์ มีการปลดปล่อยธาตุอาหารพืช และ เกิดสารฮิวมัส
4. ผลโดยรวม เกิดเป็นวัตถุต้นกาเนิดดิน
กระบวนการทางดิน (Pedoginic Processes)
กระบวนการสร้างดิน แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม
1. การเพิ่มเติม (Additions)
2. การสูญเสีย (Losses)
3. การเคลื่อนย้าย (Translocations)
4. การเปลี่ยนแปลงรูป (Transformations)
1. การเพิ่มเติม
- การเพิ่มวัสดุในดิน (Enrichment)
- การตกทับถมของเศษพืช (Littering)
2. การสูญเสีย
- การชะละลาย (Leaching)
- การกร่อน (Erosion)
3. การเคลื่อนย้าย
- การซึมชะหรือการเคลื่อนย้ายออก (Eluviations)
- การสะสมหรือการเคลื่อนย้ายเข้า (Illuviation)
4. การเปลี่ยนแปลงรูป
- การสลายตัว (Decomposition)
- การเกิดฮิวมัส (Humification)
1. สภาพภูมิอากาศ (Climates)
2. ความต่างระดับ (Relief) หรือ สภาพภูมิประเทศ
(Topography)
3. สิ่งมีชีวิต (Organisms) หรือ ปัจจัยชีวภาพ (Biotic Factor)
4. วัตถุต้นกาเนิดดิน (Soil Parent Materials)
5. เวลา (Times)
ปัจจัยที่ควบคุมการสร้างตัวของดิน
(Factors of Soil Formation)
ปัจจัย 5 ชนิด
สภาพภูมิอากาศ
ตัวการที่สาคัญ
- หยาดน้าฟ้า (precipitation)
- อุณหภูมิ (temperature)
ความแตกต่างของดินเมื่อสภาพภูมิอากาศแตกต่างกันไป เรียกว่า
ลาดับภูมิอากาศ (Climosequences)
สภาพภูมิอากาศ
1
2
3
4
ยอดดอยอินทนนท์
แม่จรหลวง
บ้านแม่มะลอ
อาเภอแม่แจ่ม
สถานี
2,565
1,391
900
480
2,193.8
1,912.8
1,344.1
650.4
12.1
19.0
23.9
24.6
ความสูง
(เมตร)
บริเวณ ปริมาณฝน
(มม./ปี)
อุณหภูมิเฉลี่ย
(Co)
สภาพภูมิประเทศ
ตัวการที่สาคัญ
- ความสูง (elevation)
- ความลาดเท (slope)
ลาดับดินที่มีความสัมพันธ์กันแต่มีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องจากเกิดใน
สภาพภูมิประเทศที่ไม่เหมือนกัน เรียกว่า ลาดับภูมิประเทศ (Toposequences)
ลาดับดินที่เกิดจากวัตถุต้นกาเนิดดินและเกิดในสภาพภูมิอากาศที่คล้ายคลึงกัน
แต่ดินมีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องมาจากความแตกต่างกันในสภาพความสูง
ต่าของพื้นที่และสภาพการระบายน้า เรียกว่า ลาดับดิน (Soil Catenas)
สิ่งมีชีวิต
ตัวการที่สาคัญ
- พืชพรรณ (Vegetation)
- สัตว์ (Animals)
- มนุษย์ (Human)
ความแตกต่างของดินเมื่อสิ่งมีชีวิตแตกต่างกันไป เรียกว่า
ลาดับชีวภาพ (Biosequences)
2.1.2 การศึกษาสีดิน
ลักษณะสี 3 อย่างคือ Hue (สีสัน), Value (ค่าสี) และ Chroma (ค่า
รงค์) วัดโดยสมุดเทียบสีดินมันเซลล์ (Munsell Soil Color Charts)
2.1.3 การบันทึกสีดิน
1. ชื่อของสีดิน (color name) เช่น brown (น้าตาล)
2. รหัสมันเซลล์อยู่ในวงเล็บ hue value / chroma เช่น 10YR 5/3
3. สภาพความชื้น (moisture status) เช่น dry (แห้ง)
2.1.4 ตัวอย่างการอธิบาย
“ Brown (10 YR 5 / 3) dry ”
Hue 10YRValue
4/
3/
2/
1/
5/
6/
7/
8/
10YR4/2
/1 /2 /3 /4 /6 /8
Chroma
Dark
Grayish Brown
2.2 เนื้อดิน (Soil texture)
2.2.1 กลุ่มของชั้นเนื้อดิน
คาเรียกเนื้อดิน ลักษณะเนื้อดิน ชั้นเนื้อดิน
ดินทราย เนื้อหยาบ ทราย (Sands),
(Sandy soils) (Coarse textured) ทรายปนร่วน
(Loamy sand)
ดินร่วน เนื้อหยาบปานกลาง ดินร่วนปนทรายหยาบ
(Loamy soils) (Moderately coarse (Coarse sandy loam),
texture) ดินร่วนปนทราย
(Sandy loam),
ดินร่วนปนทรายละเอียด
(Fine sandy loam)
เนื้อปานกลาง ดินร่วนปนทรายละเอียด
(Medium textured) มาก (Very fine sandy
loam), ดินร่วน (Loam),
ดินร่วนปนทรายแป้ง
(Silty loam), ทรายแป้ง
(Silt)
เนื้อละเอียดปานกลาง ดินร่วนเหนียว (Clay
(Moderately fine textured) loam), ดินร่วนเหนียว
ปนทราย (Sandy clay
loam), ดินร่วนเหนียวปน
ทรายแป้ง (Silty clay loam)
ดินเหนียว เนื้อละเอียด ดินเหนียวปนทราย (Sandy
(Clayey soils) (Fine textured) clay), ดินเหนียวปนทราย
แป้ง (Silty clay), ดินเหนียว
(Clay)
2.2.2 การทดสอบเนื้อดิน
ใช้วิธีการทดสอบโดยการสัมผัส (Feel method)
2.1.4 ตัวอย่างการอธิบาย
“ Sandy clay ” (ดินเหนียวปนทราย)
ตารางแจกแจงเนื้อดิน
ตัวอย่างการจับเนื้อดินโดยวิธีสัมผัส (Feel method)
ตัวอย่างการจับเนื้อดินโดยวิธีสัมผัส (Feel method)
ตัวอย่างการจับเนื้อดินโดยวิธีสัมผัส (Feel method)
2.3.1 การอธิบายโครงสร้างของดิน
1. รูปร่าง (Shape)
- แบบแผ่น (Platy)
- แบบแท่งหัวเหลี่ยม (Prismatic)
- แบบแท่งหัวมน (Columnar)
- แบบก้อนเหลี่ยม (Blocky)
- ก้อนเหลี่ยมมุมคม (Angular blocky)
- ก้อนเหลี่ยมมุมมน (Subangular blocky)
- แบบก้อนกลม (Granular)
2.3 โครงสร้างของดิน (Soil structure)
โครงสร้างของดิน
Columnar structure (Argentina)
2. ขนาด (Size)
- ละเอียดมาก, ละเอียด, ปานกลาง, หยาบ, หยาบมาก
3. ความชัดเจน (Grade)
- อ่อน (Weak), ปานกลาง (Moderate), แข็งแรง (Strong)
2.3.2 ตัวอย่างการอธิบาย
“ Strong fine granular structure ”
โครงสร้างแบบก้อนกลมขนาดเล็กที่มีความแข็งแรง
2.4.1 นิยาม
“สมบัติของดินที่แสดงถึงระดับความมากน้อยของความเชี่อมแน่น
(cohesion) และการยึดติด (adhesion)”
2.4.2 การทดสอบ
1. ความต้านทานต่อการแตกหัก (Rupture resistance)
ดินแห้ง : Loose, Soft, Slightly hard, Hard, Very hard
ดินชื้น : Loose, Very friable, Friable, Firm, Very firm
2.3 การยึดตัวของดิน (Soil consistence)
2. การเปลี่ยนรูปได้ (Plasticity)
: Non-plastic, Slightly plastic, Moderately plastic, Very plastic
3. ความเหนียว (Stickiness)
: Non-sticky, Slightly sticky, Moderately sticky, Very sticky
2.4.3 ตัวอย่างการอธิบาย
“ Hard dry, Firm moist, Moderately sticky and Very plastic ”
2.5 ช่องว่างในดิน (Pores)
2.5.1 การอธิบาย
ปริมาณ : น้อย, ปานกลาง, มาก
ขนาด : เล็กมาก, เล็ก, ปานกลาง, ใหญ่, ใหญ่มาก
รูปร่าง : Vesicular, Tubular, Irregular
2.5.2 ตัวอย่างการอธิบาย
“ Many fine tubular pores ”
ช่องว่างรูปร่างเป็นทรงกระบอกขนาดเล็กมีปริมาณมาก
ตัวอย่างช่องว่างในดิน
2.6 รากพืช (Roots)
2.6.1 การอธิบาย
ปริมาณ : น้อย, ปานกลาง, มาก
ขนาด : เล็กมาก, เล็ก, ปานกลาง, ใหญ่, ใหญ่มาก
2.5.2 ตัวอย่างการอธิบาย
“ Many fine roots ”
รากพืชขนาดเล็กมีปริมาณมาก
ตัวอย่างรากพืชในดิน
2.7 ขอบเขตของชั้นดิน (Boundaries of soil horizons)
2.7.1 การอธิบาย
ความชัดเจน : ชัดเจนมาก, ชัดเจน, ไม่ค่อยชัดเจน, ไม่ชัดเจน
ความสูงต่า : เรียบ, เป็นลูกคลื่น, ไม่แน่นอน, ไม่ต่อเนื่อง
2.7.2 ตัวอย่างการอธิบาย
“ Clear and wavy boundary to E ”
ขอบเขตของชั้นดินระหว่างชั้นชัดเจนและเป็นลูกคลื่นไปสู่
ชั้น E
2.8 ปฏิกิริยาดิน (Soil reaction, pH)
2.8.1 ความสาคัญ
วินิจฉัยสภาพเบส ระดับการผุพังอยู่กับที่ปริมาณการชะละลาย ความเป็น
ประโยชน์ได้ของธาตุอาหารพืชบางชนิด และสภาพความเป็นพิษของพืช
ต่อดิน
2.8.2 การวัด pH
pH test kit (Indicator solution) หรือ pH meter
2.8.3 ตัวอย่างการอธิบาย
“ Neutral (pH 7.0) ”
ปฏิกิริยาดินเป็นกลาง
ชั้นดิน O (O Horizons)
- ชั้นบนสุด อินทรียวัตถุที่ยังไม่สลายตัวและสลายตัวแล้ว
- ปริมาณอินทรียวัตถุมากกว่า 20 % เมื่อเป็นดินแร่ธาตุไม่มีดินเหนียว
- ปริมาณอินทรียวัตถุมากกว่า 30 % เมื่อ % ดินเหนียวมากกว่า 50 %
ชั้นดิน A (A Horizons)
- ชั้นเกิดที่ผิวดินหรือใต้ชั้น O โดยปรกติมีสีคล้า
- สะสมอินทรียวัตถุ ที่สลายตัวแล้ว
- ลักษณะที่ได้จากการไถพรวน, ทาทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์, ลักษณะที่แสดง
การรบกวนอื่นๆ
ชั้นดิน E (E Horizons)
- ชั้นสูญเสียแร่ดินเหนียว เหล็กและอะลูมินัม หรือสิ่งต่างๆ เหล่านี้รวมกัน
- ทาให้เกิดความเข้มข้นอนุภาคทราย หรือแร่ที่มีความทนทานต่อการ
สลายตัว
ชั้นดิน B (B Horizons)
- การสะสมโดยการย้ายเข้าของแร่ ดินเหนียว, เหล็ก, อะลูมินัม, ฮิวมัส,
คาร์บอเนต, ยิปซั่ม หรือ ซิลิกา อย่างใดอย่างหนึ่งหรือรวมกัน
- สะสมเซสควิออกไซค์ตกค้าง (residual sesquioxides)
ชั้นดิน C (C Horizons)
- ชั้นที่ไม่รวมชั้นหินแข็ง
- ได้รับอิทธิพลจากกระบวนการทางดิน (pedogenic process) น้อย
- เป็นชั้นวัตถุต้นกาเนิดดิน
ชั้นดิน R (R Layers) หรือ ชั้นหินแข็ง (Bedrock)
- ชั้นหินแข็งชนิดต่างๆ หินอัคนี, หินตะกอน, หินแปร ที่ยังไม่ผุพัง
สลายตัว
- เป็นชั้นที่เชื่อมติดแน่น ใช้พลั่วขุดไม่ได้ถึงแม้จะมีความชื้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
Art Nan
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
website22556
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
Wichai Likitponrak
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
wachiphoke
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
Rock Rockie
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
Tatthep Deesukon
 

Was ist angesagt? (20)

นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 

Ähnlich wie 1 (8)

แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
 
งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32
 
หิน
หินหิน
หิน
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)
 
Minerals
MineralsMinerals
Minerals
 

Mehr von Pa'rig Prig

Mehr von Pa'rig Prig (20)

3
33
3
 
2
22
2
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
 
Bed room (1)
Bed room (1)Bed room (1)
Bed room (1)
 
Kitchen room
Kitchen roomKitchen room
Kitchen room
 

1

  • 2. บทนา (Introduction) 1. ปฐพีวิทยาธรรมชาติ (Pedology) ดิน หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุม ผิวโลกอยู่บางๆเกิดจากการแปรสภาพหรือผุพังของหินและแร่ และ อินทรียวัตถุผสมคลุกเคล้ากัน นิยามของดิน ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาดิน 2. ปฐพีวิทยาสัมพันธ์ (Edaphology) ดิน หมายถึง เทหวัตถุที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติรวมกันเป็นชั้น จากส่วนผสมของแร่ธาตุต่างๆ ที่สลายตัวเป็นชิ้น เล็กชิ้นน้อยกับอินทรียวัตถุที่เปื่อยผุพัง รวมกันเป็นชั้นบางๆห่อหุ้มผิวโลก และเมื่อมีอากาศและน้าในปริมาณที่เหมาะสมแล้วจะช่วยค้าจุน พร้อมทั้งช่วย ยังชีพและการเจริญเติบโตของพืช
  • 3. แนวทางด้านปฐพีวิทยาธรรมชาติ (Pedological Approach) - การกาเนิดและการจาแนกดิน (Soil Genesis and Classification) - การสารวจดินและสัณฐานวิทยา (Soil Survey and Morphology) - ปฐพีวิทยาจุลภาค (Micropedology) แนวทางด้านปฐพีวิทยาสัมพันธ์ (Edaphological Approach) - ฟิสิกส์ของดิน (Soil Physic) - เคมีของดิน (Soil Chemistry) - จุลชีววิทยาของดิน (Soil Microbiology) - ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (Soil Fertility) - การอนุรักษ์ดิน (Soil Conservation) แนวทางการศึกษาทางดิน (Approaches in Soil Science)
  • 4. ส่วนประกอบของดิน (Soil Component) แบ่งออกเป็น 4 ส่วน 1. อนินทรียวัตถุ หรือ แร่ธาตุ (Mineral Matter) 45% โดยปริมาตร 2. อินทรียวัตถุ (Organic Matter) 5% โดยปริมาตร 3. น้า (Water) 25% โดยปริมาตร 4. อากาศ (Air) 25% โดยปริมาตร ช่องว่าง 50% ของแข็ง 50%
  • 5. กิบบ์ไซต์ granular structure vughy structure short planar voids microlaminated clay granular structure open porphyric clay coating ควอร์ตซ์ จุลสัณฐานวิทยาภายใต้ป่ าดิบชื้น ก : พีดอน 1 (AB) ข : พีดอน 1 (Bt) ค : พีดอน 2 (BA) ง : พีดอน 2 (Bt2)
  • 6. หน้าตัดดิน (Soil Profile) ดินล่าง (Subsoil) วัตถุต้นกาเนิด (Parent Material) หินพื้น (Bed Rock) ดินบน (Surface Soil) ตะกอนพื้นผิว (Regolith) โซลัม (Solum) ซับสตราตัม (Substratum)
  • 7. วัสดุประกอบดิน (Soil Forming Materials) หมายถึง วัสดุที่ประกอบกันหรือผสมกันแล้ว ของผสมนั้นเรียกว่าดิน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท วัสดุอนินทรีย์ประกอบดิน (Inorganic Soil Forming Materials) แร่ (Minerals) หิน (Rocks) วัสดุอินทรีย์ประกอบดิน (Organic Soil Forming Materials)
  • 9. แร่ (Minerals) หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มี โครงสร้างภายในที่เป็นระเบียบ มีสูตรเคมีและสมบัติอื่นๆที่แน่นอน และเปลี่ยนแปลงได้ในวงจากัด แบ่งตามการเกิดออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ 1.แร่ปฐมภูมิ (Primary Minerals) หมายถึง แร่ที่เกิดจากการเย็นตัวของหินหนืด (magma) โดยปรกติจะ มีผลึกและโครงสร้างที่แน่นอน 2.แร่ทุติยภูมิ (Secondary Minerals) หมายถึง แร่ที่เกิดจากการการผุพังหรือการตกตะกอนของแร่ปฐมภูมิ โดยกระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวภาพ
  • 10. 1.กลุ่มแร่เฟลด์สปาร์ (Feldspar Group) หรือ แร่ฟันม้า - พบมากที่สุดในแร่ประกอบหิน (rock-forming minerals) 1.1 โพแทสเฟสด์สปาร์ (potash feldspar) (KAlSi3O8) 1.2แพลจิโอเคลสเฟลด์สปาร์ (plagioclase feldspar) (Na,Ca)(Al,Si)AlSi2O8 กลุ่มแร่ที่พบมากในดิน 2.กลุ่มแร่ซิลิกา (Silica Group) - พบมากเป็นที่สองในแร่ประกอบหิน - พบแร่ควอร์ตซ์ (quartz) (SiO2) หรือ แร่เขี้ยวหนุมาน พบมากที่สุด
  • 11. โพแทสเฟสด์สปาร์ (potash feldspar) (KAlSi3O8) หรือแร่ ไมโครไคลน์ แร่ควอร์ตซ์ (quartz) (SiO2) หรือ แร่เขี้ยวหนุมาน
  • 12. 4.กลุ่มแร่แอมฟิโบล (Amphibole Group) - ฮอร์นเบลนด์ (hornblende) พบมากที่สุด 5.กลุ่มแร่ไพรอกซีน (Pyroxene Group) - ออไจต์ (augite) พบมากที่สุด 6.กลุ่มแร่คาร์บอร์เนต (Carbonates) 6.1แคลไซต์ (calcite) 6.2โดโลไมต์ (dolomite) 3.กลุ่มแร่ไมกา (Mica Group) หรือ แร่กลีบหิน 3.1มัสโคไวต์ (muscovite) หรือ แร่กลีบหินขาว 3.2ไบไอไทต์ (biotite) หรือ แร่กลีบหินดา
  • 13. กลุ่มแร่ไมกา (Mica Group) กลุ่มแร่แอมฟิโบล (Amphibole Group) กลุ่มแร่ไพรอกซีน (Pyroxene Group) กลุ่มแร่คาร์บอร์เนต (Carbonates)
  • 14. 7.กลุ่มแร่ดินเหนียว (Clay Minerals) - กลุ่มขนาดอนุภาคดินที่มีขนาดเล็กกว่า 2 ไมโครเมตร (< 0.002 มม.) 7.1เคโอลิไนต์ หรือ ดินขาว (kaolinite) - แผ่นซิลิกา:อะลูมินา แบบ 1:1 7.2มอนต์มอริลลอไนต์ (montmorillonite) - แผ่นซิลิกา:อะลูมินา แบบ 2:1 7.3เวอร์มิคิวไลต์ (vermiculite) - แผ่นซิลิกา:อะลูมินา แบบ 2:1 7.4อิลไลต์ (illite or hydrous mica) - แผ่นซิลิกา:อะลูมินา แบบ 2:1 โครงสร้างมีโพแทสเซียมสูง
  • 15. เคโอลิไนต์ หรือ ดินขาว (kaolinite) มอนต์มอริลลอไนต์ (montmorillonite) เวอร์มิคิวไลต์ (vermiculite) อิลไลต์ (illite or hydrous mica)
  • 16. 8.กลุ่มแร่เหล็กออกไซด์ (Iron Oxides) 8.1แมกนีไทต์ (magnetite) หรือ แร่เหล็กดา 8.2ฮีมาไทต์ (hematite) หรือแร่เหล็กแดง 8.3ไลมอไนต์ (limonite) 9.แร่อื่นๆ 9.1ยิปซัม (gypsum) หรือ แร่เกลือจืด 9.2ไพไรต์ (pyrite) 9.3เฮไลต์ (halite) หรือ เกลือ หรือเกลือแกง 9.4อะพาไทต์ (apatite) 9.5อื่นๆ
  • 17. กลุ่มแร่เหล็กออกไซด์ (Iron Oxides) แร่ยิปซัม (gypsum) หรือ แร่เกลือจืด แร่ ไพไรต์ (pyrite) แร่เฮไลต์ (halite) หรือเกลือแกง
  • 18. หิน (Rocks) หมายถึง มวลของแข็งที่ประกอบด้วยแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมกัน อยู่ตามธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด 1. หินอัคนี (Igneous Rocks) 2. หินชั้น หรือ หินตะกอน (Sedimentary Rocks) 3. หินแปร (Metamorphic Rocks)
  • 19. หินอัคนี (Igneous Rocks) หมายถึง หินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืด (magma) ที่อยู่ภายใต้ เปลือกโลก การเกิดและลักษณะเนื้อของหินอัคนีแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ 1. เกิดจากการเย็นตัวของหินหนืดภายในเปลือกโลก หรือ ใต้ผิวโลก (Intrusive or Plutonic) หินมีลักษณะเนื้อหยาบ 2. เกิดจากการเย็นตัวของหินหนืดอย่างรวดเร็วบนผิวโลก (Extrusive or Volcanic) หินมีลักษณะเนื้อละเอียด 3. เกิดจากการเย็นตัวสองครั้ง (Hypabyssal) ในระดับตื้นของหินหนืด หินลักษณะเนื้อดอก โดยมีเนื้อหยาบและเนื้อละเอียดผสมกัน
  • 20. การจาแนกหินอัคนี - แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม โดยใช้องค์ประกอบเชิงแร่ และสี 1. มีซิลิกา (SiO2) มากกว่า 66% เป็นหินสีจาง จัดเป็นกลุ่มหินชนิดกรด (Acid Rocks) ตัวอย่างเช่น หินแกรนิต 2. มีซิลิกา 52-66% เป็นหินสีจาง-สีเข้ม จัดเป็นกลุ่มหินชนิดเป็นกลาง (Intermediate Rocks) ตัวอย่างเช่น หินไดออไรต์ 3. มีซิลิกา 45-52% เป็นหินสีเข้ม จัดเป็นกลุ่มหินชนิดเบส (Basic Rocks) ตัวอย่างเช่น หินแกบโบร 4. มีซิลิกาน้อยกว่า 45% เป็นหินสีเข้มมาก จัดเป็นกลุ่มหินชนิดอัลตรา เบสิก (Ultrabasic Rocks) ตัวอย่างเช่น หินเพอริโดไทต์
  • 21. ชนิดของหินอัคนี - แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม 1. ตระกูลแกรนิต-ไรโอไลต์ (granite-rhyolite family) - แกรนิต พบมากกว่า 90% ของหินอัคนีที่เกิดจากการเย็นตัวของ หินหนืดภายในเปลือกโลก 2. ตระกูลไดโอไรต์-แอนดีไซต์ (diorite-andesite family) 3. ตระกูลแกบโบร-บะซอลต์ (gabbros-basalt family) 4. ตระกูลเพอริโดไทต์ (peridotite family) 5. หินแก้วภูเขาไฟและหินชิ้นภูเขาไฟ(volcanic glass and pyroclastic)
  • 23. หินชั้น หรือหินตะกอน (Sedimentary Rocks) หมายถึง หินที่เกิดจากการทับถมของตะกอน ตะกอนเหล่านี้เกิดจากการ ผุพังแตกสลายของหินอัคนี หินแปร หรือ หินชั้นที่มีอายุเก่ากว่า ถูกพัดพา มาสะสมโดยน้า ลม ธารน้าแข็ง หรือ การตกตะกอนทางเคมี รวมถึงการ สะสมของซากดึกดาบรรพ์ด้วย ตะกอนเหล่านี้จะมีการสะสมตัวเป็นชั้นๆ และเมื่อมีการแข็งตัวจะกลายเป็นหิน การเกิดของหินตะกอน เกิดจาก 4 กระบวนการ 1. การผุพังอยู่กับที่ (Weathering) 2. การพัดพา (Transportation) ชิ้นส่วนที่เกิดจากการผุพังอยู่กับที่ 3. การตกตะกอน (Sedimentation) 4. การแข็งตัว (Lithification)
  • 24. การจาแนกหินตะกอน - แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้การเกิด 1. หินตะกอนที่เกิดจากการทับถมของชิ้นส่วนของหินเดิมหรือหิน ตะกอนเนื้อประสม (Clastic Rocks) ตัวอย่างเช่น หินกรวดกลม 2. หินตะกอนที่เกิดจากการตกตะกอนทางเคมีและชีวภาพ (Chemical Organic Rocks) ตัวอย่างเช่น หินปูน, ถ่านหิน ชนิดของหินตะกอนที่พบมาก 1. หินดินดาน (shale) เกิดจากการทับถมอนุภาคขนาดละเอียด 2. หินทราย (sandstone) เกิดจากการทับถมอนุภาคขนาดทราย 3. หินปูน (limestone) เกิดจากการตกผลึกทางเคมี 4. หินดินมาร์ล (marl) เกิดจากหินปูนที่สลายตัวมาทับถมผสมกับดินเหนียว
  • 25. หินดินดาน (shale) หินทราย (sandstone) หินปูน (limestone) หินกรวดมน (conglomerate)
  • 26. หินแปร (Metamorphic Rocks) หมายถึง หินที่แปรสภาพไปจากหินเดิม โดยการกระทาของความร้อน ความดัน และ ปฏิกิริยาเคมีของของเหลวและก๊าซ การแปรสภาพของหินแปร เกิดจาก 4 กระบวนการ 1. การแปรสภาพสัมผัส (Contact Metamorphism) 2. การแปรสภาพจากการเคลื่อนที่ (Dislocation Metamorphism) 3. การแปรสภาพบริเวณไพศาล (Regional Metamorphism) 4. การแปรสภาพจากการเย็นตัวของหินหนืด (Plutonic Metamorphism)
  • 27. การจาแนกหินแปร - แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้โครงสร้างในเนื้อของหินแปร 1. หินแปรที่เกิดมีโครงสร้างริ้วขนาน (Foliated Structure) - แนวแตกแบบหินชนวน(slaty cleavage) - การเรียงตัวแบบหินชีสต์ (schistoscity) - การเรียงตัวเป็นชั้นแบบหินไนส์ (gneissic layering) 2. หินแปรที่มีโครงสร้างแบบไม่มีริ้วขนาน (Nonfoliated Structure) ชนิดของหินแปรที่พบมาก 1. หินชนวน (slate) แปรสภาพมาจากหินดินดาน 2. หินไนส์ (gneiss) แปรสภาพมาจากหินแกรนิต 3. หินอ่อน (marble) แปรสภาพมาจากหินปูน 4. หินควอร์ตไซต์ (quartzite) แปรสภาพมาจากหินทราย
  • 28. หินชนวน (slate) หินไนส์ (gneiss) หินอ่อน (marble) หินควอร์ตไซต์ (quartzite)
  • 30. แหล่งที่มาของอินทรียวัตถุ - พืช อินทรียวัตถุส่วนใหญ่ได้มาจากอินทรียสารที่เป็นเนื้อเยื่อพืช - สัตว์ ซึ่งจัดเป็นแหล่งทุติยภูมิของอินทรียสาร ชนิดของสารประกอบในเนื้อเยื่อพืช 1. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrates) ปริมาณ 60% ของน้าหนักแห้ง 2. ลิกนิน (Lignins) ปริมาณ 25% ของน้าหนักแห้ง 3. โปรตีนต่างๆ (Protiens) ปริมาณ 10% ของน้าหนักแห้ง 4. สารอื่นๆ ปริมาณ 5% ของน้าหนักแห้ง เช่น ไขมัน (fats), ขี้ผึ้ง (waxes), แทนนิน (tannins)
  • 31. Organic Compounds in Soil The Changing Forms of Soil Organic Matter
  • 33. ขั้นตอนการเกิดของดิน วัสดุประกอบดิน วัตถุต้นกาเนิดดิน ดิน อินทรียวัตถุ กระบวนการทาลาย กระบวนการสร้าง กระบวนการทาลาย จะรวมความถึง กระบวนการผุพังอยู่กับที่ การกร่อน และการพัดพา กระบวนการสร้าง โดยทั่วไปเรียก กระบวนการทางดิน (pedogenic processes)
  • 34. กระบวนการผุพังอยู่กับที่ (Weathering Processes) กระบวนการผุพังอยู่กับที่ทางฟิสิกส์ (Physical Weathering Processes) 1. การแตกเป็นแผ่นเพื่อลดความดัน (Unloading) 2. การแตกของหินเนื่องจากการเติบโตของผลึก (Crystal Growth) 3. การแตกของหินเนื่องจากอิทธิพลของความร้อน (Thermal Exfoliation) 4. การแตกของหินเนื่องจากขยายตัวเพราะความชื้น (Moisture Swelling) 5. การผุพังอยู่กับที่เนื่องจากการเปียกและแห้งสลับกัน (Wetting and Drying Weathering) 6. การแตกของหินเนื่องจากการครูดถู (Abrasion)
  • 35. กระบวนการผุพังอยู่กับที่ทางเคมี (Chemical Weathering Processes) 1. ไฮโดรไลซิส (Hydrolysis) KAlSi3O8 + H2O HAlSi3O8 + K+ + OH- 2. การละลาย (Solution) NaCl + H2O Na+ + Cl- + H2O 3. ไฮเดรชัน (Hydration) CaSO4 + 2H2O CaSO4 . 2H2O 4. ออกซิเดชัน (Oxidation) 2FeS2 + 7O2 + 2H2O 2Fe+2 + 4SO4 -2 + 4H+
  • 36. กระบวนการผุพังสลายตัวของวัสดุอินทรีย์ อัตราการสลายตัว จากง่ายไปถึงยากที่สุด น้าตาล แป้งและโปรตีนที่มีสูตรไม่ซับซ้อน โปรตีนสูตร ซับซ้อน เฮมิเซลลูโลส เซลลูโลส ลิกนิน ไขมัน และ ขี้ผึ้ง ผลที่จากการผุพังสลายตัว 1. ผลทางฟิสิกส์ วัสดุประกอบดินอนินทรีย์มีขนาดเล็กลง 2. ผลทางเคมี เกิดแร่ใหม่, ปริมาตรรวมเพิ่มขึ้น, ความถ่วงจาเพาะลดลง 3. ผลทางอินทรีย์ มีการปลดปล่อยธาตุอาหารพืช และ เกิดสารฮิวมัส 4. ผลโดยรวม เกิดเป็นวัตถุต้นกาเนิดดิน
  • 37. กระบวนการทางดิน (Pedoginic Processes) กระบวนการสร้างดิน แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม 1. การเพิ่มเติม (Additions) 2. การสูญเสีย (Losses) 3. การเคลื่อนย้าย (Translocations) 4. การเปลี่ยนแปลงรูป (Transformations) 1. การเพิ่มเติม - การเพิ่มวัสดุในดิน (Enrichment) - การตกทับถมของเศษพืช (Littering)
  • 38. 2. การสูญเสีย - การชะละลาย (Leaching) - การกร่อน (Erosion) 3. การเคลื่อนย้าย - การซึมชะหรือการเคลื่อนย้ายออก (Eluviations) - การสะสมหรือการเคลื่อนย้ายเข้า (Illuviation) 4. การเปลี่ยนแปลงรูป - การสลายตัว (Decomposition) - การเกิดฮิวมัส (Humification)
  • 39. 1. สภาพภูมิอากาศ (Climates) 2. ความต่างระดับ (Relief) หรือ สภาพภูมิประเทศ (Topography) 3. สิ่งมีชีวิต (Organisms) หรือ ปัจจัยชีวภาพ (Biotic Factor) 4. วัตถุต้นกาเนิดดิน (Soil Parent Materials) 5. เวลา (Times) ปัจจัยที่ควบคุมการสร้างตัวของดิน (Factors of Soil Formation) ปัจจัย 5 ชนิด
  • 40. สภาพภูมิอากาศ ตัวการที่สาคัญ - หยาดน้าฟ้า (precipitation) - อุณหภูมิ (temperature) ความแตกต่างของดินเมื่อสภาพภูมิอากาศแตกต่างกันไป เรียกว่า ลาดับภูมิอากาศ (Climosequences)
  • 42. สภาพภูมิประเทศ ตัวการที่สาคัญ - ความสูง (elevation) - ความลาดเท (slope) ลาดับดินที่มีความสัมพันธ์กันแต่มีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องจากเกิดใน สภาพภูมิประเทศที่ไม่เหมือนกัน เรียกว่า ลาดับภูมิประเทศ (Toposequences) ลาดับดินที่เกิดจากวัตถุต้นกาเนิดดินและเกิดในสภาพภูมิอากาศที่คล้ายคลึงกัน แต่ดินมีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องมาจากความแตกต่างกันในสภาพความสูง ต่าของพื้นที่และสภาพการระบายน้า เรียกว่า ลาดับดิน (Soil Catenas)
  • 43. สิ่งมีชีวิต ตัวการที่สาคัญ - พืชพรรณ (Vegetation) - สัตว์ (Animals) - มนุษย์ (Human) ความแตกต่างของดินเมื่อสิ่งมีชีวิตแตกต่างกันไป เรียกว่า ลาดับชีวภาพ (Biosequences)
  • 44. 2.1.2 การศึกษาสีดิน ลักษณะสี 3 อย่างคือ Hue (สีสัน), Value (ค่าสี) และ Chroma (ค่า รงค์) วัดโดยสมุดเทียบสีดินมันเซลล์ (Munsell Soil Color Charts) 2.1.3 การบันทึกสีดิน 1. ชื่อของสีดิน (color name) เช่น brown (น้าตาล) 2. รหัสมันเซลล์อยู่ในวงเล็บ hue value / chroma เช่น 10YR 5/3 3. สภาพความชื้น (moisture status) เช่น dry (แห้ง) 2.1.4 ตัวอย่างการอธิบาย “ Brown (10 YR 5 / 3) dry ”
  • 45. Hue 10YRValue 4/ 3/ 2/ 1/ 5/ 6/ 7/ 8/ 10YR4/2 /1 /2 /3 /4 /6 /8 Chroma Dark Grayish Brown
  • 46. 2.2 เนื้อดิน (Soil texture) 2.2.1 กลุ่มของชั้นเนื้อดิน คาเรียกเนื้อดิน ลักษณะเนื้อดิน ชั้นเนื้อดิน ดินทราย เนื้อหยาบ ทราย (Sands), (Sandy soils) (Coarse textured) ทรายปนร่วน (Loamy sand) ดินร่วน เนื้อหยาบปานกลาง ดินร่วนปนทรายหยาบ (Loamy soils) (Moderately coarse (Coarse sandy loam), texture) ดินร่วนปนทราย (Sandy loam),
  • 47. ดินร่วนปนทรายละเอียด (Fine sandy loam) เนื้อปานกลาง ดินร่วนปนทรายละเอียด (Medium textured) มาก (Very fine sandy loam), ดินร่วน (Loam), ดินร่วนปนทรายแป้ง (Silty loam), ทรายแป้ง (Silt) เนื้อละเอียดปานกลาง ดินร่วนเหนียว (Clay (Moderately fine textured) loam), ดินร่วนเหนียว ปนทราย (Sandy clay
  • 48. loam), ดินร่วนเหนียวปน ทรายแป้ง (Silty clay loam) ดินเหนียว เนื้อละเอียด ดินเหนียวปนทราย (Sandy (Clayey soils) (Fine textured) clay), ดินเหนียวปนทราย แป้ง (Silty clay), ดินเหนียว (Clay) 2.2.2 การทดสอบเนื้อดิน ใช้วิธีการทดสอบโดยการสัมผัส (Feel method) 2.1.4 ตัวอย่างการอธิบาย “ Sandy clay ” (ดินเหนียวปนทราย)
  • 53. 2.3.1 การอธิบายโครงสร้างของดิน 1. รูปร่าง (Shape) - แบบแผ่น (Platy) - แบบแท่งหัวเหลี่ยม (Prismatic) - แบบแท่งหัวมน (Columnar) - แบบก้อนเหลี่ยม (Blocky) - ก้อนเหลี่ยมมุมคม (Angular blocky) - ก้อนเหลี่ยมมุมมน (Subangular blocky) - แบบก้อนกลม (Granular) 2.3 โครงสร้างของดิน (Soil structure)
  • 56. 2. ขนาด (Size) - ละเอียดมาก, ละเอียด, ปานกลาง, หยาบ, หยาบมาก 3. ความชัดเจน (Grade) - อ่อน (Weak), ปานกลาง (Moderate), แข็งแรง (Strong) 2.3.2 ตัวอย่างการอธิบาย “ Strong fine granular structure ” โครงสร้างแบบก้อนกลมขนาดเล็กที่มีความแข็งแรง
  • 57. 2.4.1 นิยาม “สมบัติของดินที่แสดงถึงระดับความมากน้อยของความเชี่อมแน่น (cohesion) และการยึดติด (adhesion)” 2.4.2 การทดสอบ 1. ความต้านทานต่อการแตกหัก (Rupture resistance) ดินแห้ง : Loose, Soft, Slightly hard, Hard, Very hard ดินชื้น : Loose, Very friable, Friable, Firm, Very firm 2.3 การยึดตัวของดิน (Soil consistence)
  • 58. 2. การเปลี่ยนรูปได้ (Plasticity) : Non-plastic, Slightly plastic, Moderately plastic, Very plastic 3. ความเหนียว (Stickiness) : Non-sticky, Slightly sticky, Moderately sticky, Very sticky 2.4.3 ตัวอย่างการอธิบาย “ Hard dry, Firm moist, Moderately sticky and Very plastic ”
  • 59. 2.5 ช่องว่างในดิน (Pores) 2.5.1 การอธิบาย ปริมาณ : น้อย, ปานกลาง, มาก ขนาด : เล็กมาก, เล็ก, ปานกลาง, ใหญ่, ใหญ่มาก รูปร่าง : Vesicular, Tubular, Irregular 2.5.2 ตัวอย่างการอธิบาย “ Many fine tubular pores ” ช่องว่างรูปร่างเป็นทรงกระบอกขนาดเล็กมีปริมาณมาก
  • 61. 2.6 รากพืช (Roots) 2.6.1 การอธิบาย ปริมาณ : น้อย, ปานกลาง, มาก ขนาด : เล็กมาก, เล็ก, ปานกลาง, ใหญ่, ใหญ่มาก 2.5.2 ตัวอย่างการอธิบาย “ Many fine roots ” รากพืชขนาดเล็กมีปริมาณมาก
  • 63. 2.7 ขอบเขตของชั้นดิน (Boundaries of soil horizons) 2.7.1 การอธิบาย ความชัดเจน : ชัดเจนมาก, ชัดเจน, ไม่ค่อยชัดเจน, ไม่ชัดเจน ความสูงต่า : เรียบ, เป็นลูกคลื่น, ไม่แน่นอน, ไม่ต่อเนื่อง 2.7.2 ตัวอย่างการอธิบาย “ Clear and wavy boundary to E ” ขอบเขตของชั้นดินระหว่างชั้นชัดเจนและเป็นลูกคลื่นไปสู่ ชั้น E
  • 64. 2.8 ปฏิกิริยาดิน (Soil reaction, pH) 2.8.1 ความสาคัญ วินิจฉัยสภาพเบส ระดับการผุพังอยู่กับที่ปริมาณการชะละลาย ความเป็น ประโยชน์ได้ของธาตุอาหารพืชบางชนิด และสภาพความเป็นพิษของพืช ต่อดิน 2.8.2 การวัด pH pH test kit (Indicator solution) หรือ pH meter 2.8.3 ตัวอย่างการอธิบาย “ Neutral (pH 7.0) ” ปฏิกิริยาดินเป็นกลาง
  • 65. ชั้นดิน O (O Horizons) - ชั้นบนสุด อินทรียวัตถุที่ยังไม่สลายตัวและสลายตัวแล้ว - ปริมาณอินทรียวัตถุมากกว่า 20 % เมื่อเป็นดินแร่ธาตุไม่มีดินเหนียว - ปริมาณอินทรียวัตถุมากกว่า 30 % เมื่อ % ดินเหนียวมากกว่า 50 % ชั้นดิน A (A Horizons) - ชั้นเกิดที่ผิวดินหรือใต้ชั้น O โดยปรกติมีสีคล้า - สะสมอินทรียวัตถุ ที่สลายตัวแล้ว - ลักษณะที่ได้จากการไถพรวน, ทาทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์, ลักษณะที่แสดง การรบกวนอื่นๆ
  • 66. ชั้นดิน E (E Horizons) - ชั้นสูญเสียแร่ดินเหนียว เหล็กและอะลูมินัม หรือสิ่งต่างๆ เหล่านี้รวมกัน - ทาให้เกิดความเข้มข้นอนุภาคทราย หรือแร่ที่มีความทนทานต่อการ สลายตัว ชั้นดิน B (B Horizons) - การสะสมโดยการย้ายเข้าของแร่ ดินเหนียว, เหล็ก, อะลูมินัม, ฮิวมัส, คาร์บอเนต, ยิปซั่ม หรือ ซิลิกา อย่างใดอย่างหนึ่งหรือรวมกัน - สะสมเซสควิออกไซค์ตกค้าง (residual sesquioxides)
  • 67. ชั้นดิน C (C Horizons) - ชั้นที่ไม่รวมชั้นหินแข็ง - ได้รับอิทธิพลจากกระบวนการทางดิน (pedogenic process) น้อย - เป็นชั้นวัตถุต้นกาเนิดดิน ชั้นดิน R (R Layers) หรือ ชั้นหินแข็ง (Bedrock) - ชั้นหินแข็งชนิดต่างๆ หินอัคนี, หินตะกอน, หินแปร ที่ยังไม่ผุพัง สลายตัว - เป็นชั้นที่เชื่อมติดแน่น ใช้พลั่วขุดไม่ได้ถึงแม้จะมีความชื้น