SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 120
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายงานฉบับสมบูรณ
โครงการศึกษา
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น(ตําบล)
ของจังหวัดพิจิตร ป 2551
Management of health security fund areas
in Phichit province : year 2008
โดย
นายจิรยุทธ คงนุน
นายประยุทธ คลังสิน
นายสมศักดิ์ ศิริวัฒนากุล
นายพนมศักดิ์ เอมอยู
นางนุชนัดดา แสงสินศร
นางบุญศรี เขียวเขิน
นางมยุรี เข็มทอง
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร
โครงการนี้ไดรับทุนอุดหนุนจากแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบ
หลักประกันสุขภาพถวนหนา (ผรส.) เพื่อสํานักงานกองทุนสนับสนุน
การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)
กรกฎาคม 2552
สัญญาเลขที่ ผรส. 51-ข-016
รายงานฉบับสมบูรณ
โครงการศึกษา
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น(ตําบล)
ของจังหวัดพิจิตร ป 2551
Management of health security fund areas
in Phichit province : year 2008
โดย นายจิรยุทธ คงนุน
นายประยุทธ คลังสิน
นายสมศักดิ์ ศิริวัฒนากุล
นายพนมศักดิ์ เอมอยู
นางนุชนัดดา แสงสินศร
นางบุญศรี เขียวเขิน
นางมยุรี เข็มทอง
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร
โครงการนี้ไดรับทุนอุดหนุนจากแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบ
หลักประกันสุขภาพถวนหนา (ผรส.) เพื่อสํานักงานกองทุนสนับสนุน
การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)
ความเห็นและขอเสนอแนะที่ปรากฏในเอกสารนี้เปนของผูดําเนินโครงการ มิใชความเห็น
ของแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา (ผรส.)
กรกฎาคม 2552
ก
กิตติกรรมประกาศ
โครงการวิจัยเรื่อง “การจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น(ตําบล)
ของจังหวัดพิจิตร ป 2551” เปนการทํางานจากการมีสวนรวมของบุคลากรหลายฝาย ความสําเร็จ
ของงานเกิดขึ้นไดเนื่องจากไดรับการสนับสนุนและความรวมมือจากบุคคลจํานวนมาก คณะผูวิจัย
รูสึกประทับใจและขอขอบพระคุณในการสนับสนุนและความรวมมือของทุกฝายไว ณ โอกาสนี้
ขอขอบคุณ ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค ผูตรวจราชการกระทรวง
สาธารณสุข กรรมการประสานความรวมมือระหวางสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
(สปสช.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ซึ่งเปนบุคคลผูริเริ่ม
แนะนําแหลงทุนวิจัย และสนับสนุนคณะวิจัยจนทําใหเกิดโครงการวิจัยเรื่องนี้ขึ้น ขอขอบคุณทานที่
ไดใหโอกาสคณะวิจัยไดมีการพัฒนาศักยภาพทีมงานมา ณ ที่นี้เปนอยางสูง
ขอขอบคุณ ทานที่ปรึกษาของโครงการวิจัย นพ.ประจักษ วัฒนะกูล นายแพทยสาธารณสุข
จังหวัดพิจิตร ซึ่งเปนผูรับขอตกลงกับแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพ
ถวนหนา ทานไดใหความชวยเหลือทางดานวิชาการแกคณะวิจัยมาอยางใกลชิดตลอดระยะเวลา
ดําเนินโครงการ และใหแนวความคิดในการดําเนินงานอันเปนประโยชนตอโครงการวิจัย
เปนอยางยิ่ง ซึ่งคณะวิจัยหลักขอขอบคุณมา ณ ที่นี้
ขอขอบคุณ ทานที่ปรึกษาของโครงการวิจัย ดร.นพ.สัมฤทธิ์ ศรีธํารงสวัสดิ์ ผูอํานวยการ
สํานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย ที่ปรึกษาวิชาการกองทุนสุขภาพระดับตําบล
แผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ทานไดใหความชวยเหลือ
ทางดานวิชาการแกคณะวิจัยหลัก ทําใหเกิดการเรียนรู ที่มีคุณคายิ่ง คณะวิจัยหลักขอขอบคุณ
ในความเปนกัลยาณมิตรของทานมา ณ ที่นี้ เปนอยางสูง
ขอขอบคุณ ทาน นพ.กิตตินันท อนรรฆมณี ผูจัดการแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับ
ระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ(สสส.)
ที่ไดใหการสนับสนุนในการดําเนินงานทั้งทางดานวิชาการ และทุนในการปฏิบัติงานวิจัยครั้งนี้
ขอขอบคุณทานที่ใหโอกาสในการสรางทีมงานวิจัยของจังหวัดขึ้นมาอีกทีมหนึ่ง มา ณ ที่นี้
ขอขอบคุณ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่(ตําบล)นํารอง
ทั้ง 16 แหง ของจังหวัดพิจิตร ที่ไดใหขอมูลการดําเนินงาน อยางเหมาะสม อันเปนประโยชน
ตองานวิจัยเปนอยางยิ่ง จึงขอขอบคุณ มา ณ ที่นี้
สุดทายนี้ ขอขอบคุณ ผูอยูเบื้องหลังความสําเร็จของงานวิจัยที่สําคัญมาก คือ คุณมุกดา
สํานวนกลาง ผูชวยผูจัดการแผนงานรวมฯ ผูประสานงานโครงการวิจัย ของสํานักงานกองทุน
ข
สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ(สสส.) ที่ใหขอมูลและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับระเบียบ ขอปฏิบัติ
ในการบริหารงบประมาณของโครงการวิจัย ตลอดจน คุณดรุณี เลิศปรีชา สํานักงานหลักประกัน
สุขภาพแหงชาติ สาขาเขตพื้นที่นครสวรรค เขต 18 ซึ่งเปนผูใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนินงาน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่(ตําบล) ในระดับเขต อันเปนประโยชนตองานวิจัยครั้งนี้เปน
อยางยิ่ง คณะผูวิจัยขอขอบคุณทุกทานไว ณ ที่นี้
ประโยชนและคุณคาที่พึงมีจากการวิจัยนี้ คณะผูวิจัยขอมอบใหแกผูมีสวนรวมทุกทาน
ทั้งผูรวบรวม และเรียบเรียงเอกสารตางๆ ที่คณะผูวิจัยอางถึงในการทําวิจัยทุกทาน
คณะผูวิจัย
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร
พฤษภาคม 2552
ค
บทคัดยอ
การวิจัยเรื่อง “การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น
(ตําบล)ของจังหวัดพิจิตร ป 2551” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานการณดานงบประมาณ บทบาท
ของคณะกรรมการกองทุนฯ ในการบริหารจัดการงบประมาณ และการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพ
และปองกันโรค ระบบการติดตามควบคุมกํากับและประเมินผลของกองทุนฯ และความสอดคลอง
ของกิจกรรมที่ดําเนินการกับวัตถุประสงคของกองทุนฯ โดยทําการศึกษาจากกองทุนฯ นํารองของ
จังหวัดพิจิตร จํานวน 16 แหง ใชระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต 1 ตุลาคม 2551 ถึง 31 พฤษภาคม
2552
ผลการศึกษาพบวา ดานระบบการบริหารจัดการงบประมาณ แหลงงบประมาณขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นที่ทําการศึกษา ในสวนรายไดจากการจัดเก็บเองมีแนวโนมลดลง งบประมาณ
อุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาลมีแนวโนมเพิ่มขึ้น งบอุดหนุนเฉพาะกิจมีแนวโนมลดลงเล็กนอย
สวนรายไดอื่นคอนขางคงที่ งบประมาณที่ทองถิ่นจัดสรรเพื่อการดําเนินงานดานสาธารณสุข
เมื่อเปรียบเทียบกับงบประมาณทั้งหมดในปนั้นมีแนวโนมสูงขึ้น สัดสวนงบประมาณของกองทุนฯ
ในสวนของเงินที่ไดรับจากสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) มีแนวโนมที่ลดลง
สวนเงินที่ทองถิ่นสมทบนั้นมีแนวโนมเพิ่มขึ้น สวนเงินสมทบจากชุมชนและอื่นๆ นั้นเริ่มมีมากขึ้น
การจัดสรรงบประมาณของกองทุนฯ จัดสรรใหกิจกรรมรวมของทุกกลุมอายุมากที่สุด รองลงมาคือ
กลุมอายุ อายุ 25 ปขึ้นไป กลุมอายุ 6-25 ป ผูพิการ กลุม เด็ก 0-6 ป และกลุมหญิงตั้งครรภตามลําดับ
สัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมของกองทุนฯ มีการใชจายในหมวดซื้อบริการ
สุขภาพตามชุดสิทธิประโยชนมากที่สุด รองลงมาคือ หมวดสรางเสริมสุขภาพโดย ประชาชน./และ
ชุมชนทองถิ่น หมวดสนับสนุนงบประมาณแกหนวยบริการสาธารณสุข และหมวดบริหารจัดการ
กองทุนฯและพัฒนาระบบบริหารจัดการตามลําดับ ดานระดับการปฏิบัติงานตามความเห็นคิดเห็น
ของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯหลักประกันสุขภาพ พบวาอยูในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ
44.70 รองลงมาคือปฏิบัติไดดี รอยละ 34.85 และยังปฏิบัติไดนอย รอยละ 20.45 เมื่อทําการทดสอบ
ความความแตกตางการปฏิบัติของแตละทองถิ่น พบวาตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
สวนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการในแตละตําแหนงที่ตางกัน พบวาไมแตกตางกันในทางสถิติ
ตําบลที่มีการจัดทํายุทธศาสตรสุขภาพนั้นมีเพียงแหงเดียวคือ ทาเยี่ยม อําเภอสากเหล็ก การไดมาซึ่ง
แผนงาน/โครงการนั้น สวนใหญไดจากการทําประชาคมหมูบานและตําบล รองลงมาจะเปนการ
เสนอแผนงานโครงการโดยเจาหนาที่สาธารณสุข และจาก อบต.เอง มีบางเล็กนอยที่โครงการ
ง
ถูกเสนอโดยองคกรในชุมชน หรือภาคีอื่นๆ และทําการอนุมัติโดยที่ประชุมของคณะกรรมการ
บริหารกองทุนฯ สวนที่ยังมีการดําเนินการนอยคือเรื่องการประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ
ถึงกิจกรรมของกองทุนฯ และการประเมินผลงานที่ไดอนุมัติใหบุคคล หรือกลุมชมรมตางๆ ไป
ดําเนินการ
จ
Abstract
The objectives of the study of “The management of Local (Sub-district) health security
fund in Pichit province 2008” were to explore financing situation, roles of committee in manage
fund, the implementation of diseases prevention and protection, monitoring, controlling and
evaluating system of the fund that relevant to objectives of the fund. The study conducted in 16
pilot local health security funds in Pichit between October 1st
and May 31st
2009.
The results found that in the management system factor, sources of fund and collected
income trend to be decrease. The central government subsidy was trend to be increase. The
specific subsidy was slightly decrease meanwhile the others were stable. Proportion of health
financing was trend to be increase. Nevertheless, proportion of subsidy from National Security
Office was tren to be decrease, meanwhile the joining budget from local government and others
communities trend to be more increasing. Buget allocation from Local health security fund, Most
of it allocated to elderly then agegroup equal to and more than 25 years, 6-25 years, handicab, 0-6
years and pregnant weman respectively.
Most of expenditure by activities was paid for health care, health promotion, subsidised
to health facilities, funding management and mangement improving respectively. The commitee’s
opinion on level of performance found that it was in the fair, good and poor level equal to 44.70,
34.85 and 20.45 percent respectively. The differentiation of the perfomances between any local
health security funds found the significantly different at 0.01 (P-value < 0.01)
The differentiation of performances between different working positions found that it
was not sigificantly different. Only one local government that had strategic planning, it was
Tambol Thayium, Saklek district. Most of local plans and projects come from community and
sub-district forum, proposal from health worker and member of local government. There were a
few projects propsed by other sectors and organizations. The less implemented activities were
public communucation, and evaluation.
ฉ
สารบัญ
หนา
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดยอ ค
ABSTRACT จ
สารบัญ ฉ
สารบัญตาราง ฎ
สารบัญภาพ ฏ
บทที่ 1 บทนํา 1
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1
คําถามการวิจัย 4
วัตถุประสงค 4
ขอบเขตการวิจัย 5
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5
นิยามศัพทเฉพาะ 5
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 4
สวนที่ 1 แผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรฯ 8
- ความสําคัญของการกระจายอํานาจ 8
- วิสัยทัศนการกระจายอํานาจสูทองถิ่น 9
- กรอบแนวคิดการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น 10
สวนที่ 2 การถายโอนภารกิจในแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นฯ 11
สวนที่ 3 ความเปนมาของกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น 12
- หลักการขอความรวมมือ 13
- หลักเกณฑการคัดเลือกองคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาล 13
- วัตถุประสงคของระบบหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ 13
- ที่มาของเงินทุน 14
- สัดสวนเงินสมทบจากองคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาล 14
- คณะกรรมการบริหารระบบหลักหลักประกันสุขภาพ 14
- หนาที่คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพ 15
ช
สารบัญ(ตอ)
หนา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ(ตอ)
- วาระของคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพ 15
- เปาหมายการดําเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นฯ 15
- ภารกิจและขั้นตอนการดําเนินงาน 16
สวนที่ 4 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสุขภาพภาคประชาชน 17
งานวิจัยที่เกี่ยวของ 22
บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 27
ประชากรและกลุมตัวอยาง 27
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 27
การเก็บรวบรวมขอมูล 29
การวิเคราะหขอมูล 29
บทที่ 4 ผลการวิจัย 30
ตอนที่ 1 ระบบการบริหารจัดการงบประมาณ 30
ตอนที่ 2 ระดับการปฏิบัติ/ความเห็นคิดเห็นของคณะกรรมการบริหารฯ 39
ตอนที่ 3 ขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสัมภาษณกลุม 51
- ประเด็นการกําหนดนโยบายดานสุขภาพของ อบต./เทศบาล 51
- ประเด็นการไดมาซึ่งแผนงานโครงการ 53
- ประเด็นการประชุมของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันฯ 57
- ประเด็นการบริหารจัดการรายรับ – รายจาย งบประมาณของกองทุน 58
- ประเด็นขั้นตอนการรับงบประมาณไปดําเนินการ 59
- ประเด็นการจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน และการประชาสัมพันธ 60
- ประเด็นการจัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานฯ 62
- ประเด็นการควบคุมกํากับ และการประเมินผลงาน 63
- ประเด็นการนําผลจากการประเมินมาปรับปรุงแกไขฯ 65
ซ
สารบัญ(ตอ)
หนา
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 68
สรุปผลการวิจัย 68
ดานระบบการบริหารจัดการงบประมาณ 68
ดานระดับการปฏิบัติ/ความเห็นคิดเห็นของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 70
ดานขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสัมภาษณกลุม (Focus group) 72
อภิปรายผล 77
ขอเสนอแนะ 79
ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาครั้งตอไป 80
บรรณานุกรม 81
ภาคผนวก
- ตารางที่ ผ. 1 รายไดของ อบต.โรงชาง 83
- ตารางที่ ผ. 2 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 83
- ตารางที่ ผ. 3 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 83
- ตารางที่ ผ. 4 รายไดของ อบต.ปามะคาบ 84
- ตารางที่ ผ. 5 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 84
- ตารางที่ ผ. 6 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 84
- ตารางที่ ผ. 7 รายไดของ อบต.หัวดง 85
- ตารางที่ ผ. 8 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 85
- ตารางที่ ผ. 9 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 85
- ตารางที่ ผ.10 รายไดของ อบต.วังทรายพูน 86
- ตารางที่ ผ.11 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 86
- ตารางที่ ผ.12 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 86
- ตารางที่ ผ.13 รายไดของ อบต.โพธิ์ประทับชาง 87
- ตารางที่ ผ.14 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 87
- ตารางที่ ผ.15 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 87
- ตารางที่ ผ.16 รายไดของ อบต.ดงเสือเหลือง 88
ฌ
สารบัญ(ตอ)
หนา
- ตารางที่ ผ.17 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 88
- ตารางที่ ผ.18 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 88
- ตารางที่ ผ.19 รายไดของเทศบาลตําบลเนินมะกอก 89
- ตารางที่ ผ.20 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 89
- ตารางที่ ผ.21 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 89
- ตารางที่ ผ.22 รายไดของ อบต.วังกรด 90
- ตารางที่ ผ.23 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 90
- ตารางที่ ผ.24 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 90
- ตารางที่ ผ.25 รายไดของ อบต.ทาเสา 91
- ตารางที่ ผ.26 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 91
- ตารางที่ ผ.27 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 91
- ตารางที่ ผ.28 รายไดของ อบต.บางลาย 92
- ตารางที่ ผ.29 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 92
- ตารางที่ ผ.30 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 92
- ตารางที่ ผ.31 รายไดของเทศบาลตําบลเนินปอ 93
- ตารางที่ ผ.32 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 93
- ตารางที่ ผ.33 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 93
- ตารางที่ ผ.34 รายไดของ อบต.ทายทุง 94
- ตารางที่ ผ.35 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 94
- ตารางที่ ผ.36 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 94
- ตารางที่ ผ.37 รายไดของเทศบาลตําบลหนองพยอม 95
- ตารางที่ ผ.38 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 95
- ตารางที่ ผ.39 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 95
- ตารางที่ ผ.40 รายไดของ อบต.บึงบัว 96
- ตารางที่ ผ.41 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 96
- ตารางที่ ผ.42 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 96
ญ
สารบัญ(ตอ)
หนา
- ตารางที่ ผ.43 รายไดของ อบต.ทาเยี่ยม 97
- ตารางที่ ผ.44 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 97
- ตารางที่ ผ.45 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 97
- ตารางที่ ผ.46 รายไดของเทศบาลตําบลวังบงค 98
- ตารางที่ ผ.47 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 98
- ตารางที่ ผ.48 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 98
- แบบ วจ.01 99
- แบบ วจ.02 101
- แบบ วจ.03 105
- แบบ วจ.04 107
ฎ
สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 4.1 แหลงงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 30
ตารางที่ 4.2 การจัดสรรงบประมาณของทองถิ่นสําหรับการดําเนินงานดานสาธารณสุข 31
ตารางที่ 4.3 แหลงงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ 32
ตารางที่ 4.4 การจัดสรรงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ป 2549 33
ตารางที่ 4.5 การจัดสรรงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ป 2550 33
ตารางที่ 4.6 การจัดสรรงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ป 2551 34
ตารางที่ 4.7 สัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมฯ ป 2549 35
ตารางที่ 4.8 สัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมฯ ป 2550 35
ตารางที่ 4.9 สัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมฯ ป 2551 36
ตารางที่ 4.10 การใชจายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ 37
ตารางที่ 4.11 สรุปสถานะเงินกองทุนป 2549 – 2551 39
ตารางที่ 4.12 จํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามสถานภาพฯ 39
ตารางที่ 4.13 จํานวนและรอยละของระดับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนฯ 40
ตารางที่ 4.14 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานงบประมาณ 41
ตารางที่ 4.15 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานขอมูล 43
ตารางที่ 4.16 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานการจัดทํายุทธศาสตร 44
ตารางที่ 4.17 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานการลงทุน 45
ตารางที่ 4.18 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานการตื่นตัวดานสุขภาพ 46
ตารางที่ 4.19 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานการตื่นตัวดานการประสาน 47
ตารางที่ 4.20 จํานวนและรอยละของระดับการปฏิบัติภาพรวมของกองทุนฯ 48
ตารางที่ 4.21 การทดสอบความสัมพันธระหวางความเห็นตอระดับการปฏิบัติฯ 49
ตารางที่ 4.22 การทดสอบความสัมพันธระหวางความเห็นตอระดับการปฏิบัติฯ 50
ตารางที่ 4.23 สรุปผล 67
ฏ
สารบัญภาพ
หนา
ภาพที่ 2.1 แนวทางการดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาระดับพื้นที่ ในพื้นที่นํารอง 16
ภาพที่ 2.2 การดําเนินงานสุขภาพภาคประชาชน 19
ภาพที่ 4.1 แหลงงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 30
ภาพที่ 4.2 รอยละงบประมาณที่ทองถิ่นจัดสรรเพื่อการดําเนินงานดานสาธารณสุข 31
ภาพที่ 4.3 เปรียบเทียบแหลงงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ 32
ภาพที่ 4.4 ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพแกเปาหมาย 34
ภาพที่ 4.5 ภาพรวมสัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมฯ ป 2549-2551 37
บทที่ 1
บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
การกระจายอํานาจเปนแนวนโยบายหลักของรัฐตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540 นับตั้งแตมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาว รัฐบาลไดดําเนินการ
เกี่ยวกับการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นไปแลวหลายเรื่อง เชน การแกไข
กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติงานเกี่ยวกับการปกครองทองถิ่นและความสัมพันธระหวางรัฐบาลและ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสอดคลองกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ การประกาศใช
พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542
เปนตน (สถาบันพระปกเกลา, 2545) นอกจากนั้นแลวหลักสําคัญของการกระจายอํานาจ
ที่สอดคลองกับบริบทของการพัฒนาที่วา การรวมศูนยอํานาจไวที่สวนกลางนั้นจะทําให
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดเมื่อสังคมทั้งประเทศมีลักษณะที่คลายคลึงกันหรือเหมือนกัน
(Homogeneity ) แตเมื่อใดก็ตามที่สังคมเริ่มมีการพัฒนาจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปสูสภาวการณ
ของความแตกตางและหลากหลาย (Heterogeneity) การพัฒนาจากภายในจะเริ่มเกิดขึ้นในถิ่นหรือ
หมูผูที่มีความพรอมในการรับการพัฒนา หรือพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงใหมกอน จนกระทั่ง
ทายที่สุดสังคมก็จะนําไปสูความหลากหลายและแตกตางกันในแตละพื้นที่ ภายใตการเปลี่ยนแปลง
สังคมที่รวดเร็วโดยเฉพาะอยางยิ่งเปนการเปลี่ยนแปลงภายใตกระแสโลกาภิวัฒนที่บังคับใหสังคม
มีลักษณะพลวัต (Dynamic) การรวมอํานาจไวที่สวนกลางจะสงผลใหเกิดความดอยประสิทธิภาพ
และเกิดความจําเปนที่จะตองมีการกระจายอํานาจใหเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพมากขึ้น และ
ในขณะเดียวกันก็จะสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของอํานาจรัฐสูประชาชนดวย
ความสําคัญของการกระจายอํานาจดังกลาวขางตน (พีรสิทธิ์ คํานวณศิลป และคณะ, 2544 )
ประเทศไทยไดมีการพยายามที่จะดําเนินการกระจายอํานาจมาตั้งแต พ.ศ.2476 โดยเริ่มมี
การกําเนิดเทศบาล สุขาภิบาล และองคการบริหารสวนจังหวัดขึ้น แตแนวทางการปฏิบัติของ
องคการทั้งสามในขางตนนั้นยังมีขอจํากัดในการบริหารจัดการ กลาวคือ การบริหารจัดการของ
เทศบาลและสุขาภิบาล ซึ่งในปจจุบันยกฐานะเปนเทศบาลตําบลนั้น เปนการบริหารจัดการเพื่อมุง
ตอบสนองตอสภาพปญหาและความตองการของชุมชนเมือง สวนองคการบริหารสวนจังหวัดแมจะ
2
มีขอบเขตความรับผิดชอบครอบคลุมพื้นที่ทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท แตก็ยังไมสามารถ
ตอบสนองตอสภาพปญหาและความตองการของประชาชนในเขตชนบทไดเต็มที่ (กองราชการ
สวนตําบล กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ,2543) ดังนั้นตอมารัฐบาลจึงไดมีนโยบาย
ที่ชัดเจนและเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยไดมีการจัดตั้งองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ขึ้นตาม
พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และไดกําหนดอํานาจ หนาที่
และความรับผิดชอบซึ่งตรงกับแนวทางการกระจายอํานาจตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและ
ขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ทําใหการแกไขปญหา
เรื่องความครอบคลุมพื้นที่ชนบทได อํานาจ หนาที่ และความรับผิดชอบขององคการบริหารสวน
ตําบลนั้น ครอบคลุมทุกดานทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม และที่กาวหนามากกวานั้นยังไดรับมอบ
อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบผานพระราชบัญญัติใหสามารถจัดการบริการสาธารณะ เชน
ดานการสาธารณสุข การศึกษา สิ่งแวดลอม เปนตน ในการผองถายการจัดการบริการสาธารณะนี้
เกิดขึ้นตามแผนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2543 ซึ่งไดมีการวางแผนที่จะใหองคการบริหาร
สวนตําบลสามารถจัดบริการสาธารณะใหแลวเสร็จภายใน 10 ป (2544 – 2553 )
พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดให
งานบริการสาธารณสุขในความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุขเปนภารกิจที่ตองถายโอน
ใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในมาตรา 16 มาตรา 17 มาตรา 18 และมาตรา 19 ครอบคลุม
ถึงการสาธารณสุข การรักษาพยาบาล การปองกันโรคและการควบคุมโรคติดตอ และใน
ปงบประมาณ 2544 – 2545 กระทรวงสาธารณสุข ไดถายโอนงานสาธารณสุขมูลฐานและ
งานสรางเสริมสุขภาพซึ่งเปนกิจกรรมที่องคการบริหารสวนตําบลมีสวนเกี่ยวของโดยตรง
และเปนกิจกรรมที่ดําเนินการโดยชุมชนเองได (สํานักนโยบายและแผนสาธารณสุข, 2541)
และหลังจากพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่
9 พฤศจิกายน 2545 สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) ไดเขามาเปนองคกรที่มี
หนาที่ในการดําเนินการ เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับการคุมครองการเขาถึงบริการสุขภาพที่จําเปน
และมีคุณภาพ รวมทั้งการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการกระจายอํานาจดานสุขภาพใหกับ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ในหลายมาตราไดกําหนดให
ประชาชนและทองถิ่นมีสวนรวมในระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนาในหลายรูปแบบ ทั้งใน
สวนของการเปนผูมีสิทธิในการเขารับบริการ การบริหารจัดการ การตรวจสอบ และรับรอง
คุณภาพบริการ และเพื่อใหเปนไปตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ตามมาตรา
18 (9) และมาตรา 47 ไดสนับสนุนและกําหนดหลักเกณฑใหองคกรชุมชน องคกรเอกชนและ
3
ภาคเอกชนที่ไมมีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินการแสวงหาผลกําไร ดําเนินงาน และบริหารจัดการ
เงินทุนในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ไดตามความพรอม ความเหมาะสมและความตองการ
โดยสงเสริมกระบวนการ มีสวนรวมเพื่อสรางหลักประกันสุขภาพแหงชาติใหแกบุคคลในพื้นที่
จึงไดมีการประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อรางหลักเกณฑในการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ
ระดับทองถิ่นหรือพื้นที่จากหนวยงานและผูเกี่ยวของ ทั้งคณะอนุกรรมการสนับสนุนการมีสวน
รวมของภาคประชาชน สมาคมองคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย กรมสงเสริมการ
ปกครองสวนทองถิ่น กองทุนชุมชน และสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ซึ่งหลักเกณฑ
การดําเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ ไดผานการพิจารณาจาก
คณะอนุกรรมการประสานงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสรางหลักประกันสุขภาพ
ถวนหนาและคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ มีมติเห็นชอบจากการกําหนด
หลักเกณฑ เพื่อสนับสนุนใหองคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาลดําเนินงานและบริหารจัดการ
ระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นและพื้นที่ ตั้งแตวันที่ 27 กุมภาพันธ 2549 โดยที่
ประชุมไดมีการวางแผนทดลองกระจายอํานาจดานสุขภาพในรูปแบบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ทองถิ่นเพื่อการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค มีเปาหมายที่จะดําเนินงานนํารองในป 2549
ทั่วประเทศ จํานวน 800 แหง (อําเภอละไมเกิน 1 แหง) ป 2550 ใหดําเนินการใน อบต. หรือ
เทศบาลที่มีความพรอม ป 2551 จะตองดําเนินการใน อบต. และเทศบาลทุกแหง ซึ่งมีแนวทาง
ในการดําเนินงาน คือ การโอนงบประมาณในสวนของการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค หรืองบ
PP ตรงไปยัง อบต. หรือเทศบาล โดยคิดตามรายหัวประชากรที่รับผิดชอบ จํานวน 37.50 บาท
ตอหัวประชากร และ อบต. หรือเทศบาล จะตองสมทบเงินเขากองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น
ตามสัดสวน คือ อบต.ขนาดใหญหรือเทศบาล สมทบไมนอยกวา รอยละ 50 ของคาบริการ
สาธารณสุขที่ไดรับจากกองทุนหลักประกัน อบต.ขนาดกลาง สมทบไมนอยกวารอยละ 20 ของ
คาบริการสาธารณสุขที่ไดรับจากกองทุนหลักประกัน อบต.ขนาดเล็กสมทบไมนอยกวารอยละ 10
ของคาบริการสาธารณสุขที่ไดรับจากกองทุนหลักประกัน โดยมีวัตถุประสงคของการจัดตั้งเพื่อ
เปนคาใชจายในการสนับสนุน และสงเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ซึ่งเนนการสงเสริมสุขภาพ
การปองกันโรค และการฟนฟูสภาพของหนวยบริการหรือสถานบริการอื่นๆ เพื่อสงเสริมให
กลุมเปาหมายที่เปนกลุมแมและเด็ก กลุมผูสูงอายุ กลุมผูพิการ กลุมผูประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง
และกลุมผูปวยโรคเรื้อรังที่อยูในชุมชน สามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขไดอยางทั่วถึงและ
มีประสิทธิภาพ อยางนอยตามชุดสิทธิประโยชนที่กําหนด
การดําเนินงานนํารองรูปแบบกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่นเพื่อสงเสริมสุขภาพ
และปองกันโรคใน ป 2549 ตองอาศัยความพรอมและความสมัครใจในการเขารวมขององคกร
4
ปกครองสวนทองถิ่น จังหวัดพิจิตรมีองคกรปกครองสวนทองถิ่นสมัครใจเขารวมดําเนินงาน
กองทุนนํารองหลักประกันสุขภาพทองถิ่น จํานวน 16 แหง ซึ่งแสดงถึงความพรอมขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นในการที่จะดําเนินงาน เพื่อเตรียมการรองรับการกระจายอํานาจดานสุขภาพ
คณะผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาสถานการณ และเงื่อนไขการบริหารงบประมาณของกองทุน
หลักประกันสุขภาพทองถิ่นเพื่อการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค ภายใตแนวคิด บทบาทและ
การมีสวนรวมในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่นของคณะกรรมการกองทุน
เพื่อนําขอมูลมาปรับปรุงและวางแผนพัฒนาคณะกรรมการกองทุนใหสามารถบริหารจัดการกองทุน
หลักประกันสุขภาพทองถิ่นไดอยางมีประสิทธิภาพ และสงผลตอการพัฒนาสุขภาพอนามัยของ
ประชาชนใหมีสุขภาวะที่ดีขึ้นในอนาคตตอไป
คําถามการวิจัย
1. คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ของจังหวัดพิจิตรมีการ
บริหารจัดการงบประมาณกองทุนฯ อยางไร
2. ตัวแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตัวแทนชุมชน และตัวแทนเจาหนาที่
สาธารณสุข ในพื้นที่มีความเห็นตอการปฏิบัติงานในรูปแบบกองทุนหลักประกัน
สุขภาพทองถิ่นเพื่อการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค ระดับใด
วัตถุประสงค
วัตถุประสงคทั่วไป
เพื่อศึกษาสถานการณ และเงื่อนไขการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพของ
ทองถิ่น การพัฒนากองทุนในทรรศนะของกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น รวมถึง
การดําเนินการดานสุขภาพในทองถิ่น และการพัฒนาระบบสุขภาพของทองถิ่น ตามกรอบ
เจตนารมย ของ พรบ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545
วัตถุประสงคเฉพาะ
1. เพื่อศึกษาสถานการณดานงบประมาณ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น
ของจังหวัดพิจิตร
2. เพื่อศึกษาบทบาทของคณะกรรมการกองทุนฯ ในการบริหารจัดการงบประมาณ และ
การดําเนินงานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค ประมาณ ของกองทุนหลักประกัน
สุขภาพระดับทองถิ่น ของจังหวัดพิจิตร
5
3. เพื่อศึกษาระบบการติดตามควบคุมกํากับ และการประเมินผลงบประมาณของกองทุน
หลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น ของจังหวัดพิจิตร
4. เพื่อศึกษาความสอดคลองของกิจกรรมที่ดําเนินการกับวัตถุประสงคของกองทุน
หลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น ของจังหวัดพิจิตร
ขอบเขตการวิจัย
ทําการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการบริหารจัดการงบประมาณ และประสิทธิภาพของการ
บริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น ของจังหวัดพิจิตรที่สมัครเขารวมเปนพื้นที่
กองทุนนํารองของจังหวัดพิจิตรจํานวน 16 แหง โดยใชระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต 1 ตุลาคม 2551
ถึง 31 พฤษภาคม 2552
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
ผลที่ไดจากการศึกษาสามารถนําไปขยายผลตอในพื้นที่อื่นๆ และ สปสช. อาจออกระเบียบ
แนวทาง หรือขอกําหนดเพิ่มเติม ซึ่งจะเกิดการดําเนินงานดานสุขภาพที่เหมาะสม และเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด ตอไป นอกจากนั้นยังเปนกระบวนการพัฒนานักวิจัยในระดับพื้นที่ใหมี
ประสบการณและองคความรูมากขึ้น
นิยามศัพทเฉพาะ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ หมายถึง การดําเนินงานในรูปแบบกองทุน
หลักประกันสุขภาพทองถิ่น (อบต. หรือเทศบาล) เพื่อการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค โดยมี
เงื่อนไขดังนี้
1. การรวมสมทบเงินเขากองทุนตามสัดสวน ดังนี้
- อบต.ขนาดใหญหรือเทศบาล สมทบไมนอยกวา รอยละ 50 ของคาบริการ
สาธารณสุขที่ไดรับจากกองทุนหลักประกัน
- อบต.ขนาดกลาง สมทบไมนอยกวารอยละ 20 ของคาบริการสาธารณสุขที่ไดรับจาก
กองทุนหลักประกัน
- อบต.ขนาดเล็กสมทบไมนอยกวารอยละ 10 ของคาบริการสาธารณสุขที่ไดรับจาก
กองทุนหลักประกัน
6
2. มีการจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น โดยคณะกรรมการฯ
ตองประกอบดวยกลุมไตรภาคี คือ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตัวแทนชุมชน และตัวแทน
เจาหนาที่สาธารณสุข
3. วัตถุประสงคของการใชเงินกองทุนเพื่อสงเสริมการจัดบริการสาธารณสุข โดยเนนการ
สงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค และการฟนฟูสภาพของหนวยบริการหรือสถานบริการอื่น ๆ
เพื่อสงเสริมใหกลุมเปาหมายที่เปนกลุมแมและเด็ก กลุมผูสูงอายุ กลุมผูพิการ กลุมผูประกอบ
อาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุมผูปวยโรคเรื้อรังที่อยูในชุมชน สามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขได
อยางทั่วถึง
คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพสุขภาพระดับ
พื้นที่ ซึ่งประกอบดวย
1. นายก อบต.หรือนายกเทศมนตรีหรือผูที่นายกฯมอบหมาย เปนประธาน
2. สมาชิกสภา อบต.หรือสภาเทศบาลที่สภาฯ คัดเลือก จํานวน 2 คน เปนกรรมการ
3. ผูแทนหมูบาน/ชุมชนที่ประชาคมหมูบาน/ชุมชนเลือกกันเองหมูบาน/ชุมชนละ 1 คน
เปนกรรมการ
4. ผูแทน อสม. จํานวน 2 คน เปนกรรมการ
5. ผูแทนหนวยบริการที่ สปสช. มอบหมาย เปนกรรมการ
6. ปลัด อบต.หรือปลัดเทศบาล เปนกรรมการและเลขานุการ
องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) หมายถึง องคการบริหารสวนตําบล ตามกฎหมายวา
ดวยสภาตําบลและองคการบริการสวนตําบล ที่ไดรับการสนับสนุนใหดําเนินงานและบริหารจัดการ
หลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่
เทศบาล หมายถึง เทศบาลตามกฎหมายวาดวยเทศบาลที่ไดรับการสนับสนุนให
ดําเนินงานและบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่
ระบบหลักประกันสุขภาพ หมายถึง ระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวกับการสรางเสริม
สุขภาพ การปองกันโรค และการฟนฟูสภาพที่จําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิต
สถานบริการ หมายถึง สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เอกชน และของสภากาชาดไทย
หนวยบริการประกอบโรคศิลปะตาง ๆ และสถานบริการสุขอื่นที่คณะกรรมการหลักประกัน
แหงชาติกําหนดเพิ่มเติม
หนวยบริการ หมายถึง สถานบริการที่ไดขึ้นทะเบียนไวตามพระราชบัญญัติ หลักประกัน
สุขภาพแหงชาติ
7
กิจกรรมการสรางเสริมสุขภาพ (Health Promotion) หมายถึง เปนงานสาธารณสุขที่
ครอบคลุมหลายมิติ จึงมีผูใหคําจํากัดความไวหลากหลาย เชน ในกฎบัตรออตตาวา ไดให
ความหมายของการสรางเสริมสุขภาพวา คือกระบวนการเพิ่มสมรรถนะใหประชาชน
มีความสามารถในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพตนเอง อันจะเปนผลตอสุขภาวะที่สมบูรณทางกาย
ทางจิต และทางสังคม
กิจกรรมการปองกันโรค (Disease Prevention) หมายถึง เปนงานที่ตองทําควบคูกับงาน
สรางเสริมสุขภาพ กิจกรรมบางอยางไมสามารถจําแนกไดอยางเด็ดขาดวาเปนกิจกรรมการปองกัน
โรคหรือกิจกรรมสรางสุขภาพ แตโดยสวนใหญเห็นตรงกันวา กิจกรรมสรางเสริมสุขภาพนั้น
เนนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น สวนกิจกรรมปองกันโรคนั้นเนนที่ความพยายามไมให
เกิดโรค
8
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ไดทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ มีประเด็นที่สําคัญที่
เกี่ยวของทั้งหมด 4 หัวขอ ดังนี้
สวนที่ 1 แผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542
สวนที่ 2 การถายโอนภารกิจในแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นของกระทรวงสาธารณสุข
สวนที่ 3 การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่นเพื่อการสงเสริมและปองกันโรค
สวนที่ 4 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสุขภาพภาคประชาชน
สวนที่ 1 แผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542
1. ความสําคัญของการกระจายอํานาจ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ไดใหความสําคัญกับการ
กระจายอํานาจการปกครองไปสูทองถิ่นโดยไดกําหนดไวในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ
มาตรา 78 กําหนดใหรัฐตองกระจายอํานาจใหทองถิ่นพึ่งตนเอง และตัดสินใจในกิจการของ
ทองถิ่นไดเอง พัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่น และระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ตลอดทั้ง
โครงสรางพื้นฐานสารสนเทศในทองถิ่นใหทั่วถึงและเทาเทียมกันทั่วประเทศ รวมทั้งพัฒนา
จังหวัดที่มีความพรอมใหเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นขนาดใหญ โดยคํานึงถึงเจตนารมณของ
ประชาชนในจังหวัดนั้น ในดานการปกครองสวนทองถิ่น รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540 ไดกําหนดไวในหมวด 9 รวม 9 มาตรา ตั้งแต มาตรา 282 ถึงมาตรา 290
สรุปไดวารัฐจะตองใหความเปนอิสระแกทองถิ่นตามหลักแหงการปกครองตนเองตามเจตนารมณ
ของประชาชนในทองถิ่นโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหลายควรมีอิสระในการกําหนด
นโยบายการปกครอง การบริหารการบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และมีอํานาจหนาที่
ของตนเอง โดยรัฐบาลเปนผูกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่นเทาที่จําเปนภายในกรอบของ
กฎหมาย และเพื่อกระจายอํานาจใหแกทองถิ่นเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเพื่ออนุมัติตามมาตรา 284
แหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จึงไดตราพระราชบัญญัติกําหนดแผน
และขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ขึ้น ซึ่งมีสาระสําคัญ
ในการกําหนดอํานาจ และหนาที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะระหวางรัฐกับองคกรปกครอง
9
สวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองการจัดสรรสัดสวนภาษีและอากร
ระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยคํานึงถึงภาระหนาที่ของรัฐกับองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นและระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองเปนสําคัญและตามมาตรา 12 แหง
พระราชบัญญัติดังกลาว ไดกําหนดใหคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน-
ทองถิ่น มีอํานาจและหนาที่จัดทําแผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและ
แผนปฏิบัติการ เพื่อขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและรายงานตอรัฐสภาโดยในบทเฉพาะ
กาล มาตรา 35 ของพระราชบัญญัติดังกลาว กําหนดใหในวาระเริ่มแรกใหคณะกรรมการจัดทํา
แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและแผนปฏิบัติการใหแลวเสร็จภายใน
หนึ่งป นับแตวันที่กรรมการเริ่มปฏิบัติหนาที่ หรือภายในวันที่ 2 กุมภาพันธ 2544 แผนการ
กระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนแผนที่กําหนดกรอบแนวคิดเปาหมายและ
แนวทางการกระจายอํานาจใหเปนไปตามมาตรา 30 แหงพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอน
การกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 เพื่อใหการกระจายอํานาจบรรลุ
เจตนารมณที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยยึดหลักการ
มีสวนรวมจากทุกฝายไมเปนแผนที่เบ็ดเสร็จ มีกระบวนการที่ยืดหยุนและสามารถปรับวิธีการให
สอดคลองกับสถานการณและการเรียนรูจากประสบการณที่เพิ่มขึ้น (สถาบันพระปกเกลา, 2545 )
2. วิสัยทัศนการกระจายอํานาจสูทองถิ่น
ในชวง 4 ปแรก (พ.ศ. 2544-2547) ของการถายโอนภารกิจตามกรอบของกฎหมาย
วาดวยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะเปน
ชวงของการปรับปรุงระบบการบริหารงานภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ราชการบริหาร
สวนกลางและราชการบริหารสวนภูมิภาค รวมทั้งการพัฒนายุทธศาสตร การสรางความพรอมใน
การรองรับการถายโอนภารกิจ บุคลากร งบประมาณ และทรัพยสิน รวมทั้งการแกไขกฎหมายที่
เกี่ยวของ ในสวนของภารกิจที่ถายโอนจะมีทั้งการถายโอนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นอยาง
สมบูรณ และการดําเนินงานรวมกันระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองและระหวาง
องคกรปกครองสวนทองถิ่นกับหนวยงานของรัฐ โดยจะมีบุคลากรจํานวนหนึ่งถายโอนไป
ปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นหลังจากการถายโอนในชวง
4 ปแรก สิ้นสุดลงจนถึงระยะเวลาการถายโอนในปที่ 10 (พ.ศ. 2548-2553) ตามกรอบของ
กฎหมายวาดวยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
จะเปนชวงเปลี่ยนผาน มีการปรับบทบาทของราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวน
ภูมิภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาชนที่จะเรียนรูรวมกันในการถายโอนภารกิจ
มีการปรับกลไกความสัมพันธระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นกับราชการบริหารสวนภูมิภาค
10
อยางกลมกลืนรวมทั้งปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของ อันจะทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
สามารถดําเนินกิจการสาธารณะที่ตอบสนองความตองการของประชาชนในทองถิ่นดีขึ้นและจะทํา
ใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นจะสามารถพัฒนาขีดความสามารถในการดําเนินกิจกรรมไดอยางมี
ประสิทธิภาพและมีความโปรงใสในชวงเวลาหลังจากปที่ 10 (พ.ศ. 2554 เปนตนไป) ประชาชนใน
ทองถิ่นจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถเขาถึงบริการสาธารณะไดอยางทั่วถึงและเปนธรรม
ประชาชนจะมีบทบาทในการตัดสินใจการกํากับดูแลและการตรวจสอบ ตลอดจนการสนับสนุน
การดําเนินกิจกรรมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอยางเต็มที่ ในสวนองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นจะมีการพัฒนาศักยภาพทางดานการบริหารจัดการและการคลังทองถิ่นที่พึ่งตนเองและ
เปนอิสระมากขึ้น ผูบริหารและสภาพทองถิ่นจะเปนผูมีความรูความสามารถ และมีวิสัยทัศนใน
การบริหารสวนบริหารราชการภูมิภาคจะเปลี่ยนบทบาทจากฐานะผูจัดทําบริการสาธารณะมาเปน
ผูใหความชวยเหลือทางวิชาการ และกํากับดูแลการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
เทาที่จําเปนภายใตขอบเขตที่ชัดเจนและการปกครองสวนทองถิ่นจะเปนการปกครองตนเองของ
ประชาชนในทองถิ่นอยางแทจริง (พีรสิทธิ์ คํานวณศิลป และคณะ, 2544 )
3. กรอบแนวคิดการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
กรอบแนวคิดการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดยึดหลักการและ
สาระสําคัญ 3 ดาน คือ
3.1 ดานความเปนอิสระในการกําหนดนโยบายและการบริหารจัดการองคกรปกครอง
สวน-ทองถิ่นยอมมีอิสระในการกําหนดนโยบายการปกครอง การบริหารจัดการ การบริหารงาน
บุคคล และการเงินการคลังของตนเอง โดยยังคงรักษาความเปนรัฐเดี่ยวและความมีเอกภาพของ
ประเทศ มีสถาบันพระมหากษัตริยเปนประมุข และความมั่นคงของชาติเอาไวได ตลอดจนการ
สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการเมืองการปกครองทองถิ่นภายใตระบอบประชาธิปไตย
3.2 ดานการบริหารสวนราชการแผนดิน และการบริหารราชการสวนทองถิ่น รัฐตอง
กระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของตนเอง
ไดมากขึ้น โดยปรับบทบาทและภารกิจของราชการบริหารสวนกลางและราชการบริหารสวน
ภูมิภาค และเพิ่มบทบาทใหสวนทองถิ่นเขามาดําเนินการแทน เพื่อใหราชการบริหารสวนกลางและ
ราชการบริหารสวนภูมิภาครับผิดชอบในภารกิจมหภาค และภารกิจที่เกินกวาขีดความสามารถของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะดําเนินการได โดยกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่นในดาน
นโยบายและดานกฎหมายเทาที่จําเปนใหการสนับสนุนสงเสริมดานเทคนิควิชาการและตรวจสอบ
ติดตามประเมินผล
11
3.3 ดานประสิทธิภาพการบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รัฐตองกระจาย
อํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อใหประชาชนไดรับบริการสาธารณะที่ดีขึ้นหรือไมต่ํา
กวาเดิม มีคุณภาพมาตรฐาน การบริหารจัดการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นมีความโปรงใส
มีประสิทธิภาพ และรับผิดชอบตอผูใหบริการใหมากขึ้น รวมทั้งสงเสริมใหประชาชนภาค
ประชาสังคมและชุมชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ รวมดําเนินงานและติดตามตรวจสอบ
สวนที่ 2 การถายโอนภารกิจในแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นของกระทรวง
สาธารณสุข ขอบเขตการถายโอน ขั้นตอน/วิธีปฏิบัติ
1. กระทรงสาธารณสุข มีบทบาทในการกํากับดูแล และบริหารจัดการระบบสุขภาพ
ในภาพรวม เพื่อใหเกิดความเทาเทียมในดานสถานสุขภาพระหวางประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งการ
จัดสรรทรัพยากรดานสุขภาพของทองถิ่นกําหนดมาตรฐานกลาง มาตรฐานบริการควบคุมคุณภาพ
และตรวจสอบ
2. หลังจากพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติพ.ศ.2545 มีผลบังคับใชตั้งแต
วันที่ 9 พฤศจิกายน 2545 ที่ผานมา สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) ไดเขามามี
บทบาทเปนองคกรหลักในการดําเนินการ เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับการคุมครองการเขาถึงบริการ
สุขภาพที่จําเปนและมีคุณภาพ รวมทั้งการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ
ดานสุขภาพใหกับองคกร-ปกครองสวนทองถิ่น พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
พ.ศ. 2545 ในหลายมาตราไดกําหนด ใหประชาชนละทองถิ่นมีสวนรวมในระบบหลักประกันสุขภาพ
ถวนหนาในหลายรูปแบบทั้งในสวนของการเปนผูสิทธิในการเขารับบริการ การบริหารจัดการ
การตรวจสอบ และรับรองคุณภาพบริการ ตามบทบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2545
ในมาตรา 13 (3) มาตรา 18 (8) มาตรา 47 และมาตรา 48 (4) กําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
สนับสนุนและกําหนดหลักเกณฑใหองคกรชุมชน องคเอกชน และภาคเอกชนที่ไมวัตถุประสงค
เพื่อดําเนินการแสวงหาผลกําไร ดําเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ได
ตามความพรอม ความเหมาะสมและความตองการ โดยสงเสริมกระบวนการมีสวนรวม
เพื่อสรางหลักประกันสุขภาพแหงชาติใหแกบุคคลในพื้นที่ โดยคณะกรรมการสนับสนุน และ
ประสานกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น กําหนดหลักเกณฑเพื่อใหองคกรดังกลาวเปนผูดําเนินการ
และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นและพื้นที่ โดยใหไดรับคาใชจายจาก
กองทุน
คณะอนุกรรมการสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมภาคประชาชนไดดําเนินการ
รวบรวมขอมูลองคกรชุมชนที่มีศักยภาพในการดําเนินงานเรื่องกองทุนสวัสดิการ ที่ชุมชนทองถิ่น
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 

Andere mochten auch (6)

Research r4i
Research r4iResearch r4i
Research r4i
 
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 

Ähnlich wie การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551

รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28Borwornsom Leerapan
 

Ähnlich wie การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551 (10)

Introduction dgd641
Introduction dgd641Introduction dgd641
Introduction dgd641
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
Toward Thailand's eHealth
Toward Thailand's eHealthToward Thailand's eHealth
Toward Thailand's eHealth
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Physical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao TPhysical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao T
 
040 1
040 1040 1
040 1
 
041 1
041 1041 1
041 1
 

Mehr von สปสช นครสวรรค์

คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวสปสช นครสวรรค์
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จสปสช นครสวรรค์
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์สปสช นครสวรรค์
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56สปสช นครสวรรค์
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)สปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทสปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทสปสช นครสวรรค์
 

Mehr von สปสช นครสวรรค์ (20)

3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
 
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
 
Ad
AdAd
Ad
 
Ad
AdAd
Ad
 
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
 
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
 
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
 
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
 
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
 
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอกประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
 
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
 

การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551

  • 1. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษา การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น(ตําบล) ของจังหวัดพิจิตร ป 2551 Management of health security fund areas in Phichit province : year 2008 โดย นายจิรยุทธ คงนุน นายประยุทธ คลังสิน นายสมศักดิ์ ศิริวัฒนากุล นายพนมศักดิ์ เอมอยู นางนุชนัดดา แสงสินศร นางบุญศรี เขียวเขิน นางมยุรี เข็มทอง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร โครงการนี้ไดรับทุนอุดหนุนจากแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบ หลักประกันสุขภาพถวนหนา (ผรส.) เพื่อสํานักงานกองทุนสนับสนุน การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) กรกฎาคม 2552
  • 2. สัญญาเลขที่ ผรส. 51-ข-016 รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษา การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น(ตําบล) ของจังหวัดพิจิตร ป 2551 Management of health security fund areas in Phichit province : year 2008 โดย นายจิรยุทธ คงนุน นายประยุทธ คลังสิน นายสมศักดิ์ ศิริวัฒนากุล นายพนมศักดิ์ เอมอยู นางนุชนัดดา แสงสินศร นางบุญศรี เขียวเขิน นางมยุรี เข็มทอง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร โครงการนี้ไดรับทุนอุดหนุนจากแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบ หลักประกันสุขภาพถวนหนา (ผรส.) เพื่อสํานักงานกองทุนสนับสนุน การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ความเห็นและขอเสนอแนะที่ปรากฏในเอกสารนี้เปนของผูดําเนินโครงการ มิใชความเห็น ของแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา (ผรส.) กรกฎาคม 2552
  • 3. ก กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจัยเรื่อง “การจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น(ตําบล) ของจังหวัดพิจิตร ป 2551” เปนการทํางานจากการมีสวนรวมของบุคลากรหลายฝาย ความสําเร็จ ของงานเกิดขึ้นไดเนื่องจากไดรับการสนับสนุนและความรวมมือจากบุคคลจํานวนมาก คณะผูวิจัย รูสึกประทับใจและขอขอบพระคุณในการสนับสนุนและความรวมมือของทุกฝายไว ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณ ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค ผูตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข กรรมการประสานความรวมมือระหวางสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ซึ่งเปนบุคคลผูริเริ่ม แนะนําแหลงทุนวิจัย และสนับสนุนคณะวิจัยจนทําใหเกิดโครงการวิจัยเรื่องนี้ขึ้น ขอขอบคุณทานที่ ไดใหโอกาสคณะวิจัยไดมีการพัฒนาศักยภาพทีมงานมา ณ ที่นี้เปนอยางสูง ขอขอบคุณ ทานที่ปรึกษาของโครงการวิจัย นพ.ประจักษ วัฒนะกูล นายแพทยสาธารณสุข จังหวัดพิจิตร ซึ่งเปนผูรับขอตกลงกับแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพ ถวนหนา ทานไดใหความชวยเหลือทางดานวิชาการแกคณะวิจัยมาอยางใกลชิดตลอดระยะเวลา ดําเนินโครงการ และใหแนวความคิดในการดําเนินงานอันเปนประโยชนตอโครงการวิจัย เปนอยางยิ่ง ซึ่งคณะวิจัยหลักขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ ขอขอบคุณ ทานที่ปรึกษาของโครงการวิจัย ดร.นพ.สัมฤทธิ์ ศรีธํารงสวัสดิ์ ผูอํานวยการ สํานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย ที่ปรึกษาวิชาการกองทุนสุขภาพระดับตําบล แผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ทานไดใหความชวยเหลือ ทางดานวิชาการแกคณะวิจัยหลัก ทําใหเกิดการเรียนรู ที่มีคุณคายิ่ง คณะวิจัยหลักขอขอบคุณ ในความเปนกัลยาณมิตรของทานมา ณ ที่นี้ เปนอยางสูง ขอขอบคุณ ทาน นพ.กิตตินันท อนรรฆมณี ผูจัดการแผนงานรวมสรางเสริมสุขภาพกับ ระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ(สสส.) ที่ไดใหการสนับสนุนในการดําเนินงานทั้งทางดานวิชาการ และทุนในการปฏิบัติงานวิจัยครั้งนี้ ขอขอบคุณทานที่ใหโอกาสในการสรางทีมงานวิจัยของจังหวัดขึ้นมาอีกทีมหนึ่ง มา ณ ที่นี้ ขอขอบคุณ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่(ตําบล)นํารอง ทั้ง 16 แหง ของจังหวัดพิจิตร ที่ไดใหขอมูลการดําเนินงาน อยางเหมาะสม อันเปนประโยชน ตองานวิจัยเปนอยางยิ่ง จึงขอขอบคุณ มา ณ ที่นี้ สุดทายนี้ ขอขอบคุณ ผูอยูเบื้องหลังความสําเร็จของงานวิจัยที่สําคัญมาก คือ คุณมุกดา สํานวนกลาง ผูชวยผูจัดการแผนงานรวมฯ ผูประสานงานโครงการวิจัย ของสํานักงานกองทุน
  • 4. ข สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ(สสส.) ที่ใหขอมูลและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับระเบียบ ขอปฏิบัติ ในการบริหารงบประมาณของโครงการวิจัย ตลอดจน คุณดรุณี เลิศปรีชา สํานักงานหลักประกัน สุขภาพแหงชาติ สาขาเขตพื้นที่นครสวรรค เขต 18 ซึ่งเปนผูใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนินงาน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่(ตําบล) ในระดับเขต อันเปนประโยชนตองานวิจัยครั้งนี้เปน อยางยิ่ง คณะผูวิจัยขอขอบคุณทุกทานไว ณ ที่นี้ ประโยชนและคุณคาที่พึงมีจากการวิจัยนี้ คณะผูวิจัยขอมอบใหแกผูมีสวนรวมทุกทาน ทั้งผูรวบรวม และเรียบเรียงเอกสารตางๆ ที่คณะผูวิจัยอางถึงในการทําวิจัยทุกทาน คณะผูวิจัย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร พฤษภาคม 2552
  • 5. ค บทคัดยอ การวิจัยเรื่อง “การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น (ตําบล)ของจังหวัดพิจิตร ป 2551” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานการณดานงบประมาณ บทบาท ของคณะกรรมการกองทุนฯ ในการบริหารจัดการงบประมาณ และการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพ และปองกันโรค ระบบการติดตามควบคุมกํากับและประเมินผลของกองทุนฯ และความสอดคลอง ของกิจกรรมที่ดําเนินการกับวัตถุประสงคของกองทุนฯ โดยทําการศึกษาจากกองทุนฯ นํารองของ จังหวัดพิจิตร จํานวน 16 แหง ใชระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต 1 ตุลาคม 2551 ถึง 31 พฤษภาคม 2552 ผลการศึกษาพบวา ดานระบบการบริหารจัดการงบประมาณ แหลงงบประมาณขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นที่ทําการศึกษา ในสวนรายไดจากการจัดเก็บเองมีแนวโนมลดลง งบประมาณ อุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาลมีแนวโนมเพิ่มขึ้น งบอุดหนุนเฉพาะกิจมีแนวโนมลดลงเล็กนอย สวนรายไดอื่นคอนขางคงที่ งบประมาณที่ทองถิ่นจัดสรรเพื่อการดําเนินงานดานสาธารณสุข เมื่อเปรียบเทียบกับงบประมาณทั้งหมดในปนั้นมีแนวโนมสูงขึ้น สัดสวนงบประมาณของกองทุนฯ ในสวนของเงินที่ไดรับจากสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) มีแนวโนมที่ลดลง สวนเงินที่ทองถิ่นสมทบนั้นมีแนวโนมเพิ่มขึ้น สวนเงินสมทบจากชุมชนและอื่นๆ นั้นเริ่มมีมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณของกองทุนฯ จัดสรรใหกิจกรรมรวมของทุกกลุมอายุมากที่สุด รองลงมาคือ กลุมอายุ อายุ 25 ปขึ้นไป กลุมอายุ 6-25 ป ผูพิการ กลุม เด็ก 0-6 ป และกลุมหญิงตั้งครรภตามลําดับ สัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมของกองทุนฯ มีการใชจายในหมวดซื้อบริการ สุขภาพตามชุดสิทธิประโยชนมากที่สุด รองลงมาคือ หมวดสรางเสริมสุขภาพโดย ประชาชน./และ ชุมชนทองถิ่น หมวดสนับสนุนงบประมาณแกหนวยบริการสาธารณสุข และหมวดบริหารจัดการ กองทุนฯและพัฒนาระบบบริหารจัดการตามลําดับ ดานระดับการปฏิบัติงานตามความเห็นคิดเห็น ของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯหลักประกันสุขภาพ พบวาอยูในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 44.70 รองลงมาคือปฏิบัติไดดี รอยละ 34.85 และยังปฏิบัติไดนอย รอยละ 20.45 เมื่อทําการทดสอบ ความความแตกตางการปฏิบัติของแตละทองถิ่น พบวาตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สวนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการในแตละตําแหนงที่ตางกัน พบวาไมแตกตางกันในทางสถิติ ตําบลที่มีการจัดทํายุทธศาสตรสุขภาพนั้นมีเพียงแหงเดียวคือ ทาเยี่ยม อําเภอสากเหล็ก การไดมาซึ่ง แผนงาน/โครงการนั้น สวนใหญไดจากการทําประชาคมหมูบานและตําบล รองลงมาจะเปนการ เสนอแผนงานโครงการโดยเจาหนาที่สาธารณสุข และจาก อบต.เอง มีบางเล็กนอยที่โครงการ
  • 6. ง ถูกเสนอโดยองคกรในชุมชน หรือภาคีอื่นๆ และทําการอนุมัติโดยที่ประชุมของคณะกรรมการ บริหารกองทุนฯ สวนที่ยังมีการดําเนินการนอยคือเรื่องการประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ ถึงกิจกรรมของกองทุนฯ และการประเมินผลงานที่ไดอนุมัติใหบุคคล หรือกลุมชมรมตางๆ ไป ดําเนินการ
  • 7. จ Abstract The objectives of the study of “The management of Local (Sub-district) health security fund in Pichit province 2008” were to explore financing situation, roles of committee in manage fund, the implementation of diseases prevention and protection, monitoring, controlling and evaluating system of the fund that relevant to objectives of the fund. The study conducted in 16 pilot local health security funds in Pichit between October 1st and May 31st 2009. The results found that in the management system factor, sources of fund and collected income trend to be decrease. The central government subsidy was trend to be increase. The specific subsidy was slightly decrease meanwhile the others were stable. Proportion of health financing was trend to be increase. Nevertheless, proportion of subsidy from National Security Office was tren to be decrease, meanwhile the joining budget from local government and others communities trend to be more increasing. Buget allocation from Local health security fund, Most of it allocated to elderly then agegroup equal to and more than 25 years, 6-25 years, handicab, 0-6 years and pregnant weman respectively. Most of expenditure by activities was paid for health care, health promotion, subsidised to health facilities, funding management and mangement improving respectively. The commitee’s opinion on level of performance found that it was in the fair, good and poor level equal to 44.70, 34.85 and 20.45 percent respectively. The differentiation of the perfomances between any local health security funds found the significantly different at 0.01 (P-value < 0.01) The differentiation of performances between different working positions found that it was not sigificantly different. Only one local government that had strategic planning, it was Tambol Thayium, Saklek district. Most of local plans and projects come from community and sub-district forum, proposal from health worker and member of local government. There were a few projects propsed by other sectors and organizations. The less implemented activities were public communucation, and evaluation.
  • 8. ฉ สารบัญ หนา กิตติกรรมประกาศ ก บทคัดยอ ค ABSTRACT จ สารบัญ ฉ สารบัญตาราง ฎ สารบัญภาพ ฏ บทที่ 1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 คําถามการวิจัย 4 วัตถุประสงค 4 ขอบเขตการวิจัย 5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5 นิยามศัพทเฉพาะ 5 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 4 สวนที่ 1 แผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรฯ 8 - ความสําคัญของการกระจายอํานาจ 8 - วิสัยทัศนการกระจายอํานาจสูทองถิ่น 9 - กรอบแนวคิดการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น 10 สวนที่ 2 การถายโอนภารกิจในแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นฯ 11 สวนที่ 3 ความเปนมาของกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น 12 - หลักการขอความรวมมือ 13 - หลักเกณฑการคัดเลือกองคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาล 13 - วัตถุประสงคของระบบหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ 13 - ที่มาของเงินทุน 14 - สัดสวนเงินสมทบจากองคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาล 14 - คณะกรรมการบริหารระบบหลักหลักประกันสุขภาพ 14 - หนาที่คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพ 15
  • 9. ช สารบัญ(ตอ) หนา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ(ตอ) - วาระของคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพ 15 - เปาหมายการดําเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นฯ 15 - ภารกิจและขั้นตอนการดําเนินงาน 16 สวนที่ 4 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสุขภาพภาคประชาชน 17 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 22 บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 27 ประชากรและกลุมตัวอยาง 27 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 27 การเก็บรวบรวมขอมูล 29 การวิเคราะหขอมูล 29 บทที่ 4 ผลการวิจัย 30 ตอนที่ 1 ระบบการบริหารจัดการงบประมาณ 30 ตอนที่ 2 ระดับการปฏิบัติ/ความเห็นคิดเห็นของคณะกรรมการบริหารฯ 39 ตอนที่ 3 ขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสัมภาษณกลุม 51 - ประเด็นการกําหนดนโยบายดานสุขภาพของ อบต./เทศบาล 51 - ประเด็นการไดมาซึ่งแผนงานโครงการ 53 - ประเด็นการประชุมของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันฯ 57 - ประเด็นการบริหารจัดการรายรับ – รายจาย งบประมาณของกองทุน 58 - ประเด็นขั้นตอนการรับงบประมาณไปดําเนินการ 59 - ประเด็นการจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน และการประชาสัมพันธ 60 - ประเด็นการจัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานฯ 62 - ประเด็นการควบคุมกํากับ และการประเมินผลงาน 63 - ประเด็นการนําผลจากการประเมินมาปรับปรุงแกไขฯ 65
  • 10. ซ สารบัญ(ตอ) หนา บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 68 สรุปผลการวิจัย 68 ดานระบบการบริหารจัดการงบประมาณ 68 ดานระดับการปฏิบัติ/ความเห็นคิดเห็นของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 70 ดานขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสัมภาษณกลุม (Focus group) 72 อภิปรายผล 77 ขอเสนอแนะ 79 ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาครั้งตอไป 80 บรรณานุกรม 81 ภาคผนวก - ตารางที่ ผ. 1 รายไดของ อบต.โรงชาง 83 - ตารางที่ ผ. 2 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 83 - ตารางที่ ผ. 3 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 83 - ตารางที่ ผ. 4 รายไดของ อบต.ปามะคาบ 84 - ตารางที่ ผ. 5 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 84 - ตารางที่ ผ. 6 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 84 - ตารางที่ ผ. 7 รายไดของ อบต.หัวดง 85 - ตารางที่ ผ. 8 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 85 - ตารางที่ ผ. 9 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 85 - ตารางที่ ผ.10 รายไดของ อบต.วังทรายพูน 86 - ตารางที่ ผ.11 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 86 - ตารางที่ ผ.12 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 86 - ตารางที่ ผ.13 รายไดของ อบต.โพธิ์ประทับชาง 87 - ตารางที่ ผ.14 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 87 - ตารางที่ ผ.15 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 87 - ตารางที่ ผ.16 รายไดของ อบต.ดงเสือเหลือง 88
  • 11. ฌ สารบัญ(ตอ) หนา - ตารางที่ ผ.17 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 88 - ตารางที่ ผ.18 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 88 - ตารางที่ ผ.19 รายไดของเทศบาลตําบลเนินมะกอก 89 - ตารางที่ ผ.20 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 89 - ตารางที่ ผ.21 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 89 - ตารางที่ ผ.22 รายไดของ อบต.วังกรด 90 - ตารางที่ ผ.23 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 90 - ตารางที่ ผ.24 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 90 - ตารางที่ ผ.25 รายไดของ อบต.ทาเสา 91 - ตารางที่ ผ.26 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 91 - ตารางที่ ผ.27 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 91 - ตารางที่ ผ.28 รายไดของ อบต.บางลาย 92 - ตารางที่ ผ.29 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 92 - ตารางที่ ผ.30 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 92 - ตารางที่ ผ.31 รายไดของเทศบาลตําบลเนินปอ 93 - ตารางที่ ผ.32 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 93 - ตารางที่ ผ.33 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 93 - ตารางที่ ผ.34 รายไดของ อบต.ทายทุง 94 - ตารางที่ ผ.35 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 94 - ตารางที่ ผ.36 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 94 - ตารางที่ ผ.37 รายไดของเทศบาลตําบลหนองพยอม 95 - ตารางที่ ผ.38 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 95 - ตารางที่ ผ.39 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 95 - ตารางที่ ผ.40 รายไดของ อบต.บึงบัว 96 - ตารางที่ ผ.41 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 96 - ตารางที่ ผ.42 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 96
  • 12. ญ สารบัญ(ตอ) หนา - ตารางที่ ผ.43 รายไดของ อบต.ทาเยี่ยม 97 - ตารางที่ ผ.44 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 97 - ตารางที่ ผ.45 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 97 - ตารางที่ ผ.46 รายไดของเทศบาลตําบลวังบงค 98 - ตารางที่ ผ.47 การจัดสรรงบประมาณสําหรับงานสรางเสริมสุขภาพฯ 98 - ตารางที่ ผ.48 จํานวนงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 98 - แบบ วจ.01 99 - แบบ วจ.02 101 - แบบ วจ.03 105 - แบบ วจ.04 107
  • 13. ฎ สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 4.1 แหลงงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 30 ตารางที่ 4.2 การจัดสรรงบประมาณของทองถิ่นสําหรับการดําเนินงานดานสาธารณสุข 31 ตารางที่ 4.3 แหลงงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ 32 ตารางที่ 4.4 การจัดสรรงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ป 2549 33 ตารางที่ 4.5 การจัดสรรงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ป 2550 33 ตารางที่ 4.6 การจัดสรรงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ป 2551 34 ตารางที่ 4.7 สัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมฯ ป 2549 35 ตารางที่ 4.8 สัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมฯ ป 2550 35 ตารางที่ 4.9 สัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมฯ ป 2551 36 ตารางที่ 4.10 การใชจายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ 37 ตารางที่ 4.11 สรุปสถานะเงินกองทุนป 2549 – 2551 39 ตารางที่ 4.12 จํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามสถานภาพฯ 39 ตารางที่ 4.13 จํานวนและรอยละของระดับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนฯ 40 ตารางที่ 4.14 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานงบประมาณ 41 ตารางที่ 4.15 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานขอมูล 43 ตารางที่ 4.16 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานการจัดทํายุทธศาสตร 44 ตารางที่ 4.17 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานการลงทุน 45 ตารางที่ 4.18 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานการตื่นตัวดานสุขภาพ 46 ตารางที่ 4.19 จํานวนและรอยละของระดับการดําเนินงานดานการตื่นตัวดานการประสาน 47 ตารางที่ 4.20 จํานวนและรอยละของระดับการปฏิบัติภาพรวมของกองทุนฯ 48 ตารางที่ 4.21 การทดสอบความสัมพันธระหวางความเห็นตอระดับการปฏิบัติฯ 49 ตารางที่ 4.22 การทดสอบความสัมพันธระหวางความเห็นตอระดับการปฏิบัติฯ 50 ตารางที่ 4.23 สรุปผล 67
  • 14. ฏ สารบัญภาพ หนา ภาพที่ 2.1 แนวทางการดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาระดับพื้นที่ ในพื้นที่นํารอง 16 ภาพที่ 2.2 การดําเนินงานสุขภาพภาคประชาชน 19 ภาพที่ 4.1 แหลงงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 30 ภาพที่ 4.2 รอยละงบประมาณที่ทองถิ่นจัดสรรเพื่อการดําเนินงานดานสาธารณสุข 31 ภาพที่ 4.3 เปรียบเทียบแหลงงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ 32 ภาพที่ 4.4 ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพแกเปาหมาย 34 ภาพที่ 4.5 ภาพรวมสัดสวนการใชงบประมาณในแตละประเภทกิจกรรมฯ ป 2549-2551 37
  • 15. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การกระจายอํานาจเปนแนวนโยบายหลักของรัฐตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 นับตั้งแตมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาว รัฐบาลไดดําเนินการ เกี่ยวกับการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นไปแลวหลายเรื่อง เชน การแกไข กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติงานเกี่ยวกับการปกครองทองถิ่นและความสัมพันธระหวางรัฐบาลและ องคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสอดคลองกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ การประกาศใช พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 เปนตน (สถาบันพระปกเกลา, 2545) นอกจากนั้นแลวหลักสําคัญของการกระจายอํานาจ ที่สอดคลองกับบริบทของการพัฒนาที่วา การรวมศูนยอํานาจไวที่สวนกลางนั้นจะทําให ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดเมื่อสังคมทั้งประเทศมีลักษณะที่คลายคลึงกันหรือเหมือนกัน (Homogeneity ) แตเมื่อใดก็ตามที่สังคมเริ่มมีการพัฒนาจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปสูสภาวการณ ของความแตกตางและหลากหลาย (Heterogeneity) การพัฒนาจากภายในจะเริ่มเกิดขึ้นในถิ่นหรือ หมูผูที่มีความพรอมในการรับการพัฒนา หรือพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงใหมกอน จนกระทั่ง ทายที่สุดสังคมก็จะนําไปสูความหลากหลายและแตกตางกันในแตละพื้นที่ ภายใตการเปลี่ยนแปลง สังคมที่รวดเร็วโดยเฉพาะอยางยิ่งเปนการเปลี่ยนแปลงภายใตกระแสโลกาภิวัฒนที่บังคับใหสังคม มีลักษณะพลวัต (Dynamic) การรวมอํานาจไวที่สวนกลางจะสงผลใหเกิดความดอยประสิทธิภาพ และเกิดความจําเปนที่จะตองมีการกระจายอํานาจใหเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพมากขึ้น และ ในขณะเดียวกันก็จะสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของอํานาจรัฐสูประชาชนดวย ความสําคัญของการกระจายอํานาจดังกลาวขางตน (พีรสิทธิ์ คํานวณศิลป และคณะ, 2544 ) ประเทศไทยไดมีการพยายามที่จะดําเนินการกระจายอํานาจมาตั้งแต พ.ศ.2476 โดยเริ่มมี การกําเนิดเทศบาล สุขาภิบาล และองคการบริหารสวนจังหวัดขึ้น แตแนวทางการปฏิบัติของ องคการทั้งสามในขางตนนั้นยังมีขอจํากัดในการบริหารจัดการ กลาวคือ การบริหารจัดการของ เทศบาลและสุขาภิบาล ซึ่งในปจจุบันยกฐานะเปนเทศบาลตําบลนั้น เปนการบริหารจัดการเพื่อมุง ตอบสนองตอสภาพปญหาและความตองการของชุมชนเมือง สวนองคการบริหารสวนจังหวัดแมจะ
  • 16. 2 มีขอบเขตความรับผิดชอบครอบคลุมพื้นที่ทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท แตก็ยังไมสามารถ ตอบสนองตอสภาพปญหาและความตองการของประชาชนในเขตชนบทไดเต็มที่ (กองราชการ สวนตําบล กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ,2543) ดังนั้นตอมารัฐบาลจึงไดมีนโยบาย ที่ชัดเจนและเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยไดมีการจัดตั้งองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ขึ้นตาม พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และไดกําหนดอํานาจ หนาที่ และความรับผิดชอบซึ่งตรงกับแนวทางการกระจายอํานาจตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ทําใหการแกไขปญหา เรื่องความครอบคลุมพื้นที่ชนบทได อํานาจ หนาที่ และความรับผิดชอบขององคการบริหารสวน ตําบลนั้น ครอบคลุมทุกดานทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม และที่กาวหนามากกวานั้นยังไดรับมอบ อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบผานพระราชบัญญัติใหสามารถจัดการบริการสาธารณะ เชน ดานการสาธารณสุข การศึกษา สิ่งแวดลอม เปนตน ในการผองถายการจัดการบริการสาธารณะนี้ เกิดขึ้นตามแผนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2543 ซึ่งไดมีการวางแผนที่จะใหองคการบริหาร สวนตําบลสามารถจัดบริการสาธารณะใหแลวเสร็จภายใน 10 ป (2544 – 2553 ) พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดให งานบริการสาธารณสุขในความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุขเปนภารกิจที่ตองถายโอน ใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในมาตรา 16 มาตรา 17 มาตรา 18 และมาตรา 19 ครอบคลุม ถึงการสาธารณสุข การรักษาพยาบาล การปองกันโรคและการควบคุมโรคติดตอ และใน ปงบประมาณ 2544 – 2545 กระทรวงสาธารณสุข ไดถายโอนงานสาธารณสุขมูลฐานและ งานสรางเสริมสุขภาพซึ่งเปนกิจกรรมที่องคการบริหารสวนตําบลมีสวนเกี่ยวของโดยตรง และเปนกิจกรรมที่ดําเนินการโดยชุมชนเองได (สํานักนโยบายและแผนสาธารณสุข, 2541) และหลังจากพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 9 พฤศจิกายน 2545 สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) ไดเขามาเปนองคกรที่มี หนาที่ในการดําเนินการ เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับการคุมครองการเขาถึงบริการสุขภาพที่จําเปน และมีคุณภาพ รวมทั้งการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการกระจายอํานาจดานสุขภาพใหกับ องคกรปกครองสวนทองถิ่น พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ในหลายมาตราไดกําหนดให ประชาชนและทองถิ่นมีสวนรวมในระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนาในหลายรูปแบบ ทั้งใน สวนของการเปนผูมีสิทธิในการเขารับบริการ การบริหารจัดการ การตรวจสอบ และรับรอง คุณภาพบริการ และเพื่อใหเปนไปตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 18 (9) และมาตรา 47 ไดสนับสนุนและกําหนดหลักเกณฑใหองคกรชุมชน องคกรเอกชนและ
  • 17. 3 ภาคเอกชนที่ไมมีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินการแสวงหาผลกําไร ดําเนินงาน และบริหารจัดการ เงินทุนในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ไดตามความพรอม ความเหมาะสมและความตองการ โดยสงเสริมกระบวนการ มีสวนรวมเพื่อสรางหลักประกันสุขภาพแหงชาติใหแกบุคคลในพื้นที่ จึงไดมีการประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อรางหลักเกณฑในการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับทองถิ่นหรือพื้นที่จากหนวยงานและผูเกี่ยวของ ทั้งคณะอนุกรรมการสนับสนุนการมีสวน รวมของภาคประชาชน สมาคมองคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย กรมสงเสริมการ ปกครองสวนทองถิ่น กองทุนชุมชน และสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ซึ่งหลักเกณฑ การดําเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ ไดผานการพิจารณาจาก คณะอนุกรรมการประสานงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสรางหลักประกันสุขภาพ ถวนหนาและคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ มีมติเห็นชอบจากการกําหนด หลักเกณฑ เพื่อสนับสนุนใหองคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาลดําเนินงานและบริหารจัดการ ระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นและพื้นที่ ตั้งแตวันที่ 27 กุมภาพันธ 2549 โดยที่ ประชุมไดมีการวางแผนทดลองกระจายอํานาจดานสุขภาพในรูปแบบกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทองถิ่นเพื่อการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค มีเปาหมายที่จะดําเนินงานนํารองในป 2549 ทั่วประเทศ จํานวน 800 แหง (อําเภอละไมเกิน 1 แหง) ป 2550 ใหดําเนินการใน อบต. หรือ เทศบาลที่มีความพรอม ป 2551 จะตองดําเนินการใน อบต. และเทศบาลทุกแหง ซึ่งมีแนวทาง ในการดําเนินงาน คือ การโอนงบประมาณในสวนของการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค หรืองบ PP ตรงไปยัง อบต. หรือเทศบาล โดยคิดตามรายหัวประชากรที่รับผิดชอบ จํานวน 37.50 บาท ตอหัวประชากร และ อบต. หรือเทศบาล จะตองสมทบเงินเขากองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น ตามสัดสวน คือ อบต.ขนาดใหญหรือเทศบาล สมทบไมนอยกวา รอยละ 50 ของคาบริการ สาธารณสุขที่ไดรับจากกองทุนหลักประกัน อบต.ขนาดกลาง สมทบไมนอยกวารอยละ 20 ของ คาบริการสาธารณสุขที่ไดรับจากกองทุนหลักประกัน อบต.ขนาดเล็กสมทบไมนอยกวารอยละ 10 ของคาบริการสาธารณสุขที่ไดรับจากกองทุนหลักประกัน โดยมีวัตถุประสงคของการจัดตั้งเพื่อ เปนคาใชจายในการสนับสนุน และสงเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ซึ่งเนนการสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค และการฟนฟูสภาพของหนวยบริการหรือสถานบริการอื่นๆ เพื่อสงเสริมให กลุมเปาหมายที่เปนกลุมแมและเด็ก กลุมผูสูงอายุ กลุมผูพิการ กลุมผูประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุมผูปวยโรคเรื้อรังที่อยูในชุมชน สามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขไดอยางทั่วถึงและ มีประสิทธิภาพ อยางนอยตามชุดสิทธิประโยชนที่กําหนด การดําเนินงานนํารองรูปแบบกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่นเพื่อสงเสริมสุขภาพ และปองกันโรคใน ป 2549 ตองอาศัยความพรอมและความสมัครใจในการเขารวมขององคกร
  • 18. 4 ปกครองสวนทองถิ่น จังหวัดพิจิตรมีองคกรปกครองสวนทองถิ่นสมัครใจเขารวมดําเนินงาน กองทุนนํารองหลักประกันสุขภาพทองถิ่น จํานวน 16 แหง ซึ่งแสดงถึงความพรอมขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นในการที่จะดําเนินงาน เพื่อเตรียมการรองรับการกระจายอํานาจดานสุขภาพ คณะผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาสถานการณ และเงื่อนไขการบริหารงบประมาณของกองทุน หลักประกันสุขภาพทองถิ่นเพื่อการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค ภายใตแนวคิด บทบาทและ การมีสวนรวมในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่นของคณะกรรมการกองทุน เพื่อนําขอมูลมาปรับปรุงและวางแผนพัฒนาคณะกรรมการกองทุนใหสามารถบริหารจัดการกองทุน หลักประกันสุขภาพทองถิ่นไดอยางมีประสิทธิภาพ และสงผลตอการพัฒนาสุขภาพอนามัยของ ประชาชนใหมีสุขภาวะที่ดีขึ้นในอนาคตตอไป คําถามการวิจัย 1. คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ของจังหวัดพิจิตรมีการ บริหารจัดการงบประมาณกองทุนฯ อยางไร 2. ตัวแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตัวแทนชุมชน และตัวแทนเจาหนาที่ สาธารณสุข ในพื้นที่มีความเห็นตอการปฏิบัติงานในรูปแบบกองทุนหลักประกัน สุขภาพทองถิ่นเพื่อการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค ระดับใด วัตถุประสงค วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อศึกษาสถานการณ และเงื่อนไขการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพของ ทองถิ่น การพัฒนากองทุนในทรรศนะของกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น รวมถึง การดําเนินการดานสุขภาพในทองถิ่น และการพัฒนาระบบสุขภาพของทองถิ่น ตามกรอบ เจตนารมย ของ พรบ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 วัตถุประสงคเฉพาะ 1. เพื่อศึกษาสถานการณดานงบประมาณ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น ของจังหวัดพิจิตร 2. เพื่อศึกษาบทบาทของคณะกรรมการกองทุนฯ ในการบริหารจัดการงบประมาณ และ การดําเนินงานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค ประมาณ ของกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับทองถิ่น ของจังหวัดพิจิตร
  • 19. 5 3. เพื่อศึกษาระบบการติดตามควบคุมกํากับ และการประเมินผลงบประมาณของกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น ของจังหวัดพิจิตร 4. เพื่อศึกษาความสอดคลองของกิจกรรมที่ดําเนินการกับวัตถุประสงคของกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น ของจังหวัดพิจิตร ขอบเขตการวิจัย ทําการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการบริหารจัดการงบประมาณ และประสิทธิภาพของการ บริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น ของจังหวัดพิจิตรที่สมัครเขารวมเปนพื้นที่ กองทุนนํารองของจังหวัดพิจิตรจํานวน 16 แหง โดยใชระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต 1 ตุลาคม 2551 ถึง 31 พฤษภาคม 2552 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ผลที่ไดจากการศึกษาสามารถนําไปขยายผลตอในพื้นที่อื่นๆ และ สปสช. อาจออกระเบียบ แนวทาง หรือขอกําหนดเพิ่มเติม ซึ่งจะเกิดการดําเนินงานดานสุขภาพที่เหมาะสม และเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ตอไป นอกจากนั้นยังเปนกระบวนการพัฒนานักวิจัยในระดับพื้นที่ใหมี ประสบการณและองคความรูมากขึ้น นิยามศัพทเฉพาะ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ หมายถึง การดําเนินงานในรูปแบบกองทุน หลักประกันสุขภาพทองถิ่น (อบต. หรือเทศบาล) เพื่อการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค โดยมี เงื่อนไขดังนี้ 1. การรวมสมทบเงินเขากองทุนตามสัดสวน ดังนี้ - อบต.ขนาดใหญหรือเทศบาล สมทบไมนอยกวา รอยละ 50 ของคาบริการ สาธารณสุขที่ไดรับจากกองทุนหลักประกัน - อบต.ขนาดกลาง สมทบไมนอยกวารอยละ 20 ของคาบริการสาธารณสุขที่ไดรับจาก กองทุนหลักประกัน - อบต.ขนาดเล็กสมทบไมนอยกวารอยละ 10 ของคาบริการสาธารณสุขที่ไดรับจาก กองทุนหลักประกัน
  • 20. 6 2. มีการจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น โดยคณะกรรมการฯ ตองประกอบดวยกลุมไตรภาคี คือ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตัวแทนชุมชน และตัวแทน เจาหนาที่สาธารณสุข 3. วัตถุประสงคของการใชเงินกองทุนเพื่อสงเสริมการจัดบริการสาธารณสุข โดยเนนการ สงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค และการฟนฟูสภาพของหนวยบริการหรือสถานบริการอื่น ๆ เพื่อสงเสริมใหกลุมเปาหมายที่เปนกลุมแมและเด็ก กลุมผูสูงอายุ กลุมผูพิการ กลุมผูประกอบ อาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุมผูปวยโรคเรื้อรังที่อยูในชุมชน สามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขได อยางทั่วถึง คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพสุขภาพระดับ พื้นที่ ซึ่งประกอบดวย 1. นายก อบต.หรือนายกเทศมนตรีหรือผูที่นายกฯมอบหมาย เปนประธาน 2. สมาชิกสภา อบต.หรือสภาเทศบาลที่สภาฯ คัดเลือก จํานวน 2 คน เปนกรรมการ 3. ผูแทนหมูบาน/ชุมชนที่ประชาคมหมูบาน/ชุมชนเลือกกันเองหมูบาน/ชุมชนละ 1 คน เปนกรรมการ 4. ผูแทน อสม. จํานวน 2 คน เปนกรรมการ 5. ผูแทนหนวยบริการที่ สปสช. มอบหมาย เปนกรรมการ 6. ปลัด อบต.หรือปลัดเทศบาล เปนกรรมการและเลขานุการ องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) หมายถึง องคการบริหารสวนตําบล ตามกฎหมายวา ดวยสภาตําบลและองคการบริการสวนตําบล ที่ไดรับการสนับสนุนใหดําเนินงานและบริหารจัดการ หลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ เทศบาล หมายถึง เทศบาลตามกฎหมายวาดวยเทศบาลที่ไดรับการสนับสนุนให ดําเนินงานและบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ ระบบหลักประกันสุขภาพ หมายถึง ระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวกับการสรางเสริม สุขภาพ การปองกันโรค และการฟนฟูสภาพที่จําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิต สถานบริการ หมายถึง สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เอกชน และของสภากาชาดไทย หนวยบริการประกอบโรคศิลปะตาง ๆ และสถานบริการสุขอื่นที่คณะกรรมการหลักประกัน แหงชาติกําหนดเพิ่มเติม หนวยบริการ หมายถึง สถานบริการที่ไดขึ้นทะเบียนไวตามพระราชบัญญัติ หลักประกัน สุขภาพแหงชาติ
  • 21. 7 กิจกรรมการสรางเสริมสุขภาพ (Health Promotion) หมายถึง เปนงานสาธารณสุขที่ ครอบคลุมหลายมิติ จึงมีผูใหคําจํากัดความไวหลากหลาย เชน ในกฎบัตรออตตาวา ไดให ความหมายของการสรางเสริมสุขภาพวา คือกระบวนการเพิ่มสมรรถนะใหประชาชน มีความสามารถในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพตนเอง อันจะเปนผลตอสุขภาวะที่สมบูรณทางกาย ทางจิต และทางสังคม กิจกรรมการปองกันโรค (Disease Prevention) หมายถึง เปนงานที่ตองทําควบคูกับงาน สรางเสริมสุขภาพ กิจกรรมบางอยางไมสามารถจําแนกไดอยางเด็ดขาดวาเปนกิจกรรมการปองกัน โรคหรือกิจกรรมสรางสุขภาพ แตโดยสวนใหญเห็นตรงกันวา กิจกรรมสรางเสริมสุขภาพนั้น เนนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น สวนกิจกรรมปองกันโรคนั้นเนนที่ความพยายามไมให เกิดโรค
  • 22. 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ไดทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ มีประเด็นที่สําคัญที่ เกี่ยวของทั้งหมด 4 หัวขอ ดังนี้ สวนที่ 1 แผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 สวนที่ 2 การถายโอนภารกิจในแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นของกระทรวงสาธารณสุข สวนที่ 3 การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่นเพื่อการสงเสริมและปองกันโรค สวนที่ 4 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสุขภาพภาคประชาชน สวนที่ 1 แผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 1. ความสําคัญของการกระจายอํานาจ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ไดใหความสําคัญกับการ กระจายอํานาจการปกครองไปสูทองถิ่นโดยไดกําหนดไวในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ มาตรา 78 กําหนดใหรัฐตองกระจายอํานาจใหทองถิ่นพึ่งตนเอง และตัดสินใจในกิจการของ ทองถิ่นไดเอง พัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่น และระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ตลอดทั้ง โครงสรางพื้นฐานสารสนเทศในทองถิ่นใหทั่วถึงและเทาเทียมกันทั่วประเทศ รวมทั้งพัฒนา จังหวัดที่มีความพรอมใหเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นขนาดใหญ โดยคํานึงถึงเจตนารมณของ ประชาชนในจังหวัดนั้น ในดานการปกครองสวนทองถิ่น รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ไดกําหนดไวในหมวด 9 รวม 9 มาตรา ตั้งแต มาตรา 282 ถึงมาตรา 290 สรุปไดวารัฐจะตองใหความเปนอิสระแกทองถิ่นตามหลักแหงการปกครองตนเองตามเจตนารมณ ของประชาชนในทองถิ่นโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหลายควรมีอิสระในการกําหนด นโยบายการปกครอง การบริหารการบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และมีอํานาจหนาที่ ของตนเอง โดยรัฐบาลเปนผูกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่นเทาที่จําเปนภายในกรอบของ กฎหมาย และเพื่อกระจายอํานาจใหแกทองถิ่นเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเพื่ออนุมัติตามมาตรา 284 แหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จึงไดตราพระราชบัญญัติกําหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ขึ้น ซึ่งมีสาระสําคัญ ในการกําหนดอํานาจ และหนาที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะระหวางรัฐกับองคกรปกครอง
  • 23. 9 สวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองการจัดสรรสัดสวนภาษีและอากร ระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยคํานึงถึงภาระหนาที่ของรัฐกับองคกรปกครอง สวนทองถิ่นและระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองเปนสําคัญและตามมาตรา 12 แหง พระราชบัญญัติดังกลาว ไดกําหนดใหคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน- ทองถิ่น มีอํานาจและหนาที่จัดทําแผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและ แผนปฏิบัติการ เพื่อขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและรายงานตอรัฐสภาโดยในบทเฉพาะ กาล มาตรา 35 ของพระราชบัญญัติดังกลาว กําหนดใหในวาระเริ่มแรกใหคณะกรรมการจัดทํา แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและแผนปฏิบัติการใหแลวเสร็จภายใน หนึ่งป นับแตวันที่กรรมการเริ่มปฏิบัติหนาที่ หรือภายในวันที่ 2 กุมภาพันธ 2544 แผนการ กระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนแผนที่กําหนดกรอบแนวคิดเปาหมายและ แนวทางการกระจายอํานาจใหเปนไปตามมาตรา 30 แหงพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 เพื่อใหการกระจายอํานาจบรรลุ เจตนารมณที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยยึดหลักการ มีสวนรวมจากทุกฝายไมเปนแผนที่เบ็ดเสร็จ มีกระบวนการที่ยืดหยุนและสามารถปรับวิธีการให สอดคลองกับสถานการณและการเรียนรูจากประสบการณที่เพิ่มขึ้น (สถาบันพระปกเกลา, 2545 ) 2. วิสัยทัศนการกระจายอํานาจสูทองถิ่น ในชวง 4 ปแรก (พ.ศ. 2544-2547) ของการถายโอนภารกิจตามกรอบของกฎหมาย วาดวยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะเปน ชวงของการปรับปรุงระบบการบริหารงานภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ราชการบริหาร สวนกลางและราชการบริหารสวนภูมิภาค รวมทั้งการพัฒนายุทธศาสตร การสรางความพรอมใน การรองรับการถายโอนภารกิจ บุคลากร งบประมาณ และทรัพยสิน รวมทั้งการแกไขกฎหมายที่ เกี่ยวของ ในสวนของภารกิจที่ถายโอนจะมีทั้งการถายโอนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นอยาง สมบูรณ และการดําเนินงานรวมกันระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองและระหวาง องคกรปกครองสวนทองถิ่นกับหนวยงานของรัฐ โดยจะมีบุคลากรจํานวนหนึ่งถายโอนไป ปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นหลังจากการถายโอนในชวง 4 ปแรก สิ้นสุดลงจนถึงระยะเวลาการถายโอนในปที่ 10 (พ.ศ. 2548-2553) ตามกรอบของ กฎหมายวาดวยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะเปนชวงเปลี่ยนผาน มีการปรับบทบาทของราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวน ภูมิภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาชนที่จะเรียนรูรวมกันในการถายโอนภารกิจ มีการปรับกลไกความสัมพันธระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นกับราชการบริหารสวนภูมิภาค
  • 24. 10 อยางกลมกลืนรวมทั้งปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของ อันจะทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น สามารถดําเนินกิจการสาธารณะที่ตอบสนองความตองการของประชาชนในทองถิ่นดีขึ้นและจะทํา ใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและองคกร ปกครองสวนทองถิ่นจะสามารถพัฒนาขีดความสามารถในการดําเนินกิจกรรมไดอยางมี ประสิทธิภาพและมีความโปรงใสในชวงเวลาหลังจากปที่ 10 (พ.ศ. 2554 เปนตนไป) ประชาชนใน ทองถิ่นจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถเขาถึงบริการสาธารณะไดอยางทั่วถึงและเปนธรรม ประชาชนจะมีบทบาทในการตัดสินใจการกํากับดูแลและการตรวจสอบ ตลอดจนการสนับสนุน การดําเนินกิจกรรมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอยางเต็มที่ ในสวนองคกรปกครอง สวนทองถิ่นจะมีการพัฒนาศักยภาพทางดานการบริหารจัดการและการคลังทองถิ่นที่พึ่งตนเองและ เปนอิสระมากขึ้น ผูบริหารและสภาพทองถิ่นจะเปนผูมีความรูความสามารถ และมีวิสัยทัศนใน การบริหารสวนบริหารราชการภูมิภาคจะเปลี่ยนบทบาทจากฐานะผูจัดทําบริการสาธารณะมาเปน ผูใหความชวยเหลือทางวิชาการ และกํากับดูแลการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เทาที่จําเปนภายใตขอบเขตที่ชัดเจนและการปกครองสวนทองถิ่นจะเปนการปกครองตนเองของ ประชาชนในทองถิ่นอยางแทจริง (พีรสิทธิ์ คํานวณศิลป และคณะ, 2544 ) 3. กรอบแนวคิดการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น กรอบแนวคิดการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดยึดหลักการและ สาระสําคัญ 3 ดาน คือ 3.1 ดานความเปนอิสระในการกําหนดนโยบายและการบริหารจัดการองคกรปกครอง สวน-ทองถิ่นยอมมีอิสระในการกําหนดนโยบายการปกครอง การบริหารจัดการ การบริหารงาน บุคคล และการเงินการคลังของตนเอง โดยยังคงรักษาความเปนรัฐเดี่ยวและความมีเอกภาพของ ประเทศ มีสถาบันพระมหากษัตริยเปนประมุข และความมั่นคงของชาติเอาไวได ตลอดจนการ สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการเมืองการปกครองทองถิ่นภายใตระบอบประชาธิปไตย 3.2 ดานการบริหารสวนราชการแผนดิน และการบริหารราชการสวนทองถิ่น รัฐตอง กระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของตนเอง ไดมากขึ้น โดยปรับบทบาทและภารกิจของราชการบริหารสวนกลางและราชการบริหารสวน ภูมิภาค และเพิ่มบทบาทใหสวนทองถิ่นเขามาดําเนินการแทน เพื่อใหราชการบริหารสวนกลางและ ราชการบริหารสวนภูมิภาครับผิดชอบในภารกิจมหภาค และภารกิจที่เกินกวาขีดความสามารถของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะดําเนินการได โดยกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่นในดาน นโยบายและดานกฎหมายเทาที่จําเปนใหการสนับสนุนสงเสริมดานเทคนิควิชาการและตรวจสอบ ติดตามประเมินผล
  • 25. 11 3.3 ดานประสิทธิภาพการบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รัฐตองกระจาย อํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อใหประชาชนไดรับบริการสาธารณะที่ดีขึ้นหรือไมต่ํา กวาเดิม มีคุณภาพมาตรฐาน การบริหารจัดการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นมีความโปรงใส มีประสิทธิภาพ และรับผิดชอบตอผูใหบริการใหมากขึ้น รวมทั้งสงเสริมใหประชาชนภาค ประชาสังคมและชุมชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ รวมดําเนินงานและติดตามตรวจสอบ สวนที่ 2 การถายโอนภารกิจในแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นของกระทรวง สาธารณสุข ขอบเขตการถายโอน ขั้นตอน/วิธีปฏิบัติ 1. กระทรงสาธารณสุข มีบทบาทในการกํากับดูแล และบริหารจัดการระบบสุขภาพ ในภาพรวม เพื่อใหเกิดความเทาเทียมในดานสถานสุขภาพระหวางประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งการ จัดสรรทรัพยากรดานสุขภาพของทองถิ่นกําหนดมาตรฐานกลาง มาตรฐานบริการควบคุมคุณภาพ และตรวจสอบ 2. หลังจากพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติพ.ศ.2545 มีผลบังคับใชตั้งแต วันที่ 9 พฤศจิกายน 2545 ที่ผานมา สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) ไดเขามามี บทบาทเปนองคกรหลักในการดําเนินการ เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับการคุมครองการเขาถึงบริการ สุขภาพที่จําเปนและมีคุณภาพ รวมทั้งการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ ดานสุขภาพใหกับองคกร-ปกครองสวนทองถิ่น พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ในหลายมาตราไดกําหนด ใหประชาชนละทองถิ่นมีสวนรวมในระบบหลักประกันสุขภาพ ถวนหนาในหลายรูปแบบทั้งในสวนของการเปนผูสิทธิในการเขารับบริการ การบริหารจัดการ การตรวจสอบ และรับรองคุณภาพบริการ ตามบทบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2545 ในมาตรา 13 (3) มาตรา 18 (8) มาตรา 47 และมาตรา 48 (4) กําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น สนับสนุนและกําหนดหลักเกณฑใหองคกรชุมชน องคเอกชน และภาคเอกชนที่ไมวัตถุประสงค เพื่อดําเนินการแสวงหาผลกําไร ดําเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ได ตามความพรอม ความเหมาะสมและความตองการ โดยสงเสริมกระบวนการมีสวนรวม เพื่อสรางหลักประกันสุขภาพแหงชาติใหแกบุคคลในพื้นที่ โดยคณะกรรมการสนับสนุน และ ประสานกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น กําหนดหลักเกณฑเพื่อใหองคกรดังกลาวเปนผูดําเนินการ และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นและพื้นที่ โดยใหไดรับคาใชจายจาก กองทุน คณะอนุกรรมการสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมภาคประชาชนไดดําเนินการ รวบรวมขอมูลองคกรชุมชนที่มีศักยภาพในการดําเนินงานเรื่องกองทุนสวัสดิการ ที่ชุมชนทองถิ่น