SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 546
Downloaden Sie, um offline zu lesen
พุทธวจน
ราธะ ! ความพอใจอันใด ราคะอันใด นันทิอันใด ตัณหาอันใด มีอยูในรูป ในเวทนา
ในสัญญา ในสังขารทังหลาย และในวิญญาณ เพราะการติดแลว ของแลวในสิงนันๆ
้
่ ้
เพราะฉะนั้นจึงเรียกวา “สัตว” ดังนี้.
วัจฉะ ! เรายอมบัญญัติความบังเกิดขึ้น สําหรับสัตวผูที่ยังมีอุปาทานอยู
ไมใชสําหรับสัตวผูที่ไมมีอุปาทาน.
วัจฉะ ! เปรียบเหมือนไฟที่มีเชื้อ ยอมโพลงขึ้นได ที่ไมมีเชื้อ ก็โพลงขึ้นไมได
อุปมานี้ฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น.
วัจฉะ ! สมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล เรายอมบัญญัติเปลวไฟนั้นวา
มีลมนันแหละเปนเชือ เพราะวาสมัยนัน ลมยอมเปนเชือของเปลวไฟนัน.
่
้
้
้
้
วัจฉะ ! สมัยใด สัตวทอดทิ้งกายนี้ และยังไมบังเกิดขึ้นดวยกายอื่น เรากลาวสัตวนี้วา
มีตัณหานั่นแหละเปนเชื้อ เพราะวาสมัยนั้น ตัณหายอมเปนเชื้อของสัตวนั้น.
ภิกษุทั้งหลาย ! เปรียบเหมือนทอนไมอันบุคคลซัดขึ้นไปสูอากาศ
บางคราวตกเอาโคนลง บางคราวตกเอาตอนกลางลง บางคราวตกเอาปลายลง ขอนีฉนใด.
้ั
้ั
 ี
่ ้ ั
่
่
ภิกษุทั้งหลาย ! สัตวทงหลายผูมอวิชชาเปนเครืองกัน มีตณหาเปนเครืองผูก ทองเทียวไปมาอยู
ก็ฉันนั้นเหมือนกัน บางคราวแลนไปจากโลกนี้สูโลกอื่น บางคราวแลนจากโลกอื่นสูโลกนี้.

ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๒/๓๖๗.
สฬา. สํ. ๑๘/๔๘๕/๘๐๐.
นิทาน. สํ. ๑๖/๒๑๙/๔๓๘-๔๓๙.
พุ ท ธ ว จ น
ฉบับ ๑๑

ภพภูมิ

พุทธวจนสถาบัน

รวมกันศึกษา ปฏิบัติ เผยแผคําของตถาคต
พุทธวจน

ฉบับ ๑๑

ภพภูมิ

ขอมูลธรรมะนี้ จัดทําเพื่อประโยชนทางการศึกษาสูสาธารณชน
เปนธรรมทาน
ลิขสิทธิ์ในตนฉบับนี้ไดรับการสงวนไว
ไมสงวนสิทธิ์ในการจัดทําจากตนฉบับเพื่อเผยแผในทุกกรณี
ในการจัดทําหรือเผยแผ โปรดใชความละเอียดรอบคอบ
เพื่อรักษาความถูกตองของขอมูล
ขอคําปรึกษาดานขอมูลในการจัดทําเพื่อความสะดวกและประหยัด
ติดตอไดที่
มูลนิธิพุทธโฆษณ โทรศัพท ๐๘ ๘๔๙๔ ๘๐๘๓
พุทธวจนสมาคม โทรศัพท ๐๘ ๑๖๔๗ ๖๐๓๖
คุณศรชา
โทรศัพท ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑
คุณอารีวรรณ
โทรศัพท ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘
พิมพครั้งที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๖
ศิลปกรรม ณรงคเดช เจริญปาละ, วิชชุ เสริมสวัสดิ์ศรี
จัดทําโดย มูลนิธิพุทธโฆษณ
(เว็บไซต www.buddhakos.org)
คําอนุโมทนา
ขออนุโมทนา กับคณะผูจัดทํา หนังสือพุทธวจน
ฉบับ “ภพภูมิ” ที่มีความตั้งใจและมีเจตนาอันเปนกุศล
ในการเผยแผคําสอนของตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
ทีออกจากพระโอษฐของพระองคเอง ทีทานตรัสรูในหลาย
่
่ 

แงมุม เกี่ยวกับการแลนไป การทองเที่ยวไปในสังสารวัฏ
ของสัตวทงหลายตลอดกาลยืดยาวนาน เปนสัจจะตามหลัก
ั้
พุทธวจน เพื่อใหผูสนใจไดศึกษาและนํามาปฏิบัติใหถึง
ความพนทุกข
ด ว ยเหตุ ป จ จั ย ดั ง กล า ว ขอให ผู มี ส ว นร ว มใน
การรวบรวมคําสอนของตถาคตที่บัญญัติเกี่ยวกับภพภูมิ
จนสําเร็จมาเปนหนังสือเลมนี้ รวมถึงผูที่ไดอาน ไดศึกษา
และไดปฏิบติ พึงเกิดปญญาไดดวงตาเห็นธรรม กระทําทีสด
ั
ุ่
เพื่อการละขาดแหงภพทั้งหลายดวยเทอญ.
ขออนุโมทนา
พระคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
อักษรยอ
เพื่อความสะดวกแกผูที่ยังไมเขาใจเรื่องอักษรยอ
ที่ใชแทนชื่อคัมภีร ซึ่งมีอยูโดยมาก
มหาวิ. วิ.
ภิกฺขุนี. วิ.
มหา. วิ.
จุลฺล. วิ.
ปริวาร. วิ.
สี. ที.
มหา. ที.
ปา. ที.
มู. ม.
ม. ม.
อุปริ. ม.
สคาถ. สํ.
นิทาน. สํ.
ขนฺธ. สํ.
สฬา. สํ.
มหาวาร. สํ.
เอก. อํ.
ทุก. อํ.
ติก. อํ.
จตุกฺก. อํ.

มหาวิภังค
ภิกขุนีวิภังค
มหาวรรค
จุลวรรค
ปริวารวรรค
สีลขันธวรรค
มหาวรรค
ปาฏิกวรรค
มูลปณณาสก
มัชฌิมปณณาสก
อุปริปณณาสก
สคาถวรรค
นิทานวรรค
ขันธวารวรรค
สฬายตนวรรค
มหาวารวรรค
เอกนิบาต
ทุกนิบาต
ติกนิบาต
จตุกกนิบาต

วินัยปฎก.
วินัยปฎก.
วินัยปฎก.
วินัยปฎก.
วินัยปฎก.
ทีฆนิกาย.
ทีฆนิกาย.
ทีฆนิกาย.
มัชฌิมนิกาย.
มัชฌิมนิกาย.
มัชฌิมนิกาย.
สังยุตตนิกาย.
สังยุตตนิกาย.
สังยุตตนิกาย.
สังยุตตนิกาย.
สังยุตตนิกาย.
อังคุตตรนิกาย.
อังคุตตรนิกาย.
อังคุตตรนิกาย.
อังคุตตรนิกาย.
ปฺจก. อํ.
ฉกฺก. อํ.
สตฺตก. อํ.
อก. อํ.
นวก. อํ.
ทสก. อํ.
เอกาทสก. อํ.
ขุ. ขุ.
ธ. ขุ.
อุ. ขุ.
อิติวุ. ขุ.
สุตฺต. ขุ.
วิมาน. ขุ.
เปต. ขุ.
เถร. ขุ.
เถรี. ขุ.
ชา. ขุ.
มหานิ. ขุ.
จูฬนิ. ขุ.
ปฏิสมฺ. ขุ.
อปท. ขุ.
พุทฺธว. ขุ.
จริยา. ขุ.

ปญจกนิบาต
ฉักกนิบาต
สัตตกนิบาต
อัฏฐกนิบาต
นวกนิบาต
ทสกนิบาต
เอกาทสกนิบาต
ขุททกปาฐะ
ธรรมบท
อุทาน
อิติวุตตกะ
สุตตนิบาต
วิมานวัตถุ
เปตวัตถุ
เถรคาถา
เถรีคาถา
ชาดก
มหานิทเทส
จูฬนิทเทส
ปฏิสัมภิทามรรค
อปทาน
พุทธวงส
จริยาปฎก

อังคุตตรนิกาย.
อังคุตตรนิกาย.
อังคุตตรนิกาย
อังคุตตรนิกาย.
อังคุตตรนิกาย.
อังคุตตรนิกาย.
อังคุตตรนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.
ขุททกนิกาย.

ตัวอยาง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอานวา
ไตรปฎกฉบับสยามรัฐ เลม ๑๔ หนา ๑๗๑ ขอที่ ๒๔๕
คํานํา
เพราะเหตุ ว า สงสารนี้ กํ า หนดที่ สุ ด เบื้ อ งต น
เบื้องปลายไมได เมื่อเหลาสัตวผูมีอวิชชาเปนเครื่องกั้น
มีตัณหาเปนเครื่องผูก ทองเที่ยวไปมาอยู ที่สุดเบื้องตน
ยอมไมปรากฏ สัตวเหลานันไดเสวยความทุกข ความเผ็ดรอน
้
ความพินาศ ไดเพิ่มพูนปฐพีที่เปนปาชาตลอดกาลนาน
เหมือนอยางนั้น
น้ําตา ที่เราเคยหลั่งไหล น้ํานม ที่เราเคยไดดื่ม
เลือด ทีเราเคยสูญเสีย เปรียบกับน้าในมหาสมุทรทัง ๔ แลว
่
ํ
้
ไมมากกวาเลย ดวยเหตุวาสังสารวัฏนันกําหนดทีสดเบืองตน

้
ุ่ ้
เบื้องปลายไมได เมื่อเหลาสัตวผูมีอวิชชาเปนเครื่องกั้น
มีตณหาเปนเครื่องผูก ทองเที่ยวไปมาอยู
ั
เพียงพอหรือยังที่เราทั้งหลายจะบอกตนเองวา
ดวยเหตุเพียงเทานี้ ก็พอแลวเพื่อจะเบื่อหนายในสังขาร
ทังหลาย พอแลวเพือจะคลายกําหนัด พอแลวเพือจะหลุดพน
้
่
่
จากสังขารทั้งปวงนี้
ตถาคตอรหั น ตสั ม มาสั ม พุ ท ธะได ท รงเห็ น และ
ทรงแสดงภพภูมิตางๆ ใหเราไดทราบแลว
ฉะนั้นแผนภูมิชีวิตของเราจะเปนอยางไร !
เราสามารถกําหนดไดหรือไม ?
หาคําตอบดวยตัวเองจากหนังสือ
พุทธวจน ฉบับ ภพภูมิ เลมนี้
คณะผูจัดพิมพหนังสือเลมนี้ ขอนอบนอมสักการะ
ตอ ตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธะ
และ ภิกษุสาวกในธรรมวินัยนี้
ตั้งแตครั้งพุทธกาล จนถึงยุคปจจุบัน
ที่มีสวนเกี่ยวของในการสืบทอดพุทธวจน
คือ ธรรมและวินัย ที่ทรงประกาศไว บริสุทธิ์บริบูรณดีแลว.
คณะศิษยตถาคต
สารบัญ
ภพ

๑
๑. ภพ เปนอยางไร
๒. ความมีขึ้นแหงภพ (นัยที่ ๑)
๓. ความมีขึ้นแหงภพ (นัยที่ ๒)
๔. เครื่องนําไปสูภพ
๕. ความเกิดขึ้นแหงภพใหม
๖. ที่ตั้งอยูของวิญญาณ (นัยที่ ๑)
๗. ที่ตั้งอยูของวิญญาณ (นัยที่ ๒)
๘. ความมีขึ้นแหงภพ แมมีอยูชั่วขณะก็นารังเกียจ

สัตว
๙. ความหมายของคําวา “สัตว”
๑๐. เหตุใหมีการเกิด
๑๑. ลักษณะของการเกิด
๑๒. กายแบบตางๆ
๑๓. คติ ๕ และอุปมา

นรก
๑๔. เหตุใหทุคติปรากฏ
๑๕. โทษแหงศีลวิบัติของคนทุศีล
๑๖. ทุคติของผูทุศีล
๑๗. วิบากของผูทุศีล

๓
๔
๖
๘
๙
๑๑
๑๕
๑๙

๒๑
๒๓
๒๕
๒๗
๒๙
๓๑

๔๑
๔๒
๔๗
๔๙
๕๑
๑๘. เคราะหรายอันใหญหลวงของคนพาล
๑๙. ปฏิปทาใหเขาถึงนรกชื่อปหาสะ
๒๐. ปฏิปทาใหเขาถึงนรกชื่อสรชิต
๒๑. อสัทธรรมที่ทําใหเกิดในนรกตลอดกัป
๒๒. อุปมาความทุกขในนรก
๒๓. ความทุกขในนรก
๒๔. อายุนรก
๒๕. การเขาถึงนรกในภพปจจุบัน (นัยที่ ๑)
๒๖. การเขาถึงนรกในภพปจจุบัน (นัยที่ ๒)
๒๗. การจองจําที่ทารุณเจ็บปวด
๒๘. ความเปนไปไดยาก
๒๙. การไมรูอริยสัจ มืดยิ่งกวาโลกันตริก

สัตวเดรัจฉาน

๕๔
๕๗
๕๙
๖๑
๖๓
๗๓
๘๙
๙๓
๙๖
๙๘
๑๐๑
๑๐๔

๑๐๗

๓๐. เหตุที่ทําใหเกิดเปนสัตวเดรัจฉาน
๑๐๘
๓๑. นาคเปนสัตวเดรัจฉาน
๑๑๑
๓๒. กําเนิดนาค ๔ จําพวก
๑๑๕
๓๓. เหตุใหนาครักษาอุโบสถ
๑๑๖
๓๔. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของนาค (นัยที่ ๑) ๑๑๗
๓๕. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของนาค (นัยที่ ๒) ๑๑๘
๓๖. กําเนิดครุฑ ๔ จําพวก
๑๑๙
๓๗. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายพวกครุฑ (นัยที่ ๑) ๑๒๐
๓๘. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายพวกครุฑ (นัยที่ ๒) ๑๒๑
๓๙. ปฏิปทาใหถึงความเปนสุนัขและโค
๑๒๓
๔๐. สัตวที่อยูในอบายมีมาก
๔๑. การจองจําที่ทารุณเจ็บปวด
๔๒. ความเปนไปไดยาก

เปรตวิสัย
๔๓. เปรตวิสัย
๔๔. ภพภูมิที่บริโภคทานได
๔๕. ความเปนไปไดยาก

มนุษย
๔๖. เหตุใหสุคติปรากฏ
๔๗. อานิสงสแหงศีลสมบัติของคนมีศีล
๔๘. สุคติของผูมีศีล
๔๙. ขอดีของมนุษยเทียบกับ เทวดาชั้นดาวดึงส
๕๐. เหตุแหงการเกิดในครรภ
๕๑. สัตวตั้งอยูในครรภไดอยางไร
๕๒. เหตุแหงการดํารงอยูของชีวิต
๕๓. เหตุใหไดความเปนหญิงหรือชาย
๕๔. เหตุใหมนุษยเกิดมาแตกตางกัน
๕๕. ธรรมของพระเจาจักรพรรดิ
๕๖. กรรมกําหนด
๕๗. เหตุสําเร็จความปรารถนา
๕๘. การเกิดสังคมมนุษย
๕๙. ปจจัยตออายุขัยของมนุษย

๑๒๖
๑๒๙
๑๓๑

๑๓๕
๑๓๖
๑๔๙
๑๕๕

๑๕๙
๑๖๐
๑๖๕
๑๖๗
๑๖๙
๑๗๑
๑๗๕
๑๗๗
๑๘๑
๑๘๕
๑๙๗
๑๙๙
๒๐๑
๒๐๓
๒๑๗
๖๐. ผลจากความไมมีธรรมะของมนุษย
๖๑. เหตุที่ทําใหมนุษยจํานวนลดลง
๖๒. เครื่องผูกพันสัตว
๖๓. เหตุที่สัตวบางพวกกลัวตาย บางพวกไมกลัวตาย
๖๔. โอกาสในการเกิดเปนมนุษยนั้นยาก
๖๕. ความเปนไปไดยาก

เทวดา
๖๖. ขอดีของเทวดาเทียบกับมนุษย
๖๗. ผลแหงความประพฤติเรียบรอย
๖๘. ผลจากการวางจิตเมื่อใหทาน
๖๙. ผลของการตอนรับบรรพชิต ดวยวิธีที่ตางกัน
๗๐. เหตุสําเร็จความปรารถนา
๗๑. เหตุเกิดขึ้นแหงทาน ๘ ประการ
๗๒. สัดสวนของทาน ศีล ภาวนา
๗๓. ความแตกตางของผูใหกับผูไมให
๗๔. อุปมาความสุขบนสวรรค
๗๕. อานิสงสการรักษาอุโบสถ
๗๖. เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมูคนธรรพ
๗๗. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของเทวดา
ซึ่งนับเนื่องในหมูคนธรรพ (นัยที่ ๑)
๗๘. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของเทวดา
ซึ่งนับเนื่องในหมูคนธรรพ (นัยที่ ๒)

๒๒๒
๒๒๔
๒๒๗
๒๒๙
๒๓๕
๒๓๗

๒๔๑
๒๔๓
๒๔๔
๒๔๘
๒๕๓
๒๕๖
๒๖๔
๒๖๗
๒๗๓
๒๗๖
๒๘๙
๓๐๕
๓๐๗
๓๐๘
๗๙. เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมูวลาหก
๘๐. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของเทวดา
ซึ่งนับเนื่องในหมูวลาหก
๘๑. เทวดาเหลามนาปกายิกา
๘๒. เทวดาเขาถือเอาพื้นที่
๘๓. เหตุใหไดความเปนจอมเทพ
๘๔. การบูชาเทวดา
๘๕. การบูชาที่จัดเปนการบูชาอยางสูงสุด
๘๖. ทางเพื่อความเปนสหายแหงพรหม
๘๗. ความแตกตางระหวางปุถุชน
กับอริยสาวก ผูไดรูปสัญญา
๘๘. ผลของการเจริญรูปสัญญา
แลวเห็นความไมเที่ยง
๘๙. ความแตกตางระหวางปุถุชน
กับอริยสาวก ผูเจริญพรหมวิหาร
๙๐. ผลของการเจริญพรหมวิหาร
แลวเห็นความไมเที่ยง
๙๑. ความแตกตางระหวางปุถุชน
กับอริยสาวก ผูไดอรูปสัญญา
๙๒. ผลของการเจริญอรูปสัญญา
แลวเห็นความไมเที่ยง
๙๓. เทวดาชั้นสุทธาวาส
๙๔. ชุมนุมเทวดา

๓๑๐
๓๑๑
๓๑๓
๓๑๗
๓๑๙
๓๒๑
๓๒๒
๓๒๓
๓๒๕
๓๓๑
๓๓๓
๓๓๙
๓๔๒
๓๔๗
๓๔๙
๓๕๔
๙๕. เทวดาเคยรบกับอสูร
๙๖. ตําแหนงที่สตรีเปนไมได
๙๗. อานิสงสแหงการฟงธรรมเนืองๆ
๙๘. การเขาถึงสวรรคในภพปจจุบัน
๙๙. แมแตเทวดาก็ไมเที่ยง
๑๐๐. ความเห็นผิดของพกพรหม
๑๐๑. เหตุที่มีความเห็นวา อัตตาและโลก
บางอยางเที่ยง บางอยางไมเที่ยง
๑๐๒. สุคติของเทวดา
๑๐๓. ความเปนไปไดยาก

ความยาวนาน แหงสังสารวัฏ
๑๐๔. ความนานแหงกัป (นัยที่ ๑)
๑๐๕. ความนานแหงกัป (นัยที่ ๒)
๑๐๖. ความยาวนานแหงสังสารวัฏ (นัยที่ ๑)
๑๐๗. ความยาวนานแหงสังสารวัฏ (นัยที่ ๒)
๑๐๘. การทองเที่ยวที่แสนยาวนาน
๑๐๙. การเวียนเกิดที่แสนยาวนาน
๑๑๐. ผูที่ไมเคยเกี่ยวของกัน หาไดยาก
๑๑๑. น้ําตา ที่เคยหลั่งไหล
๑๑๒. น้ํานม ที่เคยไดดื่ม
๑๑๓. ทุกข ที่เคยประสบ
๑๑๔. สุข ที่เคยไดรับ

๓๖๒
๓๖๖
๓๖๘
๓๗๓
๓๗๕
๓๗๗
๓๘๑
๓๘๗
๓๙๑

๓๙๕
๓๙๖
๓๙๘
๔๐๐
๔๐๒
๔๐๔
๔๐๖
๔๐๘
๔๑๑
๔๑๔
๔๑๖
๔๑๗
๑๑๕. เลือด ที่เคยสูญเสีย
๔๑๘
๑๑๖. ความไมแนนอนของการไดอัตภาพ
๔๒๐
๑๑๗. สิ่งทั้งหลายไมเที่ยง (นัยที่ ๑)
๔๒๒
๑๑๘. สิ่งทั้งหลายไมเที่ยง (นัยที่ ๒)
๔๒๖
๑๑๙. เพราะไมรูอริยสัจ จึงตองทองเที่ยวไปในสังสารวัฏ๔๓๓

นิพพาน
๑๒๐. อุปมาแหงนิพพาน
๑๒๑. ความรูสึกของปุถุชน
๑๒๒. นิพพาน คือ ธรรมเปนที่สิ้นไปแหงอาสวะ
๑๒๓. ความสิ้นตัณหา คือ นิพพาน
๑๒๔. นิพพานที่เห็นไดเอง
๑๒๕. นิพพานที่เห็นไดเอง ตามคําของพระอานนท
๑๒๖. การปรินิพพานในปจจุบัน
๑๒๗. ความหมายของคําวา “ความดับ”
๑๒๘. ความดับของขันธ ๕ คือ ความดับของทุกข
๑๒๙. ความดับของอายตนะ คือ ความดับของทุกข
๑๓๐. ละตัณหาได คือ ละเบญจขันธได
๑๓๑. ดับตัณหา คือ ปลงภาระหนักลงได
๑๓๒. ละความพอใจในสิ่งใด คือ การละซึ่งสิ่งนั้น
๑๓๓. เมื่อ “เธอ” ไมมี
๑๓๔. สังขตลักษณะ
๑๓๕. อสังขตลักษณะ

๔๓๗
๔๓๘
๔๔๐
๔๔๓
๔๔๔
๔๔๖
๔๕๐
๔๕๒
๔๕๔
๔๕๕
๔๖๐
๔๖๑
๔๖๓
๔๖๕
๔๖๖
๔๖๗
๔๖๘
๑๓๖. “ดิน น้ํา ไฟ ลม” ไมอาจหยั่งลงไดในที่ไหน
๑๓๗. “สิ่งนั้น” หาพบในกายนี้
๑๓๘. สิ่งๆ นั้น มีอยู
๑๓๙. สิ่งนั้น มีแน
๑๔๐. ลําดับการปฏิบัติ เพื่ออรหัตตผล
๑๔๑. ลําดับการหลุดพน เมื่อเห็นอนัตตา
๑๔๒. อริยมรรคมีองค ๘ คือ
ขอปฏิบัติเพื่อความพนทุกข

ภาคผนวก
๑๔๓. ตถาคตผูอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
๑๔๔. บริษัทสมาคม ๘
๑๔๕. บุรพกรรมของการไดลักษณะของมหาบุรุษ
๑๔๖. อานิสงสของผูมีจิตเลื่อมใสในตถาคต
๑๔๗. วาดวยทักษิณา
๑๔๘. รัตนะที่หาไดยาก
๑๔๙. ผูมีอุปการะมาก
๑๕๐. ประพฤติพรหมจรรยเพื่อการละขาดซึ่งภพ

๔๖๙
๔๗๒
๔๗๓
๔๗๔
๔๗๖
๔๗๘
๔๘๐

๔๘๗
๔๘๘
๔๙๐
๔๙๒
๕๐๑
๕๐๔
๕๑๐
๕๑๑
๕๑๓

Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็นธรรมทาน
ภพ
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓

๑
ภพ เปนอยางไร
ภิกษุทั้งหลาย ! ภพ1 เปนอยางไรเลา ?
ภิกษุทงหลาย ! ภพทังหลาย ๓ อยาง เหลานีคอ :ั้
้
้ื
2
กามภพ รูปภพ อรูปภพ.
ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกวา ภพ.
ความกอขึ้นพรอมแหงภพ ยอมมี
เพราะความกอขึ้นพรอมแหงอุปาทาน
ความดับไมเหลือแหงภพ ยอมมี
เพราะความดับไมเหลือแหงอุปาทาน
มรรคอันประกอบดวยองคแปดอันประเสริฐนันเอง
่
เปนปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงภพ
ไดแกสิ่งเหลานี้คือ :ความเห็นชอบ ความดําริชอบ
การพูดจาชอบ การทําการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ
ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตังใจมันชอบ.
้ ่
นิทาน. สํ. ๑๖/๕๑/๙๑.
1. ภพ : สถานทีอนวิญญาณใชตงอาศัยเพือเกิดขึน หรือเจริญงอกงามตอไป.
่ั
ั้
่
้
(ดูเพิมเติม ทีตงอยูของวิญญาณ น.๑๕ ตรัสภพเปรียบกับดิน วิญญาณ
่
่ ั้ 
่
เปรียบกับสวนของพืชเชน เมล็ด ทีสามารถเจริญงอกงามตอไปได)
2. กามภพ : ที่เกิดอันอาศัย ดิน นํ้า ไฟ ลม, รูปภพ : สถานที่เกิดอันอาศัย
สิงทีเ่ ปนรูปในสวนละเอียด, อรูปภพ : สถานทีเ่ กิดอันอาศัยสิงทีไมใชรป.
่
่ ่
ู
๔ พุ ท ธ ว จ น

๒
ความมีขึ้นแหงภพ (นัยที่ ๑)
ขาแตพระองคผูเจริญ ! พระผูมพระภาคเจากลาวอยูวา
 ี

‘ภพ–ภพ’ ดังนี้ ภพ ยอมมีได ดวยเหตุเพียงเทาไรเลา พระเจาขา !

อานนท ! ถากรรมมีกามธาตุ1เปนวิบาก จักไมไดมี
แลวไซร กามภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ?
หามิได พระเจาขา !

อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา
ี้
้
วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยาง (สําหรับหลอเลี้ยง
เชื้องอก) ของพืช วิญญาณของสัตวทั้งหลาย มีอวิชชา
เปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวย
ธาตุชั้นทราม (กามธาตุ) การบังเกิดขึ้นในภพใหมตอไป
ยอมมีได ดวยอาการอยางนี้.
อานนท ! ถากรรมมีรปธาตุ2เปนวิบาก จักไมไดมี
ู
แลวไซร รูปภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ?
หามิได พระเจาขา !

1. กามธาตุ : ธาตุดิน ธาตุนํ้า ธาตุลมและธาตุไฟ.
(ดูเพิ่มเติม ไตรปฎกไทย นิทาน. สํ. ๑๖/๑๔๘/๓๕๕-๖.)
2. รูปธาตุ : สิงทีเ่ ปนรูปในสวนละเอียด. (ดูเพิมเติม “มีอวัยวะนอยใหญครบถวน
่
่
มีอนทรียไมทราม” ไตรปฎกไทย สี. ที. ๙/๓๒/๔๙.)
ิ

ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๕

อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา
ี้
้
วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช วิญญาณ
ของสัตวทั้งหลาย มีอวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปน
เครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวยธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ) การ
บังเกิดขึนในภพใหมตอไป ยอมมีได ดวยอาการอยางนี.้
้

อานนท ! ถากรรมมีอรูปธาตุ1เปนวิบาก จักไมไดมี
แลวไซร อรูปภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ?
หามิได พระเจาขา !

อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา
ี้
้
วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช วิญญาณ
ของสัตวทั้งหลาย มีอวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปน
เครืองผูก ตังอยูแลวดวยธาตุชนประณีต (อรูปธาตุ) การ
่
้ 
ั้
บังเกิดขึนในภพใหมตอไป ยอมมีได ดวยอาการอยางนี.้
้

อานนท ! ภพ ยอมมีได ดวยอาการอยางนีแล.
้
ติก. อํ. ๒๐/๒๘๗/๕๑๖.
1. อรูปธาตุ : สิ่งที่ไมใชรูป เปนนามธรรม เชน เวทนา สัญญา สังขาร.
(ผูไดสมาธิระดับ อากาสานัญจายตนะขึ้นไป)
๖ พุ ท ธ ว จ น

๓
ความมีขึ้นแหงภพ (นัยที่ ๒)
ขาแตพระองคผูเจริญ ! พระผูมพระภาคเจากลาวอยูวา
 ี

‘ภพ–ภพ’ ดังนี้ ภพ ยอมมีได ดวยเหตุเพียงเทาไรเลา พระเจาขา !

อานนท ! ถากรรมมีกามธาตุเปนวิบาก จักไมไดมี
แลวไซร กามภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ?
หามิได พระเจาขา !

อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา
ี้
้
วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช (สําหรับ
หลอเลี้ยงเชื้องอก) ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี
ของสัตวทงหลาย ทีมอวิชชาเปนเครืองกัน มีตณหาเปน
ั้
่ ี
่ ้
ั
เครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวยธาตุชั้นทราม (กามธาตุ) การ
บังเกิดขึนในภพใหมตอไป ยอมมีได ดวยอาการอยางนี.้
้

อานนท ! ถากรรมมีรปธาตุเปนวิบาก จักไมไดมี
ู
แลวไซร รูปภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ?
หามิได พระเจาขา !
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๗

อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา
ี้
้
วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช ความเจตนา
ก็ดี ความปรารถนาก็ดีของสัตวทั้งหลาย ที่มีอวิชชา
เปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวย
ธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ) การบังเกิดขึ้นในภพใหมตอไป
ยอมมีได ดวยอาการอยางนี้.
อานนท ! ถากรรมมีอรูปธาตุเปนวิบาก จักไมไดมี
แลวไซร อรูปภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ?
หามิได พระเจาขา !

อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา
ี้
้
วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช ความเจตนา
ก็ดี ความปรารถนาก็ดีของสัตวทั้งหลาย ที่มีอวิชชา
เปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวย
ธาตุชนประณีต (อรูปธาตุ) การบังเกิดขึนในภพใหมตอไป
้ั
้

ยอมมีได ดวยอาการอยางนี้.
อานนท ! ภพ ยอมมีได ดวยอาการอยางนีแล.
้
ติก. อํ. ๒๐/๒๘๘/๕๑๗.
๘ พุ ท ธ ว จ น

๔
เครื่องนําไปสูภพ
ขาแตพระองคผเู จริญ ! พระองคตรัสอยูวา ‘เครืองนําไปสูภพ
 ่

เครืองนําไปสูภพ’ ดังนี้ ก็เครืองนําไปสูภพ เปนอยางไร พระเจาขา !
่

่

และความดับไมเหลือของเครื่องนําไปสูภพนั้น เปนอยางไรเลา
พระเจาขา !
ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี ราคะ (ความ
กําหนัด) ก็ดี นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี ตัณหา (ความอยาก)
ก็ดี อุ ป ายะ (กิเลสเปนเหตุเขาไปสูภพ) และอุ ป าทาน
(ความถือมั่นดวยอํานาจกิเลส) อันเปนเครื่องตั้งทับ เครื่อง

เขาไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแหงจิตก็ดีใดๆ ในรูป
ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ
กิเลสเหลานี้ นี่เราเรียกวา ‘เครื่องนําไปสูภพ’
ความดับไมเหลือของเครื่องนําไปสูภพ มีได
เพราะความดับไมเหลือของกิเลส มีฉนทะ ราคะ เปนตน
ั
เหลานั้นเอง.
ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๓/๓๖๘.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๙

๕
ความเกิดขึ้นแหงภพใหม
ภิกษุทั้งหลาย !
ถาบุคคลยอมคิด (เจเตติ) ถึงสิ่งใดอยู ยอมดําริ
(ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู และยอมมีจิตฝงลงไป (อนุเสติ)
ในสิ่งใดอยู สิ่งนั้นยอมเปนอารมณ เพื่อการตั้งอยูแหง
วิ ญ ญาณ เมื่ อ อารมณ มี อ ยู ความตั้ ง ขึ้ น เฉพาะแห ง
วิญญาณ ยอมมี เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญ
งอกงามแลว ความเกิดขึ้นแหงภพใหมตอไป ยอมมี
เมื่อความเกิดขึ้นแหงภพใหมตอไป มีอยู ชาติชรามรณะ
โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้น
ครบถวน ความเกิดขึนพรอมแหงกองทุกขทงสินนี้ ยอมมี
้
ั้ ้
ดวยอาการอยางนี้.
ภิกษุทั้งหลาย !
ถาบุคคลยอมไมคด (โน เจเตติ) ถึงสิงใด ยอมไมดาริ
ิ
่
ํ
(โน ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใด แตเขายังมีจิตฝงลงไป (อนุเสติ)
ในสิ่งใดอยู สิ่งนั้นยอมเปนอารมณ เพื่อการตั้งอยูแหง
วิญญาณ เมืออารมณ มีอยู ความตังขึนเฉพาะแหงวิญญาณ
่
้ ้
๑๐ พุ ท ธ ว จ น

ยอมมี เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว
ความเกิดขึนแหงภพใหมตอไป ยอมมี เมีอความเกิดขึนแหง
้

่
้
ภพใหมตอไป มีอยู ชาติชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส

อุปายาสทังหลาย ยอมเกิดขึนครบถวน ความเกิดขึนพรอม
้
้
้
แหงกองทุกขทงสินนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี.้
้ั ้
ภิกษุทั้งหลาย !
ก็ถาวาบุคคลยอมไมคดถึงสิงใดดวย ยอมไมดาริ

ิ
่
ํ
ถึงสิงใดดวย และยอมไมมจตฝงลงไป (โน อนุเสติ) ในสิง
่
ีิ
่
ใดดวย ในกาลใด ในกาลนั้น สิ่งนั้น ยอมไมเปนอารมณ
เพื่ อ การตั้ ง อยู แ ห ง วิ ญ ญาณได เ ลย เมื่ อ อารมณ ไ ม มี
ความตังขึนเฉพาะแหงวิญญาณ ยอมไมมี เมือวิญญาณนัน
้ ้
่
้
ไมตั้งขึ้นเฉพาะ ไมเจริญงอกงามแลว ความเกิดขึ้นแหง
ภพใหมตอไป ยอมไมมี เมื่อความเกิดขึ้นแหงภพใหม
ตอไป ไมมี ชาติชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส
อุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น ความดับลงแหงกองทุกข
ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ ดังนี้แล.
นิทาน. สํ. ๑๖/๗๘/๑๔๕.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๑

๖
ที่ตั้งอยูของวิญญาณ (นัยที่ ๑)
อานนท ! วิญญาณฐิติ (ที่ตั้งอยูของวิญญาณ) ๗
เหลานี้ และ อายตนะ ๒ มีอยู.
วิญญาณฐิติ ๗ เหลาไหนเลา ?
วิญญาณฐิติ ๗ คือ :อานนท ! สัตวทั้งหลาย (สตฺตา) มีกายตางกัน
มีสญญาตางกัน มีอยู ไดแก มนุษยทงหลาย เทวดาบางพวก
ั
้ั
และวินิบาตบางพวก นี้คือ วิญญาณฐิติที่ ๑.
อานนท ! สัตวทั้งหลาย มีกายตางกัน มีสัญญา
อยางเดียวกัน มีอยู ไดแก พวกเทพผูนบเนืองในหมูพรหม
 ั ่

1
ทีบงเกิดโดยปฐมภูมิ (ปมานิพพตฺตา) นีคอ วิญญาณฐิตท่ี ๒.2
่ ั
ฺ
้ื
ิ
1. ปฐมภูมิ : ภูมิเบื้องตน สามารถเขาถึงไดหลายทาง เชน ผูไดปฐมฌาน,
ผูเจริญเมตตา, ผูกระทํากุศลกรรมบท ๑๐, ผูประกอบพรอมดวย ศรัทธา
ศีล สุตตะ จาคะ ปญญา เปนตน. (ดูเพิ่มเติม สัตตาวาสที่ ๒ น.๒๙)

2. ในไตรปฎกฉบับสยามรัฐ เฉพาะในสูตรนี้ วิญญาณฐิติที่ ๒ จะพบวามีคําวา
อบายทั้ง ๔ อยูเพียงตําแหนงเดียวที่เปนพุทธวจน แตไมตรงกับสูตรอื่น
ุ ่
ที่กลาวถึงวิญญาณฐิติ ๗ (คือใน ๒ สูตรของพระสารีบตรทีพระพุทธเจารับรอง ๑ สูตร
และพระสารีบตรทรงจําเอง ๑ สูตร) และไมตรงกับไตรปฎกฉบับภาษามอญและ
ุ
ภาษายุโรป ดังนั้น คําวา อบายทั้ง ๔ จึงไมไดนํามาใสในที่นี้.
๑๒ พุ ท ธ ว จ น

อานนท ! สัตวท้ังหลาย มีกายอยางเดียวกัน
มีสัญญาตางกัน มีอยู ไดแก พวกเทพอาภัสสระ นี้คือ
วิญญาณฐิติที่ ๓.
อานนท ! สัตวท้ังหลาย มีกายอยางเดียวกัน
มีสญญาอยางเดียวกัน มีอยู ไดแก พวกเทพสุภกิณหะ นีคอ
ั
้ ื
วิญญาณฐิติที่ ๔.
อานนท ! สัตวทั้งหลาย เพราะกาวลวงเสียไดซึ่ง
รูปสัญญา1 โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแหง
ปฏิฆสัญญา2 เพราะไมใสใจนานัตตสัญญา3 จึงเขาถึงอากาสานัญจายตนะ มีการทําในใจวา “อากาศไมมทสด” ดังนี้ มีอยู
ี ่ี ุ
นี้คือ วิญญาณฐิติที่ ๕.
อานนท ! สัตวทั้งหลาย เพราะกาวลวงเสียไดซึ่ง
อากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง จึงเขาถึงวิญญาณัญจายตนะ มีการทําในใจวา “วิญญาณไมมีที่สุด” ดังนี้
มีอยู นี้คือ วิญญาณฐิติที่ ๖.
อานนท ! สัตวทงหลาย เพราะกาวลวงเสียไดซึ่ง
้ั
วิญญาณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง จึงเขาถึงอากิญ1. รูปสัญญา : ความหมายรูในรูป.
2. ปฏิฆสัญญา : ความหมายรูอันไมนายินดีในสวนรูป.
3. นานัตตสัญญา : ความหมายรูอันมีประการตางๆ ในสวนรูป.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๓

จัญญายตนะ มีการทําในใจวา “อะไร ๆ ไมมี” ดังนี้ มีอยู
นี้คือ วิญญาณฐิติที่ ๗.
สวน อายตนะ ๒ นั้น คือ
อสัญญีสัตตายตนะที่ ๑
เนวสัญญานาสัญญายตนะที่ ๒
อานนท ! ในบรรดาวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒
(รวมเปน ๙) นั้น วิญญาณฐิติที่ ๑ อันใด มีอยู คือ สัตว
ั
้ั
ทังหลาย มีกายตางกัน มีสญญาตางกัน ไดแก มนุษยทงหลาย
้
เทวดาบางพวก และวินิบาตบางพวก.
อานนท ! ผูใดรูชัดวิญญาณฐิติที่ ๑ นั้น รูชัด
การเกิด (สมุทัย) แหงสิ่งนั้น รูชัดความดับ (อัตถังคมะ)
แหงสิ่งนั้น รูชัดรสอรอย (อัสสาทะ) แหงสิ่งนั้น รูชัดโทษ
ต่ําทราม (อาทีนวะ) แหงสิงนัน และรูชัดอุบายเปนเครืองออก
่ ้
่
่ ้
้
่ ู ้ั
ไปพน (นิสสรณะ) แหงสิงนัน ดังนีแลว ควรหรือหนอทีผนน
จะเพลิดเพลินยิงซึ่งวิญญาณฐิติที่ ๑ นั้น ?
่
ขอนั้น เปนไปไมได พระเจาขา !
(ในกรณีแหง วิญญาณฐิตที่ ๒ วิญญาณฐิตที่ ๓ วิญญานิ
ิ
ฐิติที่ ๔ วิญญาณฐิติที่ ๕ วิญญาณฐิติที่ ๖ วิญญาณฐิติที่ ๗ และ
อสัญญีสตตายตนะที่ ๑ ซึงมีลกษณะเฉพาะอยางดังทีกลาวแลวขางตน
ั
่ ั
่
ก็ไดมการอธิบาย ตรัสถาม และทูลตอบ โดยขอความทํานองเดียวกัน
ี
๑๔ พุ ท ธ ว จ น

กับในกรณีแหงวิญญาณฐิติที่ ๑ นั้น ทุกประการ ตางกันแตชื่อแหง
สภาพธรรมนั้นๆ เทานั้น สวนเนวสัญญานาสัญญายตนะที่ ๒ นั้น
จะไดบรรยายดวยขอความเต็มอีกครั้งหนึ่ง ดังตอไปนี้ :-)

อานนท ! ในบรรดาวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒
(รวมเปน ๙) นัน เนวสัญญานาสัญญายตนะ (ความหมายรูวา
้

มีกไมใช ไมมกไมใช) อันใด มีอยู.
็
ี็
อานนท ! ผูใดรูชดเนวสัญญานาสัญญายตนะนัน
 ั
้
รูชดการเกิดแหงสิงนัน รูชดการดับแหงสิงนัน รูชดรสอรอย
ั
่ ้ ั
่ ้ ั
แหงสิ่งนั้น รูชัดโทษอันต่ําทรามแหงสิ่งนั้น และรูชัดอุบาย
เปนเครื่องออกแหงสิ่งนั้น ดังนี้แลว ควรหรือหนอ ที่ผูนั้น
จะเพลิดเพลินยิ่งซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ?
ขอนั้น เปนไปไมได พระเจาขา !

อานนท ! เมื่อใดแล ภิกษุรูแจงชัดตามเปนจริง
ซึงการเกิด การดับ รสอรอย โทษอันตําทราม และอุบายเปน
่
่
เครืองออกแหงวิญญาณฐิติ ๗ เหลานี้ และแหงอายตนะ ๒
่
เหลานีดวยแลว เปนผูหลุดพนเพราะความไมยดมัน.
้ 

ึ ่
อานนท ! ภิกษุนเี้ รากลาววา ผูเปนปญญาวิมตติ.

ุ
มหา. ที. ๑๐/๘๑-๘๓/๖๕.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๕

๗
ที่ตั้งอยูของวิญญาณ (นัยที่ ๒)
ภิกษุทงหลาย ! สิงทีใชเปนพืชมี ๕ อยาง เหลานี.้
ั้
่ ่
๕ อยาง เหลาไหนเลา ? ๕ อยาง คือ :(๑) พืชจากเหงาหรือราก (มูลพีช)
(๒) พืชจากตน (ขนฺธพีช)
(๓) พืชจากตาหรือผล (ผลพีช)
(๔) พืชจากยอด (อคฺคพีช)
(๕) พืชจากเมล็ด (พีชพีช)
ภิกษุทั้งหลาย ! ถาสิงทีใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานี้
่ ่
ทีไมถกทําลาย ยังไมเนาเปอย ยังไมแหงเพราะลมและแดด
่ ู

ยั ง มี เ ชื้ อ งอกบริ บู ร ณ อ ยู และอั น เจ า ของเก็ บ ไว ด ว ยดี
แตดิน น้ํา ไมมี.
ภิกษุทงหลาย ! สิงทีใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานัน
ั้
่ ่
้
จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย ไดแลหรือ ?
หาเปนเชนนั้นไม พระเจาขา !

ภิกษุทั้งหลาย ! ถาสิงทีใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานี้
่ ่
แหละ ที่ไมถูกทําลายยังไมเนาเปอย ยังไมแหงเพราะลม
และแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณอยู และอันเจาของเก็บไว
ดวยดี ทั้งดิน น้ํา ก็มีดวย.
๑๖ พุ ท ธ ว จ น

ภิกษุทงหลาย ! สิงทีใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานัน
ั้
่ ่
้
จะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย ไดมิใชหรือ ?
อยางนั้น พระเจาขา !

ภิกษุทั้งหลาย !
วิญญาณฐิติ ๔ อยาง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร)
พึงเห็นวา เหมือนกับ ดิน.
ภิกษุทั้งหลาย !
นันทิราคะ (ความกําหนัดดวยอํานาจแหงความเพลิน)
พึงเห็นวาเหมือนกับ นํ้า.
ภิกษุทั้งหลาย !
วิ ญ ญาณ ซึ่ ง ประกอบด ว ยป จ จั ย พึ ง เห็ น ว า
เหมือนกับ พืชสดทั้ง ๕ นั้น.
ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! วิ ญ ญาณ ซึ่ ง เข า ถื อ เอารู ป
ตังอยู ก็ตงอยูได เปนวิญญาณทีมรปเปนอารมณ มีรปเปน
้
ั้ 
่ ีู
ู
ที่ตั้งอาศัย มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึงความเจริญ
งอกงาม ไพบูลยได.
ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเขาถือเอาเวทนา
ตั้ ง อยู ก็ ตั้ ง อยู ไ ด เป น วิ ญ ญาณที่ มี เ วทนาเป น อารมณ
มีเวทนาเปนที่ตั้งอาศัย มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึง
ความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๗

ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเขาถือเอาสัญญา
ตั้ ง อยู ก็ ตั้ ง อยู ไ ด เป น วิ ญ ญาณที่ มี สั ญ ญาเป น อารมณ
มีสัญญาเปนที่ตั้งอาศัย มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึง
ความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได.
ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเขาถือเอาสังขาร
ตั้ ง อยู ก็ ตั้ ง อยู ไ ด เป น วิ ญ ญาณที่ มี สั ง ขารเป น อารมณ
มีสังขารเปนที่ตั้งอาศัย มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึง
ความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได.
ภิกษุทั้งหลาย ! ผูใดจะพึงกลาวอยางนี้วา :เราจักบัญญัติซึ่งการมา การไป
การจุติ (การตาย) การอุบัติ (การเกิด)
ความเจริญ ความงอกงาม
และความไพบูลยของวิญญาณ
โดยเวนจากรูป เวนจากเวทนา
เวนจากสัญญา และเวนจากสังขาร ดังนี้นั้น
นี่ไมใชฐานะที่จักมีไดเลย.
ภิกษุทงหลาย ! ถาราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ
ั้
ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เปนสิงทีภกษุ
่ ่ ิ
ละไดแลว.
๑๘ พุ ท ธ ว จ น

เพราะละราคะได
อารมณสําหรับวิญญาณก็ขาดลง
ที่ตั้งของวิญญาณก็ไมมี
วิญญาณอันไมมีที่ตั้งนั้น ก็ไมงอกงาม
หลุดพนไป เพราะไมถูกปรุงแตง
เพราะหลุดพนไป ก็ตั้งมั่น
เพราะตั้งมั่น ก็ยินดีในตนเอง
เพราะยินดีในตนเอง ก็ไมหวั่นไหว
เมื่อไมหวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน
ยอมรูชัดวา
ชาติสิ้นแลว พรหมจรรยอยูจบแลว
กิจที่ควรทําไดสําเร็จแลว
กิจอืนทีจะตองทําเพือความเปนอยางนี้ มิไดมอก ดังนี.้
่ ่
่
ี ี
ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗-๖๘/๑๐๖-๑๐๗.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๙

๘
ความมีขึ้นแหงภพ
แมมีอยูชั่วขณะก็นารังเกียจ
ภิกษุทั้งหลาย !
คูถ แมนิดเดียว ก็เปนของมีกลิ่นเหม็น ฉันใด.
ภิกษุทั้งหลาย !
สิ่งที่เรียกวา ภพ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
แมมีประมาณนอย ชั่วลัดนิ้วมือเดียว
ก็ไมมีคุณอะไรที่พอจะกลาวได.
เอก. อํ. ๒๐/๔๖/๒๐๓.

(ในสูตรถัดไป ไดตรัสอุปมาดวยมูตร ดวยนําลาย ดวยหนอง
้
ดวยโลหิต โดยทํานองเดียวกัน เอก. อํ. ๒๐/๔๖/๒๐๔.)
สัตว

สัตว
๒๒ พุ ท ธ ว จ น
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๒๓

๙
ความหมายของคําวา “สัตว”
ขาแตพระองคผเู จริญ ! ทีเรียกกันวา ‘สัตว สัตว’ ดังนี,
่
้
อันวาสัตวมีได ดวยเหตุเพียงไรเลา พระเจาขา !
ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ราคะ (ความกําหนัด)
นันทิ (ความเพลิน) ตัณหา (ความอยาก) ใดๆ มีอยูในรูป

เพราะการติดแลว ของแลวในรูปนัน เพราะฉะนัน จึงเรียกวา
้
้
“สัตว” (ผูของติดในขันธทง ๕) ดังนี้.

้ั
ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใดๆ มีอยู
ในเวทนา (ความรูสึกสุข ทุกขและไมสุขไมทุกข) เพราะการ
ติดแลว ของแลวในเวทนานั้น เพราะฉะนั้น จึงเรียกวา
“สัตว” ดังนี้.
ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใดๆ มีอยู
ในสัญญา (ความหมายรู) เพราะการติดแลว ของแลวใน
สัญญานั้น เพราะฉะนั้น จึงเรียกวา “สัตว” ดังนี้.
ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใดๆ มีอยู
ในสังขารทั้งหลาย (ความปรุงแตง) เพราะการติดแลว
ของแลวในสังขารทังหลายนัน เพราะฉะนัน จึงเรียกวา “สัตว”
้
้
้
ดังนี้.
๒๔ พุ ท ธ ว จ น

ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใดๆ มีอยู
ในวิญญาณ เพราะการติดแลว ของแลวในวิญญาณนั้น
เพราะฉะนัน จึงเรียกวา “สัตว” ดังนี้แล.
้
ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๒/๓๖๗.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๒๕

๑๐
เหตุใหมีการเกิด
วัจฉะ !
เรายอมบัญญัติความบังเกิดขึ้น
สําหรับสัตวผูที่ยังมีอุปาทาน (เชื้อ) อยู
ไมใชสําหรับสัตวผูที่ไมมีอุปาทาน.
วัจฉะ ! เปรียบเหมือนไฟทีมเชือ ยอมโพลงขึนได
่ ี ้
้
ทีไมมเชือ ก็โพลงขึนไมได อุปมานีฉนใด อุปไมยก็ฉนนัน.
่ ี ้
้
้ั
ั ้
วัจฉะ ! เรายอมบัญญัติความบังเกิดขึ้น สําหรับ
สัตวผทยงมีอปาทานอยู ไมใชสาหรับสัตวผทไมมอปาทาน.
ู ่ี ั ุ
ํ
ู ่ี ี ุ
พระโคดมผูเจริญ ! ถาสมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัด
หลุดปลิวไปไกล สมัยนั้น พระโคดมยอมบัญญัติซึ่งอะไรวาเปน
เชื้อแกเปลวไฟนั้น ถาถือวามันยังมีเชื้ออยู ?

วัจฉะ ! สมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล
เรายอมบัญญัติเปลวไฟนั้น วา มีลมนั่นแหละเปนเชื้อ
เพราะวา สมัยนั้นลมยอมเปนเชื้อของเปลวไฟนั้น.
พระโคดมผูเจริญ ! ถาสมัยใด สัตวทอดทิ้งกายนี้ และ
ยังไมบังเกิดขึ้นดวยกายอื่น สมัยนั้น พระโคดมยอมบัญญัติซึ่ง
อะไรวาเปนเชื้อแกสัตวนั้น ถาถือวามันยังมีเชื้ออยู ?
๒๖ พุ ท ธ ว จ น

วัจฉะ !
สมัยใด สัตวทอดทิ้งกายนี้
และยังไมบงเกิดขึนดวยกายอืน
ั
้
่
เรากลาวสัตวนวา มีตณหานันแหละเปนเชือ
้ี  ั
่
้
เพราะวาสมัยนัน ตัณหายอมเปนเชือของสัตวนน.
้
้
้ั
สฬา. สํ. ๑๘/๔๘๕/๘๐๐.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๒๗

๑๑
ลักษณะของการเกิด
สารีบุตร ! กําเนิด ๔ ประการเหลานี้ มีอยู.
๔ ประการ อยางไรเลา ? คือ :(๑) อัณฑชะกําเนิด (เกิดในไข)
(๒) ชลาพุชะกําเนิด (เกิดในครรภ)
(๓) สังเสทชะกําเนิด (เกิดในเถาไคล)
(๔) โอปปาติกะกําเนิด (เกิดผุดขึ้น)
สารีบุตร ! ก็อัณฑชะกําเนิด เปนอยางไรเลา ?
สัตวทงหลายเหลานัน ชําแรกเปลือกแหงฟองเกิด
้ั
้
นี้เราเรียกวา อัณฑชะกําเนิด.
สารีบุตร ! ชลาพุชะกําเนิด เปนอยางไรเลา ?
สัตวทั้งหลายเหลานั้นใด ชําแรกไส (มดลูก) เกิด
นี้เราเรียกวา ชลาพุชะกําเนิด.
สารีบุตร ! สังเสทชะกําเนิด เปนอยางไรเลา ?
สัตวทั้งหลายเหลานั้นใด ยอมเกิดในปลาเนา
ในซากศพเนา ในขนมบูด หรือในน้ําครํา ในเถาไคล
(ของสกปรก) นี้เราเรียกวา สังเสทชะกําเนิด.
๒๘ พุ ท ธ ว จ น

สารีบุตร ! โอปปาติกะกําเนิด เปนอยางไรเลา ?
เทวดา สัตวนรก มนุษยบางจําพวก และวินิบาต
บางจําพวก นี้เราเรียกวา โอปปาติกะกําเนิด.
สารีบุตร ! เหลานี้แล กําเนิด ๔ ประการ.
มู. ม. ๑๒/๑๔๖/๑๖๙.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๒๙

๑๒
กายแบบตางๆ
ภิกษุทั้งหลาย ! สัตตาวาส1 ๙ มีอยู.
สัตตาวาส ๙ อยางไรเลา ?
ภิกษุทั้งหลาย !
สัตวพวกหนึง (สตฺตา) มีกายตางกัน มีสญญาตางกัน
่
ั
เหมือนมนุษยทงหลาย เทวดาบางพวก และวินบาตบางพวก
้ั
ิ
นี้เปนสัตตาวาสที่ ๑
สัตวพวกหนึงมีกายตางกัน มีสญญาอยางเดียวกัน
่
ั
เหมือนเทวดาผูนับเนื่องในหมูพรหม ผูเกิดในปฐมภูมิ
(ปมานิพพตฺตา) นี้เปนสัตตาวาสที่ ๒
ฺ
สัตวพวกหนึงมีกายอยางเดียวกัน มีสญญาตางกัน
่
ั
เหมือนพวกเทพอาภัสสระ นี้เปนสัตตาวาสที่ ๓
สัตวพวกหนึ่งมีกายอยางเดียวกัน มีสัญญาอยาง
เดียวกัน เหมือนพวกเทพสุภกิณหะ นี้เปนสัตตาวาสที่ ๔
สัตวพวกหนึ่งไมมีสัญญา ไมเสวยเวทนา เหมือน
พวกเทพผูเปนอสัญญีสัตว2 นี้เปนสัตตาวาสที่ ๕
1. ที่อยู ที่อาศัยของสัตว.
2. สัตวผไมมสญญา ไมเสวยเวทนา เขาถึงโดยผูทไดสญญาเวทยิตนิโรธ เปนตน.
ู ี ั
 ี่ ั
๓๐ พุ ท ธ ว จ น

สัตวพวกหนึ่ง เพราะกาวลวงเสียไดซึ่งรูปสัญญา
โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแหงปฏิฆสัญญา
เพราะไมใสใจนานัตตสัญญา จึงเขาถึงอากาสานัญจายตนะ1
มีการทําในใจวา “อากาศไมมทสนสุด” ดังนี้ นีเปนสัตตาวาส
ี ่ี ้ิ
้
ที่ ๖
สัตวพวกหนึง เพราะกาวลวงเสียไดซงอากาสานัญ่
่ึ
จายตนะโดยประการทังปวง จึงเขาถึงวิญญาณัญจายตนะ2
้
มีการทําในใจวา “วิญญาณไมมทสด” ดังนี้ นีเปนสัตตาวาส
ี ่ี ุ
้
ที่ ๗
สัตวพวกหนึง เพราะกาวลวงเสียไดซงวิญญาณัญ่
่ึ
จายตนะโดยประการทั้งปวง จึงเขาถึงอากิญจัญญายตนะ3
มีการทําในใจวา “อะไรๆ ก็ไมม” ดังนี้ นีเปนสัตตาวาสที่ ๘
ี
้
สัตวพวกหนึง เพราะกาวลวงเสียไดซงอากิญจัญญา่
่ึ
ยตนะโดยประการทังปวง จึงเขาถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะ4
้
ดังนี้ นีเปนสัตตาวาสที่ ๙.
้
ภิกษุทั้งหลาย ! นี้แล สัตตาวาส ๙.
สตฺตก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๘.
1. ความหมายรูในความไมมีที่สิ้นสุดของอากาศ.
2. ความหมายรูในความไมมีที่สุดของวิญญาณ.
3. ความหมายรูในความไมมีอะไร.
4. ความหมายรูวา สัญญามีก็ไมใช สัญญาไมมีก็ไมใช.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๑

๑๓
คติ ๕ และอุปมา
สารีบุตร ! คติ1 ๕ ประการเหลานี้ มีอยู.
๕ ประการ อยางไรเลา ? คือ :(๑) นรก
(๒) กําเนิดเดรัจฉาน
(๓) เปรตวิสัย
(๔) มนุษย
(๕) เทวดา
สารีบตร ! เรายอมรูชดซึงนรก ทางยังสัตวใหถง
ุ
ั ่
ึ
นรก และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถงนรก อนึง สัตวผปฏิบติ
ึ
่
ู ั
ประการใด เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึง
อบาย ทุคติ วินบาต นรก2 เรายอมรูชดซึงประการนันดวย.
ิ
ั ่
้
สารีบตร ! เรายอมรูชดซึงกําเนิดเดรัจฉาน ทาง
ุ
ั ่
ยังสัตวใหถงกําเนิดเดรัจฉาน และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถง
ึ
ึ
กําเนิดเดรัจฉาน อนึง สัตวผูปฏิบัติประการใด เบืองหนา
่
้
แตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงกําเนิดเดรัจฉาน เรายอม
รูชัดซึ่งประการนั้นดวย.
1. คติ : ทางไปของสัตว. (ที่นําไปสูภพ)
2. อบาย ทุคติ วินิบาต นรก : ที่เกิดของสัตวตํ่ากวามนุษย.
๓๒ พุ ท ธ ว จ น
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๓

สารีบตร ! เรายอมรูชดซึงเปรตวิสย ทางยังสัตว
ุ
ั ่
ั
ใหถึงเปรตวิสัย และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถึงเปรตวิสัย
อนึง สัตวผปฏิบตประการใด เบืองหนาแตตายเพราะกายแตก
่
ู ั ิ
้
ยอมเขาถึงเปรตวิสัย เรายอมรูชัดซึ่งประการนั้นดวย.
สารี บุ ต ร ! เราย อ มรู ชั ด ซึ่ งเหล า มนุ ษ ย ทาง
ยังสัตวใหถึงมนุษยโลก และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถึง
มนุษยโลก อนึ่ง สัตวผปฏิบตประการใด เบืองหนาแตตาย
ู ั ิ
้
เพราะกายแตก ยอมบังเกิดในหมูมนุษย เรายอมรูชัดซึ่ง
ประการนั้นดวย.
สารีบตร ! เรายอมรูชดซึงเทวดาทังหลาย ทางยังสัตว
ุ
ั ่
้
ใหถงเทวโลก และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถงเทวโลก อนึง
ึ
ึ
่
สัตวผูปฏิบัติประการใด เบื้องหนาแตตาย เพราะกายแตก
ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค เรายอมรูชดซึงประการนันดวย.
ั ่
้
สารีบุตร ! เรายอมรูชัดซึ่งนิพพาน ทางยังสัตว
ใหถงนิพพาน และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถงนิพพาน อนึง
ึ
ึ
่
สัตวผูปฏิบัติประการใด ยอมกระทําใหแจงซึงเจโตวิมุตติ
่
ปญญาวิมตติ อันหาอาสวะมิได เพราะอาสวะทังหลายสินไป
ุ
้
้
ดวยปญญาอันยิงเองในปจจุบน เขาถึงแลวแลอยู เรายอม
่
ั
รูชดซึ่งประการนั้นดวย.
ั
๓๔ พุ ท ธ ว จ น

อุปมาการเห็นคติ

สารีบตร ! เปรียบเหมือนหลุมถานเพลิง ลึกยิง
ุ
่
กว า ชั่ ว บุ รุ ษ เต็ ม ไปด ว ยถ า นเพลิ ง ปราศจากเปลว
ปราศจากควัน ลําดับนัน บุรษผูมตวอันความรอนแผดเผา
้ ุ  ี ั
เหน็ดเหนื่อย หิว ระหาย มุงมาสูหลุมถานเพลิงนั้นแหละ
โดยมรรคาสายเดียว บุรุษผูมีจักษุเห็นเขาแลว พึงกลาว
อยางนี้วา “บุรุษผูเจริญนี้ ปฏิบัติอยางนั้น ดําเนินอยางนั้น
และขึ้นสูหนทางนั้น จักมาถึงหลุมถานเพลิงนี้ทีเดียว”
โดยสมัยตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น พึงเห็นเขาตกลงในหลุม
ถานเพลิงนั้น เสวยทุกขเวทนาอันแรงกลา เผ็ดรอนโดย
สวนเดียว แมฉันใด.
สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน
โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนี้ปฏิบัติอยางนั้น
้ 
้
ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย
เพราะกายแตก จักเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก
โดยสมัยตอมา เราไดเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตาย
เพราะกายแตก เขาถึงแลวซึ่งอบาย ทุคติ วินิบาต นรก
เสวยทุกขเวทนาอันแรงกลา เผ็ดรอนโดยสวนเดียว
ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย.
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๕

สารีบุตร ! เปรียบเหมือนหลุมคูถ ลึกยิ่งกวา
ชัวบุรษ เต็มไปดวยคูถ ลําดับนัน บุรษผูมตวอันความรอน
่ ุ
้ ุ  ี ั
แผดเผา เหน็ดเหนือย หิว ระหาย มุงมาสูหลุมคูถนันแหละ
่
 
้
โดยมรรคาสายเดียว บุรุษผูมีจักษุเห็นเขาแลว พึงกลาว
อยางนี้วา “บุรุษผูเจริญนี้ ปฏิบัติอยางนั้น ดําเนินอยางนั้น
และขึ้นสูหนทางนั้น จักมาถึงหลุมคูถนี้ทีเดียว” โดยสมัย
ตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น พึงเห็นเขาตกลงในหลุมคูถนั้น
เสวยทุกขเวทนาอันแรงกลา เผ็ดรอน แมฉันใด.
สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน
โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน
้ 
้
้ ั ิ
้
ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย
เพราะกายแตก จักเขาถึงกําเนิดเดรัจฉาน โดยสมัยตอมา
เรายอมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก
เขาถึงแลวซึงกําเนิดเดรัจฉาน เสวยทุกขเวทนาอันแรงกลา
่
เผ็ดรอน ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย.
สารีบุตร ! เปรียบเหมือนตนไมเกิดในพื้นที่อัน
ไมเสมอ มีใบออนและใบแกอันเบาบาง มีเงาอันโปรง
ลําดับนั้น บุรุษผูมีตัวอันความรอนแผดเผา เหน็ดเหนือย
่
๓๖ พุ ท ธ ว จ น

หิว ระหาย มุงมาสูตนไมนั้นแหละ โดยมรรคาสายเดียว
บุรษผูมจกษุเห็นเขาแลว พึงกลาวอยางนีวา “บุรษผูเจริญนี้
ุ  ีั
้
ุ 
ปฏิ บั ติ อ ย า งนั้ น ดํ า เนิ น อย า งนั้ น และขึ้ น สู ห นทางนั้ น
จักมาถึงตนไมนี้ทีเดียว” โดยสมัยตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น
พึงเห็นเขานั่งหรือนอนในเงาตนไมนั้น เสวยทุกขเวทนา
เปนอันมาก แมฉันใด.
สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน
โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน
้ 
้
้ ั ิ
้
ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย
เพราะกายแตก จักเขาถึงเปรตวิสัย โดยสมัยตอมา
เรายอมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก
เขาถึงแลวซึ่งเปรตวิสัย เสวยทุกขเวทนาเปนอันมาก
ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย.
สารีบุตร ! เปรียบเหมือนตนไมเกิดในพื้นที่อัน
เสมอ มีใบออนและใบแกอนหนา มีเงาหนาทึบ ลําดับนัน
ั
้
บุรษผูมตวอันความรอนแผดเผา เหน็ดเหนือย หิว ระหาย
ุ  ี ั
่
มุงมาสูตนไมนั้นแหละ โดยมรรคาสายเดียว บุรษผูมจกษุ
ุ  ีั
เห็นเขาแลว พึงกลาวอยางนีวา “บุรษผูเ จริญนี้ ปฏิบตอยางนัน
้
ุ
ัิ
้
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๗

ดําเนินอยางนัน และขึนสูหนทางนี้ จักมาถึงตนไมนทเดียว”
้
้ 
้ี ี
โดยสมัยตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น พึงเห็นเขานั่งหรือนอน
ในเงาตนไมนั้น เสวยสุขเวทนาเปนอันมาก แมฉันใด.
สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน
โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน
้ 
้
้ ั ิ
้
ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย
เพราะกายแตก จักบังเกิดในหมูมนุษย โดยสมัยตอมา
เรายอมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก
บังเกิดแลวในหมูมนุษย เสวยสุขเวทนาเปนอันมาก ดวย
ทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย.
สารีบตร ! เปรียบเหมือนปราสาท ในปราสาทนัน
ุ
้
มีเรือนยอด ซึ่งฉาบทาแลว ทั้งภายในและภายนอก
หาชองลมมิได มีวงกรอบอันสนิท มีบานประตู และ
หนาตางอันปดสนิทดี ในเรือนยอดนัน มีบลลังกอนลาด
้
ั
ั
ดวยผาโกเชาวขนยาว ลาดดวยเครืองลาดทําดวยขนแกะ
่
สีขาว ลาดดวยขนเจียมเปนแผนทึบ มีเครืองลาดอยางดี
่
ทําดวยหนังชะมด มีเพดานกันในเบืองบน มีหมอนแดง
้
้
วาง ณ ขางทั้งสอง ลําดับนั้น บุรุษผูมีตัวอันความรอน
๓๘ พุ ท ธ ว จ น

แผดเผา เหน็ดเหนือย หิว ระหาย มุงมาสูปราสาทนันแหละ
่
 
้
โดยมรรคาสายเดียว บุรุษผูมีจักษุเห็นเขาแลว พึงกลาว
อยางนี้วา “บุรุษผูเจริญนี้ ปฏิบัติอยางนั้น ดําเนินอยางนั้น
และขึ้นสูหนทางนั้น จักมาถึงปราสาทนี้ทีเดียว” โดยสมัย
ตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น พึงเห็นเขานั่งหรือนอนบนบัลลังก
ในเรือนยอด ณ ปราสาทนั้น เสวยสุขเวทนาโดยสวนเดียว
แมฉันใด.
สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน
โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน
้ 
้
้ ั ิ
้
ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย
เพราะกายแตก จักเขาถึงสุคติโลกสวรรค โดยสมัยตอมา
เรายอมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก
เขาถึงแลวซึงสุคติโลกสวรรค เสวยสุขเวทนาโดยสวนเดียว
่
ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย.
สารีบตร ! เปรียบเหมือนสระโบกขรณี มีนาอันเย็น
ุ
ํ้
ใสสะอาด มีทาอันดี นารืนรมย และในทีไมไกลสระโบกขรณีนน

่
่
้ั
มีแนวปาอันทึบ ลําดับนัน บุรษผูมตวอันความรอนแผดเผา
้ ุ  ีั
เหน็ดเหนื่อย หิว ระหาย มุงมาสูสระโบกขรณีนั้นแหละ
ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๙

โดยมรรคาสายเดียว บุรุษผูมีจักษุเห็นเขาแลว พึงกลาว
อยางนี้วา “บุรุษผูเจริญนี้ ปฏิบัติอยางนั้น ดําเนินอยางนั้น
และขึ้นสูหนทางนั้น จักมาถึงสระโบกขรณีนี้ทีเดียว” โดย
สมัยตอมา บุรษผูมจกษุนน พึงเห็นเขาลงสูสระโบกขรณีนน
ุ  ี ั ้ั

้ั
อาบและดืม ระงับความกระวนกระวาย ความเหน็ดเหนือย
่
่
และความรอนหมดแลว ขึ้นไปนั่งหรือนอนในแนวปานั้น
เสวยสุขเวทนาโดยสวนเดียว แมฉันใด.
สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน
โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน
้ 
้
้ ั ิ
้
ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น จักกระทําใหแจง
ซึ่งเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได เพราะ
อาสวะทั้งหลายสิ้นไป ดวยปญญาอันยิ่งเองในปจจุบัน
เขาถึงอยู โดยสมัยตอมา เรายอมเห็นบุรุษนั้น กระทํา
ให แ จ ง ซึ่ ง เจโตวิ มุ ต ติ ป ญ ญาวิ มุ ต ติ อั น หาอาสวะมิ ไ ด
เพราะอาสวะทังหลายสินไป ดวยปญญาอันยิงเองในปจจุบน
้
้
่
ั
เขาถึงแลวแลอยู เสวยสุขเวทนาโดยสวนเดียว.
มู. ม. ๑๒/๑๔๗-๑๕๓/๑๗๐-๑๗๖.
นรก

นรก
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Presentasi pupr dispenda
Presentasi pupr dispendaPresentasi pupr dispenda
Presentasi pupr dispendasidaltaru
 
Transformasi Peran Strategis Sekda dalam Mewujudkan Jabar Maju dan Sejahtera ...
Transformasi Peran Strategis Sekda dalam Mewujudkan Jabar Maju dan Sejahtera ...Transformasi Peran Strategis Sekda dalam Mewujudkan Jabar Maju dan Sejahtera ...
Transformasi Peran Strategis Sekda dalam Mewujudkan Jabar Maju dan Sejahtera ...Dadang Solihin
 
Strategi Penetapan Kebijakan Anggaran Pembangunan Daerah
Strategi Penetapan Kebijakan Anggaran Pembangunan DaerahStrategi Penetapan Kebijakan Anggaran Pembangunan Daerah
Strategi Penetapan Kebijakan Anggaran Pembangunan DaerahDadang Solihin
 
Peran dan Posisi Ormas Indonesia dalam Konteks Perencanaan Pembangunan Daerah
Peran dan Posisi Ormas Indonesia dalam Konteks Perencanaan Pembangunan Daerah Peran dan Posisi Ormas Indonesia dalam Konteks Perencanaan Pembangunan Daerah
Peran dan Posisi Ormas Indonesia dalam Konteks Perencanaan Pembangunan Daerah Dadang Solihin
 
Dokumen Perencanaan Pembangunan Daerah dan Penyelarasan RPJMD-RPJMN
Dokumen Perencanaan Pembangunan Daerah dan Penyelarasan RPJMD-RPJMNDokumen Perencanaan Pembangunan Daerah dan Penyelarasan RPJMD-RPJMN
Dokumen Perencanaan Pembangunan Daerah dan Penyelarasan RPJMD-RPJMNDadang Solihin
 
Diagnosis bisnis ; Pelatihan KEMENKOP tingkat Lanjut
Diagnosis bisnis ; Pelatihan KEMENKOP tingkat LanjutDiagnosis bisnis ; Pelatihan KEMENKOP tingkat Lanjut
Diagnosis bisnis ; Pelatihan KEMENKOP tingkat LanjutEko Novianto
 
PROPOSAL PENAWARAN TRAINING, SEMINAR & HR CONSULTANT
PROPOSAL PENAWARAN TRAINING, SEMINAR & HR CONSULTANTPROPOSAL PENAWARAN TRAINING, SEMINAR & HR CONSULTANT
PROPOSAL PENAWARAN TRAINING, SEMINAR & HR CONSULTANTTrainer Penjualan
 
Siklus & lingkungan kebijakan publik
Siklus & lingkungan kebijakan publikSiklus & lingkungan kebijakan publik
Siklus & lingkungan kebijakan publikSiti Sahati
 
Diskresi dan inovasi: Dua Sisi Mata Uang Akselerator Pembangunan & Pelayanan ...
Diskresi dan inovasi: Dua Sisi Mata Uang Akselerator Pembangunan & Pelayanan ...Diskresi dan inovasi: Dua Sisi Mata Uang Akselerator Pembangunan & Pelayanan ...
Diskresi dan inovasi: Dua Sisi Mata Uang Akselerator Pembangunan & Pelayanan ...Tri Widodo W. UTOMO
 
Teknik Perencanaan Pembangunan
Teknik Perencanaan PembangunanTeknik Perencanaan Pembangunan
Teknik Perencanaan PembangunanRandy Wrihatnolo
 
Penyusunan Indikator Kinerja Pembangunan
Penyusunan Indikator Kinerja PembangunanPenyusunan Indikator Kinerja Pembangunan
Penyusunan Indikator Kinerja PembangunanDadang Solihin
 
ATCS ~ SITS (Surabaya Intelligent Transport System)
ATCS ~ SITS (Surabaya Intelligent Transport System)ATCS ~ SITS (Surabaya Intelligent Transport System)
ATCS ~ SITS (Surabaya Intelligent Transport System)Irvan Wahyu
 
Materi Sosialisasi Peserta Pekerja Penerima Upah (PPU) - BPJS Kesehatan
Materi Sosialisasi Peserta Pekerja Penerima Upah (PPU) - BPJS KesehatanMateri Sosialisasi Peserta Pekerja Penerima Upah (PPU) - BPJS Kesehatan
Materi Sosialisasi Peserta Pekerja Penerima Upah (PPU) - BPJS KesehatanBPJS Kesehatan RI
 
Penilaian Prestasi Kerja Pegawai Negeri Sipil
Penilaian Prestasi Kerja Pegawai Negeri SipilPenilaian Prestasi Kerja Pegawai Negeri Sipil
Penilaian Prestasi Kerja Pegawai Negeri SipilDadang Solihin
 
Policy Brief Pembangunan Wawasan Kependudukan
Policy Brief Pembangunan Wawasan KependudukanPolicy Brief Pembangunan Wawasan Kependudukan
Policy Brief Pembangunan Wawasan Kependudukandaldukpapua
 
15 kompetensi-model-spencer
15 kompetensi-model-spencer15 kompetensi-model-spencer
15 kompetensi-model-spencermuhamad nawawi
 
Samsat Kota Serang
Samsat Kota SerangSamsat Kota Serang
Samsat Kota SerangSiti Sahati
 

Was ist angesagt? (20)

Presentasi pupr dispenda
Presentasi pupr dispendaPresentasi pupr dispenda
Presentasi pupr dispenda
 
Pelayanan terpadu
Pelayanan terpaduPelayanan terpadu
Pelayanan terpadu
 
Transformasi Peran Strategis Sekda dalam Mewujudkan Jabar Maju dan Sejahtera ...
Transformasi Peran Strategis Sekda dalam Mewujudkan Jabar Maju dan Sejahtera ...Transformasi Peran Strategis Sekda dalam Mewujudkan Jabar Maju dan Sejahtera ...
Transformasi Peran Strategis Sekda dalam Mewujudkan Jabar Maju dan Sejahtera ...
 
Strategi Penetapan Kebijakan Anggaran Pembangunan Daerah
Strategi Penetapan Kebijakan Anggaran Pembangunan DaerahStrategi Penetapan Kebijakan Anggaran Pembangunan Daerah
Strategi Penetapan Kebijakan Anggaran Pembangunan Daerah
 
Peran dan Posisi Ormas Indonesia dalam Konteks Perencanaan Pembangunan Daerah
Peran dan Posisi Ormas Indonesia dalam Konteks Perencanaan Pembangunan Daerah Peran dan Posisi Ormas Indonesia dalam Konteks Perencanaan Pembangunan Daerah
Peran dan Posisi Ormas Indonesia dalam Konteks Perencanaan Pembangunan Daerah
 
Dokumen Perencanaan Pembangunan Daerah dan Penyelarasan RPJMD-RPJMN
Dokumen Perencanaan Pembangunan Daerah dan Penyelarasan RPJMD-RPJMNDokumen Perencanaan Pembangunan Daerah dan Penyelarasan RPJMD-RPJMN
Dokumen Perencanaan Pembangunan Daerah dan Penyelarasan RPJMD-RPJMN
 
Diagnosis bisnis ; Pelatihan KEMENKOP tingkat Lanjut
Diagnosis bisnis ; Pelatihan KEMENKOP tingkat LanjutDiagnosis bisnis ; Pelatihan KEMENKOP tingkat Lanjut
Diagnosis bisnis ; Pelatihan KEMENKOP tingkat Lanjut
 
PROPOSAL PENAWARAN TRAINING, SEMINAR & HR CONSULTANT
PROPOSAL PENAWARAN TRAINING, SEMINAR & HR CONSULTANTPROPOSAL PENAWARAN TRAINING, SEMINAR & HR CONSULTANT
PROPOSAL PENAWARAN TRAINING, SEMINAR & HR CONSULTANT
 
Siklus & lingkungan kebijakan publik
Siklus & lingkungan kebijakan publikSiklus & lingkungan kebijakan publik
Siklus & lingkungan kebijakan publik
 
Diskresi dan inovasi: Dua Sisi Mata Uang Akselerator Pembangunan & Pelayanan ...
Diskresi dan inovasi: Dua Sisi Mata Uang Akselerator Pembangunan & Pelayanan ...Diskresi dan inovasi: Dua Sisi Mata Uang Akselerator Pembangunan & Pelayanan ...
Diskresi dan inovasi: Dua Sisi Mata Uang Akselerator Pembangunan & Pelayanan ...
 
Arah kebijakan apbn tahun 2020
Arah kebijakan apbn tahun 2020Arah kebijakan apbn tahun 2020
Arah kebijakan apbn tahun 2020
 
Teknik Perencanaan Pembangunan
Teknik Perencanaan PembangunanTeknik Perencanaan Pembangunan
Teknik Perencanaan Pembangunan
 
Penyusunan Indikator Kinerja Pembangunan
Penyusunan Indikator Kinerja PembangunanPenyusunan Indikator Kinerja Pembangunan
Penyusunan Indikator Kinerja Pembangunan
 
ATCS ~ SITS (Surabaya Intelligent Transport System)
ATCS ~ SITS (Surabaya Intelligent Transport System)ATCS ~ SITS (Surabaya Intelligent Transport System)
ATCS ~ SITS (Surabaya Intelligent Transport System)
 
Materi Sosialisasi Peserta Pekerja Penerima Upah (PPU) - BPJS Kesehatan
Materi Sosialisasi Peserta Pekerja Penerima Upah (PPU) - BPJS KesehatanMateri Sosialisasi Peserta Pekerja Penerima Upah (PPU) - BPJS Kesehatan
Materi Sosialisasi Peserta Pekerja Penerima Upah (PPU) - BPJS Kesehatan
 
Penilaian Prestasi Kerja Pegawai Negeri Sipil
Penilaian Prestasi Kerja Pegawai Negeri SipilPenilaian Prestasi Kerja Pegawai Negeri Sipil
Penilaian Prestasi Kerja Pegawai Negeri Sipil
 
Policy Brief Pembangunan Wawasan Kependudukan
Policy Brief Pembangunan Wawasan KependudukanPolicy Brief Pembangunan Wawasan Kependudukan
Policy Brief Pembangunan Wawasan Kependudukan
 
15 kompetensi-model-spencer
15 kompetensi-model-spencer15 kompetensi-model-spencer
15 kompetensi-model-spencer
 
Mengali Potensi Desa Barambai
Mengali Potensi Desa BarambaiMengali Potensi Desa Barambai
Mengali Potensi Desa Barambai
 
Samsat Kota Serang
Samsat Kota SerangSamsat Kota Serang
Samsat Kota Serang
 

Mehr von New Nan

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1New Nan
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยNew Nan
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+finalNew Nan
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาNew Nan
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตNew Nan
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่New Nan
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นNew Nan
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน New Nan
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์New Nan
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7New Nan
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถาNew Nan
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)New Nan
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ New Nan
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ New Nan
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +New Nan
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !New Nan
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงNew Nan
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวยNew Nan
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอีNew Nan
 

Mehr von New Nan (20)

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+final
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยา
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถา
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริง
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวย
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอี
 

พุทธวจนฉบับภพภูมิ

  • 2. ราธะ ! ความพอใจอันใด ราคะอันใด นันทิอันใด ตัณหาอันใด มีอยูในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทังหลาย และในวิญญาณ เพราะการติดแลว ของแลวในสิงนันๆ ้ ่ ้ เพราะฉะนั้นจึงเรียกวา “สัตว” ดังนี้. วัจฉะ ! เรายอมบัญญัติความบังเกิดขึ้น สําหรับสัตวผูที่ยังมีอุปาทานอยู ไมใชสําหรับสัตวผูที่ไมมีอุปาทาน. วัจฉะ ! เปรียบเหมือนไฟที่มีเชื้อ ยอมโพลงขึ้นได ที่ไมมีเชื้อ ก็โพลงขึ้นไมได อุปมานี้ฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น. วัจฉะ ! สมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล เรายอมบัญญัติเปลวไฟนั้นวา มีลมนันแหละเปนเชือ เพราะวาสมัยนัน ลมยอมเปนเชือของเปลวไฟนัน. ่ ้ ้ ้ ้ วัจฉะ ! สมัยใด สัตวทอดทิ้งกายนี้ และยังไมบังเกิดขึ้นดวยกายอื่น เรากลาวสัตวนี้วา มีตัณหานั่นแหละเปนเชื้อ เพราะวาสมัยนั้น ตัณหายอมเปนเชื้อของสัตวนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ! เปรียบเหมือนทอนไมอันบุคคลซัดขึ้นไปสูอากาศ บางคราวตกเอาโคนลง บางคราวตกเอาตอนกลางลง บางคราวตกเอาปลายลง ขอนีฉนใด. ้ั ้ั  ี ่ ้ ั ่ ่ ภิกษุทั้งหลาย ! สัตวทงหลายผูมอวิชชาเปนเครืองกัน มีตณหาเปนเครืองผูก ทองเทียวไปมาอยู ก็ฉันนั้นเหมือนกัน บางคราวแลนไปจากโลกนี้สูโลกอื่น บางคราวแลนจากโลกอื่นสูโลกนี้. ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๒/๓๖๗. สฬา. สํ. ๑๘/๔๘๕/๘๐๐. นิทาน. สํ. ๑๖/๒๑๙/๔๓๘-๔๓๙.
  • 3. พุ ท ธ ว จ น ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ พุทธวจนสถาบัน รวมกันศึกษา ปฏิบัติ เผยแผคําของตถาคต
  • 4. พุทธวจน ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ขอมูลธรรมะนี้ จัดทําเพื่อประโยชนทางการศึกษาสูสาธารณชน เปนธรรมทาน ลิขสิทธิ์ในตนฉบับนี้ไดรับการสงวนไว ไมสงวนสิทธิ์ในการจัดทําจากตนฉบับเพื่อเผยแผในทุกกรณี ในการจัดทําหรือเผยแผ โปรดใชความละเอียดรอบคอบ เพื่อรักษาความถูกตองของขอมูล ขอคําปรึกษาดานขอมูลในการจัดทําเพื่อความสะดวกและประหยัด ติดตอไดที่ มูลนิธิพุทธโฆษณ โทรศัพท ๐๘ ๘๔๙๔ ๘๐๘๓ พุทธวจนสมาคม โทรศัพท ๐๘ ๑๖๔๗ ๖๐๓๖ คุณศรชา โทรศัพท ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คุณอารีวรรณ โทรศัพท ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ พิมพครั้งที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๖ ศิลปกรรม ณรงคเดช เจริญปาละ, วิชชุ เสริมสวัสดิ์ศรี จัดทําโดย มูลนิธิพุทธโฆษณ (เว็บไซต www.buddhakos.org)
  • 5. คําอนุโมทนา ขออนุโมทนา กับคณะผูจัดทํา หนังสือพุทธวจน ฉบับ “ภพภูมิ” ที่มีความตั้งใจและมีเจตนาอันเปนกุศล ในการเผยแผคําสอนของตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ ทีออกจากพระโอษฐของพระองคเอง ทีทานตรัสรูในหลาย ่ ่   แงมุม เกี่ยวกับการแลนไป การทองเที่ยวไปในสังสารวัฏ ของสัตวทงหลายตลอดกาลยืดยาวนาน เปนสัจจะตามหลัก ั้ พุทธวจน เพื่อใหผูสนใจไดศึกษาและนํามาปฏิบัติใหถึง ความพนทุกข ด ว ยเหตุ ป จ จั ย ดั ง กล า ว ขอให ผู มี ส ว นร ว มใน การรวบรวมคําสอนของตถาคตที่บัญญัติเกี่ยวกับภพภูมิ จนสําเร็จมาเปนหนังสือเลมนี้ รวมถึงผูที่ไดอาน ไดศึกษา และไดปฏิบติ พึงเกิดปญญาไดดวงตาเห็นธรรม กระทําทีสด ั ุ่ เพื่อการละขาดแหงภพทั้งหลายดวยเทอญ. ขออนุโมทนา พระคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
  • 6. อักษรยอ เพื่อความสะดวกแกผูที่ยังไมเขาใจเรื่องอักษรยอ ที่ใชแทนชื่อคัมภีร ซึ่งมีอยูโดยมาก มหาวิ. วิ. ภิกฺขุนี. วิ. มหา. วิ. จุลฺล. วิ. ปริวาร. วิ. สี. ที. มหา. ที. ปา. ที. มู. ม. ม. ม. อุปริ. ม. สคาถ. สํ. นิทาน. สํ. ขนฺธ. สํ. สฬา. สํ. มหาวาร. สํ. เอก. อํ. ทุก. อํ. ติก. อํ. จตุกฺก. อํ. มหาวิภังค ภิกขุนีวิภังค มหาวรรค จุลวรรค ปริวารวรรค สีลขันธวรรค มหาวรรค ปาฏิกวรรค มูลปณณาสก มัชฌิมปณณาสก อุปริปณณาสก สคาถวรรค นิทานวรรค ขันธวารวรรค สฬายตนวรรค มหาวารวรรค เอกนิบาต ทุกนิบาต ติกนิบาต จตุกกนิบาต วินัยปฎก. วินัยปฎก. วินัยปฎก. วินัยปฎก. วินัยปฎก. ทีฆนิกาย. ทีฆนิกาย. ทีฆนิกาย. มัชฌิมนิกาย. มัชฌิมนิกาย. มัชฌิมนิกาย. สังยุตตนิกาย. สังยุตตนิกาย. สังยุตตนิกาย. สังยุตตนิกาย. สังยุตตนิกาย. อังคุตตรนิกาย. อังคุตตรนิกาย. อังคุตตรนิกาย. อังคุตตรนิกาย.
  • 7. ปฺจก. อํ. ฉกฺก. อํ. สตฺตก. อํ. อก. อํ. นวก. อํ. ทสก. อํ. เอกาทสก. อํ. ขุ. ขุ. ธ. ขุ. อุ. ขุ. อิติวุ. ขุ. สุตฺต. ขุ. วิมาน. ขุ. เปต. ขุ. เถร. ขุ. เถรี. ขุ. ชา. ขุ. มหานิ. ขุ. จูฬนิ. ขุ. ปฏิสมฺ. ขุ. อปท. ขุ. พุทฺธว. ขุ. จริยา. ขุ. ปญจกนิบาต ฉักกนิบาต สัตตกนิบาต อัฏฐกนิบาต นวกนิบาต ทสกนิบาต เอกาทสกนิบาต ขุททกปาฐะ ธรรมบท อุทาน อิติวุตตกะ สุตตนิบาต วิมานวัตถุ เปตวัตถุ เถรคาถา เถรีคาถา ชาดก มหานิทเทส จูฬนิทเทส ปฏิสัมภิทามรรค อปทาน พุทธวงส จริยาปฎก อังคุตตรนิกาย. อังคุตตรนิกาย. อังคุตตรนิกาย อังคุตตรนิกาย. อังคุตตรนิกาย. อังคุตตรนิกาย. อังคุตตรนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ขุททกนิกาย. ตัวอยาง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอานวา ไตรปฎกฉบับสยามรัฐ เลม ๑๔ หนา ๑๗๑ ขอที่ ๒๔๕
  • 8.
  • 9. คํานํา เพราะเหตุ ว า สงสารนี้ กํ า หนดที่ สุ ด เบื้ อ งต น เบื้องปลายไมได เมื่อเหลาสัตวผูมีอวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ทองเที่ยวไปมาอยู ที่สุดเบื้องตน ยอมไมปรากฏ สัตวเหลานันไดเสวยความทุกข ความเผ็ดรอน ้ ความพินาศ ไดเพิ่มพูนปฐพีที่เปนปาชาตลอดกาลนาน เหมือนอยางนั้น น้ําตา ที่เราเคยหลั่งไหล น้ํานม ที่เราเคยไดดื่ม เลือด ทีเราเคยสูญเสีย เปรียบกับน้าในมหาสมุทรทัง ๔ แลว ่ ํ ้ ไมมากกวาเลย ดวยเหตุวาสังสารวัฏนันกําหนดทีสดเบืองตน  ้ ุ่ ้ เบื้องปลายไมได เมื่อเหลาสัตวผูมีอวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตณหาเปนเครื่องผูก ทองเที่ยวไปมาอยู ั เพียงพอหรือยังที่เราทั้งหลายจะบอกตนเองวา ดวยเหตุเพียงเทานี้ ก็พอแลวเพื่อจะเบื่อหนายในสังขาร ทังหลาย พอแลวเพือจะคลายกําหนัด พอแลวเพือจะหลุดพน ้ ่ ่ จากสังขารทั้งปวงนี้ ตถาคตอรหั น ตสั ม มาสั ม พุ ท ธะได ท รงเห็ น และ ทรงแสดงภพภูมิตางๆ ใหเราไดทราบแลว
  • 10. ฉะนั้นแผนภูมิชีวิตของเราจะเปนอยางไร ! เราสามารถกําหนดไดหรือไม ? หาคําตอบดวยตัวเองจากหนังสือ พุทธวจน ฉบับ ภพภูมิ เลมนี้ คณะผูจัดพิมพหนังสือเลมนี้ ขอนอบนอมสักการะ ตอ ตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธะ และ ภิกษุสาวกในธรรมวินัยนี้ ตั้งแตครั้งพุทธกาล จนถึงยุคปจจุบัน ที่มีสวนเกี่ยวของในการสืบทอดพุทธวจน คือ ธรรมและวินัย ที่ทรงประกาศไว บริสุทธิ์บริบูรณดีแลว. คณะศิษยตถาคต
  • 11.
  • 12. สารบัญ ภพ ๑ ๑. ภพ เปนอยางไร ๒. ความมีขึ้นแหงภพ (นัยที่ ๑) ๓. ความมีขึ้นแหงภพ (นัยที่ ๒) ๔. เครื่องนําไปสูภพ ๕. ความเกิดขึ้นแหงภพใหม ๖. ที่ตั้งอยูของวิญญาณ (นัยที่ ๑) ๗. ที่ตั้งอยูของวิญญาณ (นัยที่ ๒) ๘. ความมีขึ้นแหงภพ แมมีอยูชั่วขณะก็นารังเกียจ สัตว ๙. ความหมายของคําวา “สัตว” ๑๐. เหตุใหมีการเกิด ๑๑. ลักษณะของการเกิด ๑๒. กายแบบตางๆ ๑๓. คติ ๕ และอุปมา นรก ๑๔. เหตุใหทุคติปรากฏ ๑๕. โทษแหงศีลวิบัติของคนทุศีล ๑๖. ทุคติของผูทุศีล ๑๗. วิบากของผูทุศีล ๓ ๔ ๖ ๘ ๙ ๑๑ ๑๕ ๑๙ ๒๑ ๒๓ ๒๕ ๒๗ ๒๙ ๓๑ ๔๑ ๔๒ ๔๗ ๔๙ ๕๑
  • 13. ๑๘. เคราะหรายอันใหญหลวงของคนพาล ๑๙. ปฏิปทาใหเขาถึงนรกชื่อปหาสะ ๒๐. ปฏิปทาใหเขาถึงนรกชื่อสรชิต ๒๑. อสัทธรรมที่ทําใหเกิดในนรกตลอดกัป ๒๒. อุปมาความทุกขในนรก ๒๓. ความทุกขในนรก ๒๔. อายุนรก ๒๕. การเขาถึงนรกในภพปจจุบัน (นัยที่ ๑) ๒๖. การเขาถึงนรกในภพปจจุบัน (นัยที่ ๒) ๒๗. การจองจําที่ทารุณเจ็บปวด ๒๘. ความเปนไปไดยาก ๒๙. การไมรูอริยสัจ มืดยิ่งกวาโลกันตริก สัตวเดรัจฉาน ๕๔ ๕๗ ๕๙ ๖๑ ๖๓ ๗๓ ๘๙ ๙๓ ๙๖ ๙๘ ๑๐๑ ๑๐๔ ๑๐๗ ๓๐. เหตุที่ทําใหเกิดเปนสัตวเดรัจฉาน ๑๐๘ ๓๑. นาคเปนสัตวเดรัจฉาน ๑๑๑ ๓๒. กําเนิดนาค ๔ จําพวก ๑๑๕ ๓๓. เหตุใหนาครักษาอุโบสถ ๑๑๖ ๓๔. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของนาค (นัยที่ ๑) ๑๑๗ ๓๕. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของนาค (นัยที่ ๒) ๑๑๘ ๓๖. กําเนิดครุฑ ๔ จําพวก ๑๑๙ ๓๗. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายพวกครุฑ (นัยที่ ๑) ๑๒๐ ๓๘. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายพวกครุฑ (นัยที่ ๒) ๑๒๑ ๓๙. ปฏิปทาใหถึงความเปนสุนัขและโค ๑๒๓
  • 14. ๔๐. สัตวที่อยูในอบายมีมาก ๔๑. การจองจําที่ทารุณเจ็บปวด ๔๒. ความเปนไปไดยาก เปรตวิสัย ๔๓. เปรตวิสัย ๔๔. ภพภูมิที่บริโภคทานได ๔๕. ความเปนไปไดยาก มนุษย ๔๖. เหตุใหสุคติปรากฏ ๔๗. อานิสงสแหงศีลสมบัติของคนมีศีล ๔๘. สุคติของผูมีศีล ๔๙. ขอดีของมนุษยเทียบกับ เทวดาชั้นดาวดึงส ๕๐. เหตุแหงการเกิดในครรภ ๕๑. สัตวตั้งอยูในครรภไดอยางไร ๕๒. เหตุแหงการดํารงอยูของชีวิต ๕๓. เหตุใหไดความเปนหญิงหรือชาย ๕๔. เหตุใหมนุษยเกิดมาแตกตางกัน ๕๕. ธรรมของพระเจาจักรพรรดิ ๕๖. กรรมกําหนด ๕๗. เหตุสําเร็จความปรารถนา ๕๘. การเกิดสังคมมนุษย ๕๙. ปจจัยตออายุขัยของมนุษย ๑๒๖ ๑๒๙ ๑๓๑ ๑๓๕ ๑๓๖ ๑๔๙ ๑๕๕ ๑๕๙ ๑๖๐ ๑๖๕ ๑๖๗ ๑๖๙ ๑๗๑ ๑๗๕ ๑๗๗ ๑๘๑ ๑๘๕ ๑๙๗ ๑๙๙ ๒๐๑ ๒๐๓ ๒๑๗
  • 15. ๖๐. ผลจากความไมมีธรรมะของมนุษย ๖๑. เหตุที่ทําใหมนุษยจํานวนลดลง ๖๒. เครื่องผูกพันสัตว ๖๓. เหตุที่สัตวบางพวกกลัวตาย บางพวกไมกลัวตาย ๖๔. โอกาสในการเกิดเปนมนุษยนั้นยาก ๖๕. ความเปนไปไดยาก เทวดา ๖๖. ขอดีของเทวดาเทียบกับมนุษย ๖๗. ผลแหงความประพฤติเรียบรอย ๖๘. ผลจากการวางจิตเมื่อใหทาน ๖๙. ผลของการตอนรับบรรพชิต ดวยวิธีที่ตางกัน ๗๐. เหตุสําเร็จความปรารถนา ๗๑. เหตุเกิดขึ้นแหงทาน ๘ ประการ ๗๒. สัดสวนของทาน ศีล ภาวนา ๗๓. ความแตกตางของผูใหกับผูไมให ๗๔. อุปมาความสุขบนสวรรค ๗๕. อานิสงสการรักษาอุโบสถ ๗๖. เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมูคนธรรพ ๗๗. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของเทวดา ซึ่งนับเนื่องในหมูคนธรรพ (นัยที่ ๑) ๗๘. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของเทวดา ซึ่งนับเนื่องในหมูคนธรรพ (นัยที่ ๒) ๒๒๒ ๒๒๔ ๒๒๗ ๒๒๙ ๒๓๕ ๒๓๗ ๒๔๑ ๒๔๓ ๒๔๔ ๒๔๘ ๒๕๓ ๒๕๖ ๒๖๔ ๒๖๗ ๒๗๓ ๒๗๖ ๒๘๙ ๓๐๕ ๓๐๗ ๓๐๘
  • 16. ๗๙. เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมูวลาหก ๘๐. เหตุใหเขาถึงความเปนสหายของเทวดา ซึ่งนับเนื่องในหมูวลาหก ๘๑. เทวดาเหลามนาปกายิกา ๘๒. เทวดาเขาถือเอาพื้นที่ ๘๓. เหตุใหไดความเปนจอมเทพ ๘๔. การบูชาเทวดา ๘๕. การบูชาที่จัดเปนการบูชาอยางสูงสุด ๘๖. ทางเพื่อความเปนสหายแหงพรหม ๘๗. ความแตกตางระหวางปุถุชน กับอริยสาวก ผูไดรูปสัญญา ๘๘. ผลของการเจริญรูปสัญญา แลวเห็นความไมเที่ยง ๘๙. ความแตกตางระหวางปุถุชน กับอริยสาวก ผูเจริญพรหมวิหาร ๙๐. ผลของการเจริญพรหมวิหาร แลวเห็นความไมเที่ยง ๙๑. ความแตกตางระหวางปุถุชน กับอริยสาวก ผูไดอรูปสัญญา ๙๒. ผลของการเจริญอรูปสัญญา แลวเห็นความไมเที่ยง ๙๓. เทวดาชั้นสุทธาวาส ๙๔. ชุมนุมเทวดา ๓๑๐ ๓๑๑ ๓๑๓ ๓๑๗ ๓๑๙ ๓๒๑ ๓๒๒ ๓๒๓ ๓๒๕ ๓๓๑ ๓๓๓ ๓๓๙ ๓๔๒ ๓๔๗ ๓๔๙ ๓๕๔
  • 17. ๙๕. เทวดาเคยรบกับอสูร ๙๖. ตําแหนงที่สตรีเปนไมได ๙๗. อานิสงสแหงการฟงธรรมเนืองๆ ๙๘. การเขาถึงสวรรคในภพปจจุบัน ๙๙. แมแตเทวดาก็ไมเที่ยง ๑๐๐. ความเห็นผิดของพกพรหม ๑๐๑. เหตุที่มีความเห็นวา อัตตาและโลก บางอยางเที่ยง บางอยางไมเที่ยง ๑๐๒. สุคติของเทวดา ๑๐๓. ความเปนไปไดยาก ความยาวนาน แหงสังสารวัฏ ๑๐๔. ความนานแหงกัป (นัยที่ ๑) ๑๐๕. ความนานแหงกัป (นัยที่ ๒) ๑๐๖. ความยาวนานแหงสังสารวัฏ (นัยที่ ๑) ๑๐๗. ความยาวนานแหงสังสารวัฏ (นัยที่ ๒) ๑๐๘. การทองเที่ยวที่แสนยาวนาน ๑๐๙. การเวียนเกิดที่แสนยาวนาน ๑๑๐. ผูที่ไมเคยเกี่ยวของกัน หาไดยาก ๑๑๑. น้ําตา ที่เคยหลั่งไหล ๑๑๒. น้ํานม ที่เคยไดดื่ม ๑๑๓. ทุกข ที่เคยประสบ ๑๑๔. สุข ที่เคยไดรับ ๓๖๒ ๓๖๖ ๓๖๘ ๓๗๓ ๓๗๕ ๓๗๗ ๓๘๑ ๓๘๗ ๓๙๑ ๓๙๕ ๓๙๖ ๓๙๘ ๔๐๐ ๔๐๒ ๔๐๔ ๔๐๖ ๔๐๘ ๔๑๑ ๔๑๔ ๔๑๖ ๔๑๗
  • 18. ๑๑๕. เลือด ที่เคยสูญเสีย ๔๑๘ ๑๑๖. ความไมแนนอนของการไดอัตภาพ ๔๒๐ ๑๑๗. สิ่งทั้งหลายไมเที่ยง (นัยที่ ๑) ๔๒๒ ๑๑๘. สิ่งทั้งหลายไมเที่ยง (นัยที่ ๒) ๔๒๖ ๑๑๙. เพราะไมรูอริยสัจ จึงตองทองเที่ยวไปในสังสารวัฏ๔๓๓ นิพพาน ๑๒๐. อุปมาแหงนิพพาน ๑๒๑. ความรูสึกของปุถุชน ๑๒๒. นิพพาน คือ ธรรมเปนที่สิ้นไปแหงอาสวะ ๑๒๓. ความสิ้นตัณหา คือ นิพพาน ๑๒๔. นิพพานที่เห็นไดเอง ๑๒๕. นิพพานที่เห็นไดเอง ตามคําของพระอานนท ๑๒๖. การปรินิพพานในปจจุบัน ๑๒๗. ความหมายของคําวา “ความดับ” ๑๒๘. ความดับของขันธ ๕ คือ ความดับของทุกข ๑๒๙. ความดับของอายตนะ คือ ความดับของทุกข ๑๓๐. ละตัณหาได คือ ละเบญจขันธได ๑๓๑. ดับตัณหา คือ ปลงภาระหนักลงได ๑๓๒. ละความพอใจในสิ่งใด คือ การละซึ่งสิ่งนั้น ๑๓๓. เมื่อ “เธอ” ไมมี ๑๓๔. สังขตลักษณะ ๑๓๕. อสังขตลักษณะ ๔๓๗ ๔๓๘ ๔๔๐ ๔๔๓ ๔๔๔ ๔๔๖ ๔๕๐ ๔๕๒ ๔๕๔ ๔๕๕ ๔๖๐ ๔๖๑ ๔๖๓ ๔๖๕ ๔๖๖ ๔๖๗ ๔๖๘
  • 19. ๑๓๖. “ดิน น้ํา ไฟ ลม” ไมอาจหยั่งลงไดในที่ไหน ๑๓๗. “สิ่งนั้น” หาพบในกายนี้ ๑๓๘. สิ่งๆ นั้น มีอยู ๑๓๙. สิ่งนั้น มีแน ๑๔๐. ลําดับการปฏิบัติ เพื่ออรหัตตผล ๑๔๑. ลําดับการหลุดพน เมื่อเห็นอนัตตา ๑๔๒. อริยมรรคมีองค ๘ คือ ขอปฏิบัติเพื่อความพนทุกข ภาคผนวก ๑๔๓. ตถาคตผูอรหันตสัมมาสัมพุทธะ ๑๔๔. บริษัทสมาคม ๘ ๑๔๕. บุรพกรรมของการไดลักษณะของมหาบุรุษ ๑๔๖. อานิสงสของผูมีจิตเลื่อมใสในตถาคต ๑๔๗. วาดวยทักษิณา ๑๔๘. รัตนะที่หาไดยาก ๑๔๙. ผูมีอุปการะมาก ๑๕๐. ประพฤติพรหมจรรยเพื่อการละขาดซึ่งภพ ๔๖๙ ๔๗๒ ๔๗๓ ๔๗๔ ๔๗๖ ๔๗๘ ๔๘๐ ๔๘๗ ๔๘๘ ๔๙๐ ๔๙๒ ๕๐๑ ๕๐๔ ๕๑๐ ๕๑๑ ๕๑๓ Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็นธรรมทาน
  • 20.
  • 22.
  • 23. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓ ๑ ภพ เปนอยางไร ภิกษุทั้งหลาย ! ภพ1 เปนอยางไรเลา ? ภิกษุทงหลาย ! ภพทังหลาย ๓ อยาง เหลานีคอ :ั้ ้ ้ื 2 กามภพ รูปภพ อรูปภพ. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกวา ภพ. ความกอขึ้นพรอมแหงภพ ยอมมี เพราะความกอขึ้นพรอมแหงอุปาทาน ความดับไมเหลือแหงภพ ยอมมี เพราะความดับไมเหลือแหงอุปาทาน มรรคอันประกอบดวยองคแปดอันประเสริฐนันเอง ่ เปนปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงภพ ไดแกสิ่งเหลานี้คือ :ความเห็นชอบ ความดําริชอบ การพูดจาชอบ การทําการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตังใจมันชอบ. ้ ่ นิทาน. สํ. ๑๖/๕๑/๙๑. 1. ภพ : สถานทีอนวิญญาณใชตงอาศัยเพือเกิดขึน หรือเจริญงอกงามตอไป. ่ั ั้ ่ ้ (ดูเพิมเติม ทีตงอยูของวิญญาณ น.๑๕ ตรัสภพเปรียบกับดิน วิญญาณ ่ ่ ั้  ่ เปรียบกับสวนของพืชเชน เมล็ด ทีสามารถเจริญงอกงามตอไปได) 2. กามภพ : ที่เกิดอันอาศัย ดิน นํ้า ไฟ ลม, รูปภพ : สถานที่เกิดอันอาศัย สิงทีเ่ ปนรูปในสวนละเอียด, อรูปภพ : สถานทีเ่ กิดอันอาศัยสิงทีไมใชรป. ่ ่ ่ ู
  • 24. ๔ พุ ท ธ ว จ น ๒ ความมีขึ้นแหงภพ (นัยที่ ๑) ขาแตพระองคผูเจริญ ! พระผูมพระภาคเจากลาวอยูวา  ี  ‘ภพ–ภพ’ ดังนี้ ภพ ยอมมีได ดวยเหตุเพียงเทาไรเลา พระเจาขา ! อานนท ! ถากรรมมีกามธาตุ1เปนวิบาก จักไมไดมี แลวไซร กามภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ? หามิได พระเจาขา ! อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา ี้ ้ วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยาง (สําหรับหลอเลี้ยง เชื้องอก) ของพืช วิญญาณของสัตวทั้งหลาย มีอวิชชา เปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวย ธาตุชั้นทราม (กามธาตุ) การบังเกิดขึ้นในภพใหมตอไป ยอมมีได ดวยอาการอยางนี้. อานนท ! ถากรรมมีรปธาตุ2เปนวิบาก จักไมไดมี ู แลวไซร รูปภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ? หามิได พระเจาขา ! 1. กามธาตุ : ธาตุดิน ธาตุนํ้า ธาตุลมและธาตุไฟ. (ดูเพิ่มเติม ไตรปฎกไทย นิทาน. สํ. ๑๖/๑๔๘/๓๕๕-๖.) 2. รูปธาตุ : สิงทีเ่ ปนรูปในสวนละเอียด. (ดูเพิมเติม “มีอวัยวะนอยใหญครบถวน ่ ่ มีอนทรียไมทราม” ไตรปฎกไทย สี. ที. ๙/๓๒/๔๙.) ิ 
  • 25. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๕ อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา ี้ ้ วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช วิญญาณ ของสัตวทั้งหลาย มีอวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปน เครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวยธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ) การ บังเกิดขึนในภพใหมตอไป ยอมมีได ดวยอาการอยางนี.้ ้  อานนท ! ถากรรมมีอรูปธาตุ1เปนวิบาก จักไมไดมี แลวไซร อรูปภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ? หามิได พระเจาขา ! อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา ี้ ้ วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช วิญญาณ ของสัตวทั้งหลาย มีอวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปน เครืองผูก ตังอยูแลวดวยธาตุชนประณีต (อรูปธาตุ) การ ่ ้  ั้ บังเกิดขึนในภพใหมตอไป ยอมมีได ดวยอาการอยางนี.้ ้  อานนท ! ภพ ยอมมีได ดวยอาการอยางนีแล. ้ ติก. อํ. ๒๐/๒๘๗/๕๑๖. 1. อรูปธาตุ : สิ่งที่ไมใชรูป เปนนามธรรม เชน เวทนา สัญญา สังขาร. (ผูไดสมาธิระดับ อากาสานัญจายตนะขึ้นไป)
  • 26. ๖ พุ ท ธ ว จ น ๓ ความมีขึ้นแหงภพ (นัยที่ ๒) ขาแตพระองคผูเจริญ ! พระผูมพระภาคเจากลาวอยูวา  ี  ‘ภพ–ภพ’ ดังนี้ ภพ ยอมมีได ดวยเหตุเพียงเทาไรเลา พระเจาขา ! อานนท ! ถากรรมมีกามธาตุเปนวิบาก จักไมไดมี แลวไซร กามภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ? หามิได พระเจาขา ! อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา ี้ ้ วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช (สําหรับ หลอเลี้ยงเชื้องอก) ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตวทงหลาย ทีมอวิชชาเปนเครืองกัน มีตณหาเปน ั้ ่ ี ่ ้ ั เครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวยธาตุชั้นทราม (กามธาตุ) การ บังเกิดขึนในภพใหมตอไป ยอมมีได ดวยอาการอยางนี.้ ้  อานนท ! ถากรรมมีรปธาตุเปนวิบาก จักไมไดมี ู แลวไซร รูปภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ? หามิได พระเจาขา !
  • 27. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๗ อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา ี้ ้ วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช ความเจตนา ก็ดี ความปรารถนาก็ดีของสัตวทั้งหลาย ที่มีอวิชชา เปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวย ธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ) การบังเกิดขึ้นในภพใหมตอไป ยอมมีได ดวยอาการอยางนี้. อานนท ! ถากรรมมีอรูปธาตุเปนวิบาก จักไมไดมี แลวไซร อรูปภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ? หามิได พระเจาขา ! อานนท ! ดวยเหตุนแหละ กรรมจึงเปนเนือนา ี้ ้ วิญญาณเปนเมล็ดพืช ตัณหาเปนยางของพืช ความเจตนา ก็ดี ความปรารถนาก็ดีของสัตวทั้งหลาย ที่มีอวิชชา เปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูแลวดวย ธาตุชนประณีต (อรูปธาตุ) การบังเกิดขึนในภพใหมตอไป ้ั ้  ยอมมีได ดวยอาการอยางนี้. อานนท ! ภพ ยอมมีได ดวยอาการอยางนีแล. ้ ติก. อํ. ๒๐/๒๘๘/๕๑๗.
  • 28. ๘ พุ ท ธ ว จ น ๔ เครื่องนําไปสูภพ ขาแตพระองคผเู จริญ ! พระองคตรัสอยูวา ‘เครืองนําไปสูภพ  ่  เครืองนําไปสูภพ’ ดังนี้ ก็เครืองนําไปสูภพ เปนอยางไร พระเจาขา ! ่  ่  และความดับไมเหลือของเครื่องนําไปสูภพนั้น เปนอยางไรเลา พระเจาขา ! ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี ราคะ (ความ กําหนัด) ก็ดี นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี ตัณหา (ความอยาก) ก็ดี อุ ป ายะ (กิเลสเปนเหตุเขาไปสูภพ) และอุ ป าทาน (ความถือมั่นดวยอํานาจกิเลส) อันเปนเครื่องตั้งทับ เครื่อง เขาไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแหงจิตก็ดีใดๆ ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ กิเลสเหลานี้ นี่เราเรียกวา ‘เครื่องนําไปสูภพ’ ความดับไมเหลือของเครื่องนําไปสูภพ มีได เพราะความดับไมเหลือของกิเลส มีฉนทะ ราคะ เปนตน ั เหลานั้นเอง. ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๓/๓๖๘.
  • 29. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๙ ๕ ความเกิดขึ้นแหงภพใหม ภิกษุทั้งหลาย ! ถาบุคคลยอมคิด (เจเตติ) ถึงสิ่งใดอยู ยอมดําริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู และยอมมีจิตฝงลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู สิ่งนั้นยอมเปนอารมณ เพื่อการตั้งอยูแหง วิ ญ ญาณ เมื่ อ อารมณ มี อ ยู ความตั้ ง ขึ้ น เฉพาะแห ง วิญญาณ ยอมมี เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญ งอกงามแลว ความเกิดขึ้นแหงภพใหมตอไป ยอมมี เมื่อความเกิดขึ้นแหงภพใหมตอไป มีอยู ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้น ครบถวน ความเกิดขึนพรอมแหงกองทุกขทงสินนี้ ยอมมี ้ ั้ ้ ดวยอาการอยางนี้. ภิกษุทั้งหลาย ! ถาบุคคลยอมไมคด (โน เจเตติ) ถึงสิงใด ยอมไมดาริ ิ ่ ํ (โน ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใด แตเขายังมีจิตฝงลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู สิ่งนั้นยอมเปนอารมณ เพื่อการตั้งอยูแหง วิญญาณ เมืออารมณ มีอยู ความตังขึนเฉพาะแหงวิญญาณ ่ ้ ้
  • 30. ๑๐ พุ ท ธ ว จ น ยอมมี เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว ความเกิดขึนแหงภพใหมตอไป ยอมมี เมีอความเกิดขึนแหง ้  ่ ้ ภพใหมตอไป มีอยู ชาติชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส  อุปายาสทังหลาย ยอมเกิดขึนครบถวน ความเกิดขึนพรอม ้ ้ ้ แหงกองทุกขทงสินนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี.้ ้ั ้ ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ถาวาบุคคลยอมไมคดถึงสิงใดดวย ยอมไมดาริ  ิ ่ ํ ถึงสิงใดดวย และยอมไมมจตฝงลงไป (โน อนุเสติ) ในสิง ่ ีิ ่ ใดดวย ในกาลใด ในกาลนั้น สิ่งนั้น ยอมไมเปนอารมณ เพื่ อ การตั้ ง อยู แ ห ง วิ ญ ญาณได เ ลย เมื่ อ อารมณ ไ ม มี ความตังขึนเฉพาะแหงวิญญาณ ยอมไมมี เมือวิญญาณนัน ้ ้ ่ ้ ไมตั้งขึ้นเฉพาะ ไมเจริญงอกงามแลว ความเกิดขึ้นแหง ภพใหมตอไป ยอมไมมี เมื่อความเกิดขึ้นแหงภพใหม ตอไป ไมมี ชาติชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส อุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น ความดับลงแหงกองทุกข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ ดังนี้แล. นิทาน. สํ. ๑๖/๗๘/๑๔๕.
  • 31. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๑ ๖ ที่ตั้งอยูของวิญญาณ (นัยที่ ๑) อานนท ! วิญญาณฐิติ (ที่ตั้งอยูของวิญญาณ) ๗ เหลานี้ และ อายตนะ ๒ มีอยู. วิญญาณฐิติ ๗ เหลาไหนเลา ? วิญญาณฐิติ ๗ คือ :อานนท ! สัตวทั้งหลาย (สตฺตา) มีกายตางกัน มีสญญาตางกัน มีอยู ไดแก มนุษยทงหลาย เทวดาบางพวก ั ้ั และวินิบาตบางพวก นี้คือ วิญญาณฐิติที่ ๑. อานนท ! สัตวทั้งหลาย มีกายตางกัน มีสัญญา อยางเดียวกัน มีอยู ไดแก พวกเทพผูนบเนืองในหมูพรหม  ั ่  1 ทีบงเกิดโดยปฐมภูมิ (ปมานิพพตฺตา) นีคอ วิญญาณฐิตท่ี ๒.2 ่ ั ฺ ้ื ิ 1. ปฐมภูมิ : ภูมิเบื้องตน สามารถเขาถึงไดหลายทาง เชน ผูไดปฐมฌาน, ผูเจริญเมตตา, ผูกระทํากุศลกรรมบท ๑๐, ผูประกอบพรอมดวย ศรัทธา ศีล สุตตะ จาคะ ปญญา เปนตน. (ดูเพิ่มเติม สัตตาวาสที่ ๒ น.๒๙) 2. ในไตรปฎกฉบับสยามรัฐ เฉพาะในสูตรนี้ วิญญาณฐิติที่ ๒ จะพบวามีคําวา อบายทั้ง ๔ อยูเพียงตําแหนงเดียวที่เปนพุทธวจน แตไมตรงกับสูตรอื่น ุ ่ ที่กลาวถึงวิญญาณฐิติ ๗ (คือใน ๒ สูตรของพระสารีบตรทีพระพุทธเจารับรอง ๑ สูตร และพระสารีบตรทรงจําเอง ๑ สูตร) และไมตรงกับไตรปฎกฉบับภาษามอญและ ุ ภาษายุโรป ดังนั้น คําวา อบายทั้ง ๔ จึงไมไดนํามาใสในที่นี้.
  • 32. ๑๒ พุ ท ธ ว จ น อานนท ! สัตวท้ังหลาย มีกายอยางเดียวกัน มีสัญญาตางกัน มีอยู ไดแก พวกเทพอาภัสสระ นี้คือ วิญญาณฐิติที่ ๓. อานนท ! สัตวท้ังหลาย มีกายอยางเดียวกัน มีสญญาอยางเดียวกัน มีอยู ไดแก พวกเทพสุภกิณหะ นีคอ ั ้ ื วิญญาณฐิติที่ ๔. อานนท ! สัตวทั้งหลาย เพราะกาวลวงเสียไดซึ่ง รูปสัญญา1 โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแหง ปฏิฆสัญญา2 เพราะไมใสใจนานัตตสัญญา3 จึงเขาถึงอากาสานัญจายตนะ มีการทําในใจวา “อากาศไมมทสด” ดังนี้ มีอยู ี ่ี ุ นี้คือ วิญญาณฐิติที่ ๕. อานนท ! สัตวทั้งหลาย เพราะกาวลวงเสียไดซึ่ง อากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง จึงเขาถึงวิญญาณัญจายตนะ มีการทําในใจวา “วิญญาณไมมีที่สุด” ดังนี้ มีอยู นี้คือ วิญญาณฐิติที่ ๖. อานนท ! สัตวทงหลาย เพราะกาวลวงเสียไดซึ่ง ้ั วิญญาณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง จึงเขาถึงอากิญ1. รูปสัญญา : ความหมายรูในรูป. 2. ปฏิฆสัญญา : ความหมายรูอันไมนายินดีในสวนรูป. 3. นานัตตสัญญา : ความหมายรูอันมีประการตางๆ ในสวนรูป.
  • 33. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๓ จัญญายตนะ มีการทําในใจวา “อะไร ๆ ไมมี” ดังนี้ มีอยู นี้คือ วิญญาณฐิติที่ ๗. สวน อายตนะ ๒ นั้น คือ อสัญญีสัตตายตนะที่ ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนะที่ ๒ อานนท ! ในบรรดาวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ (รวมเปน ๙) นั้น วิญญาณฐิติที่ ๑ อันใด มีอยู คือ สัตว ั ้ั ทังหลาย มีกายตางกัน มีสญญาตางกัน ไดแก มนุษยทงหลาย ้ เทวดาบางพวก และวินิบาตบางพวก. อานนท ! ผูใดรูชัดวิญญาณฐิติที่ ๑ นั้น รูชัด การเกิด (สมุทัย) แหงสิ่งนั้น รูชัดความดับ (อัตถังคมะ) แหงสิ่งนั้น รูชัดรสอรอย (อัสสาทะ) แหงสิ่งนั้น รูชัดโทษ ต่ําทราม (อาทีนวะ) แหงสิงนัน และรูชัดอุบายเปนเครืองออก ่ ้ ่ ่ ้ ้ ่ ู ้ั ไปพน (นิสสรณะ) แหงสิงนัน ดังนีแลว ควรหรือหนอทีผนน จะเพลิดเพลินยิงซึ่งวิญญาณฐิติที่ ๑ นั้น ? ่ ขอนั้น เปนไปไมได พระเจาขา ! (ในกรณีแหง วิญญาณฐิตที่ ๒ วิญญาณฐิตที่ ๓ วิญญานิ ิ ฐิติที่ ๔ วิญญาณฐิติที่ ๕ วิญญาณฐิติที่ ๖ วิญญาณฐิติที่ ๗ และ อสัญญีสตตายตนะที่ ๑ ซึงมีลกษณะเฉพาะอยางดังทีกลาวแลวขางตน ั ่ ั ่ ก็ไดมการอธิบาย ตรัสถาม และทูลตอบ โดยขอความทํานองเดียวกัน ี
  • 34. ๑๔ พุ ท ธ ว จ น กับในกรณีแหงวิญญาณฐิติที่ ๑ นั้น ทุกประการ ตางกันแตชื่อแหง สภาพธรรมนั้นๆ เทานั้น สวนเนวสัญญานาสัญญายตนะที่ ๒ นั้น จะไดบรรยายดวยขอความเต็มอีกครั้งหนึ่ง ดังตอไปนี้ :-) อานนท ! ในบรรดาวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ (รวมเปน ๙) นัน เนวสัญญานาสัญญายตนะ (ความหมายรูวา ้  มีกไมใช ไมมกไมใช) อันใด มีอยู. ็ ี็ อานนท ! ผูใดรูชดเนวสัญญานาสัญญายตนะนัน  ั ้ รูชดการเกิดแหงสิงนัน รูชดการดับแหงสิงนัน รูชดรสอรอย ั ่ ้ ั ่ ้ ั แหงสิ่งนั้น รูชัดโทษอันต่ําทรามแหงสิ่งนั้น และรูชัดอุบาย เปนเครื่องออกแหงสิ่งนั้น ดังนี้แลว ควรหรือหนอ ที่ผูนั้น จะเพลิดเพลินยิ่งซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ? ขอนั้น เปนไปไมได พระเจาขา ! อานนท ! เมื่อใดแล ภิกษุรูแจงชัดตามเปนจริง ซึงการเกิด การดับ รสอรอย โทษอันตําทราม และอุบายเปน ่ ่ เครืองออกแหงวิญญาณฐิติ ๗ เหลานี้ และแหงอายตนะ ๒ ่ เหลานีดวยแลว เปนผูหลุดพนเพราะความไมยดมัน. ้   ึ ่ อานนท ! ภิกษุนเี้ รากลาววา ผูเปนปญญาวิมตติ.  ุ มหา. ที. ๑๐/๘๑-๘๓/๖๕.
  • 35. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๕ ๗ ที่ตั้งอยูของวิญญาณ (นัยที่ ๒) ภิกษุทงหลาย ! สิงทีใชเปนพืชมี ๕ อยาง เหลานี.้ ั้ ่ ่ ๕ อยาง เหลาไหนเลา ? ๕ อยาง คือ :(๑) พืชจากเหงาหรือราก (มูลพีช) (๒) พืชจากตน (ขนฺธพีช) (๓) พืชจากตาหรือผล (ผลพีช) (๔) พืชจากยอด (อคฺคพีช) (๕) พืชจากเมล็ด (พีชพีช) ภิกษุทั้งหลาย ! ถาสิงทีใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานี้ ่ ่ ทีไมถกทําลาย ยังไมเนาเปอย ยังไมแหงเพราะลมและแดด ่ ู  ยั ง มี เ ชื้ อ งอกบริ บู ร ณ อ ยู และอั น เจ า ของเก็ บ ไว ด ว ยดี แตดิน น้ํา ไมมี. ภิกษุทงหลาย ! สิงทีใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานัน ั้ ่ ่ ้ จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย ไดแลหรือ ? หาเปนเชนนั้นไม พระเจาขา ! ภิกษุทั้งหลาย ! ถาสิงทีใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานี้ ่ ่ แหละ ที่ไมถูกทําลายยังไมเนาเปอย ยังไมแหงเพราะลม และแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณอยู และอันเจาของเก็บไว ดวยดี ทั้งดิน น้ํา ก็มีดวย.
  • 36. ๑๖ พุ ท ธ ว จ น ภิกษุทงหลาย ! สิงทีใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานัน ั้ ่ ่ ้ จะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย ไดมิใชหรือ ? อยางนั้น พระเจาขา ! ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณฐิติ ๔ อยาง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร) พึงเห็นวา เหมือนกับ ดิน. ภิกษุทั้งหลาย ! นันทิราคะ (ความกําหนัดดวยอํานาจแหงความเพลิน) พึงเห็นวาเหมือนกับ นํ้า. ภิกษุทั้งหลาย ! วิ ญ ญาณ ซึ่ ง ประกอบด ว ยป จ จั ย พึ ง เห็ น ว า เหมือนกับ พืชสดทั้ง ๕ นั้น. ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! วิ ญ ญาณ ซึ่ ง เข า ถื อ เอารู ป ตังอยู ก็ตงอยูได เปนวิญญาณทีมรปเปนอารมณ มีรปเปน ้ ั้  ่ ีู ู ที่ตั้งอาศัย มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได. ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเขาถือเอาเวทนา ตั้ ง อยู ก็ ตั้ ง อยู ไ ด เป น วิ ญ ญาณที่ มี เ วทนาเป น อารมณ มีเวทนาเปนที่ตั้งอาศัย มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึง ความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได.
  • 37. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๗ ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเขาถือเอาสัญญา ตั้ ง อยู ก็ ตั้ ง อยู ไ ด เป น วิ ญ ญาณที่ มี สั ญ ญาเป น อารมณ มีสัญญาเปนที่ตั้งอาศัย มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึง ความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได. ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเขาถือเอาสังขาร ตั้ ง อยู ก็ ตั้ ง อยู ไ ด เป น วิ ญ ญาณที่ มี สั ง ขารเป น อารมณ มีสังขารเปนที่ตั้งอาศัย มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึง ความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได. ภิกษุทั้งหลาย ! ผูใดจะพึงกลาวอยางนี้วา :เราจักบัญญัติซึ่งการมา การไป การจุติ (การตาย) การอุบัติ (การเกิด) ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลยของวิญญาณ โดยเวนจากรูป เวนจากเวทนา เวนจากสัญญา และเวนจากสังขาร ดังนี้นั้น นี่ไมใชฐานะที่จักมีไดเลย. ภิกษุทงหลาย ! ถาราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ั้ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เปนสิงทีภกษุ ่ ่ ิ ละไดแลว.
  • 38. ๑๘ พุ ท ธ ว จ น เพราะละราคะได อารมณสําหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไมมี วิญญาณอันไมมีที่ตั้งนั้น ก็ไมงอกงาม หลุดพนไป เพราะไมถูกปรุงแตง เพราะหลุดพนไป ก็ตั้งมั่น เพราะตั้งมั่น ก็ยินดีในตนเอง เพราะยินดีในตนเอง ก็ไมหวั่นไหว เมื่อไมหวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน ยอมรูชัดวา ชาติสิ้นแลว พรหมจรรยอยูจบแลว กิจที่ควรทําไดสําเร็จแลว กิจอืนทีจะตองทําเพือความเปนอยางนี้ มิไดมอก ดังนี.้ ่ ่ ่ ี ี ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗-๖๘/๑๐๖-๑๐๗.
  • 39. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๑๙ ๘ ความมีขึ้นแหงภพ แมมีอยูชั่วขณะก็นารังเกียจ ภิกษุทั้งหลาย ! คูถ แมนิดเดียว ก็เปนของมีกลิ่นเหม็น ฉันใด. ภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งที่เรียกวา ภพ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน แมมีประมาณนอย ชั่วลัดนิ้วมือเดียว ก็ไมมีคุณอะไรที่พอจะกลาวได. เอก. อํ. ๒๐/๔๖/๒๐๓. (ในสูตรถัดไป ไดตรัสอุปมาดวยมูตร ดวยนําลาย ดวยหนอง ้ ดวยโลหิต โดยทํานองเดียวกัน เอก. อํ. ๒๐/๔๖/๒๐๔.)
  • 40.
  • 42. ๒๒ พุ ท ธ ว จ น
  • 43. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๒๓ ๙ ความหมายของคําวา “สัตว” ขาแตพระองคผเู จริญ ! ทีเรียกกันวา ‘สัตว สัตว’ ดังนี, ่ ้ อันวาสัตวมีได ดวยเหตุเพียงไรเลา พระเจาขา ! ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ราคะ (ความกําหนัด) นันทิ (ความเพลิน) ตัณหา (ความอยาก) ใดๆ มีอยูในรูป เพราะการติดแลว ของแลวในรูปนัน เพราะฉะนัน จึงเรียกวา ้ ้ “สัตว” (ผูของติดในขันธทง ๕) ดังนี้.  ้ั ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใดๆ มีอยู ในเวทนา (ความรูสึกสุข ทุกขและไมสุขไมทุกข) เพราะการ ติดแลว ของแลวในเวทนานั้น เพราะฉะนั้น จึงเรียกวา “สัตว” ดังนี้. ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใดๆ มีอยู ในสัญญา (ความหมายรู) เพราะการติดแลว ของแลวใน สัญญานั้น เพราะฉะนั้น จึงเรียกวา “สัตว” ดังนี้. ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใดๆ มีอยู ในสังขารทั้งหลาย (ความปรุงแตง) เพราะการติดแลว ของแลวในสังขารทังหลายนัน เพราะฉะนัน จึงเรียกวา “สัตว” ้ ้ ้ ดังนี้.
  • 44. ๒๔ พุ ท ธ ว จ น ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใดๆ มีอยู ในวิญญาณ เพราะการติดแลว ของแลวในวิญญาณนั้น เพราะฉะนัน จึงเรียกวา “สัตว” ดังนี้แล. ้ ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๒/๓๖๗.
  • 45. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๒๕ ๑๐ เหตุใหมีการเกิด วัจฉะ ! เรายอมบัญญัติความบังเกิดขึ้น สําหรับสัตวผูที่ยังมีอุปาทาน (เชื้อ) อยู ไมใชสําหรับสัตวผูที่ไมมีอุปาทาน. วัจฉะ ! เปรียบเหมือนไฟทีมเชือ ยอมโพลงขึนได ่ ี ้ ้ ทีไมมเชือ ก็โพลงขึนไมได อุปมานีฉนใด อุปไมยก็ฉนนัน. ่ ี ้ ้ ้ั ั ้ วัจฉะ ! เรายอมบัญญัติความบังเกิดขึ้น สําหรับ สัตวผทยงมีอปาทานอยู ไมใชสาหรับสัตวผทไมมอปาทาน. ู ่ี ั ุ ํ ู ่ี ี ุ พระโคดมผูเจริญ ! ถาสมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัด หลุดปลิวไปไกล สมัยนั้น พระโคดมยอมบัญญัติซึ่งอะไรวาเปน เชื้อแกเปลวไฟนั้น ถาถือวามันยังมีเชื้ออยู ? วัจฉะ ! สมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล เรายอมบัญญัติเปลวไฟนั้น วา มีลมนั่นแหละเปนเชื้อ เพราะวา สมัยนั้นลมยอมเปนเชื้อของเปลวไฟนั้น. พระโคดมผูเจริญ ! ถาสมัยใด สัตวทอดทิ้งกายนี้ และ ยังไมบังเกิดขึ้นดวยกายอื่น สมัยนั้น พระโคดมยอมบัญญัติซึ่ง อะไรวาเปนเชื้อแกสัตวนั้น ถาถือวามันยังมีเชื้ออยู ?
  • 46. ๒๖ พุ ท ธ ว จ น วัจฉะ ! สมัยใด สัตวทอดทิ้งกายนี้ และยังไมบงเกิดขึนดวยกายอืน ั ้ ่ เรากลาวสัตวนวา มีตณหานันแหละเปนเชือ ้ี  ั ่ ้ เพราะวาสมัยนัน ตัณหายอมเปนเชือของสัตวนน. ้ ้ ้ั สฬา. สํ. ๑๘/๔๘๕/๘๐๐.
  • 47. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๒๗ ๑๑ ลักษณะของการเกิด สารีบุตร ! กําเนิด ๔ ประการเหลานี้ มีอยู. ๔ ประการ อยางไรเลา ? คือ :(๑) อัณฑชะกําเนิด (เกิดในไข) (๒) ชลาพุชะกําเนิด (เกิดในครรภ) (๓) สังเสทชะกําเนิด (เกิดในเถาไคล) (๔) โอปปาติกะกําเนิด (เกิดผุดขึ้น) สารีบุตร ! ก็อัณฑชะกําเนิด เปนอยางไรเลา ? สัตวทงหลายเหลานัน ชําแรกเปลือกแหงฟองเกิด ้ั ้ นี้เราเรียกวา อัณฑชะกําเนิด. สารีบุตร ! ชลาพุชะกําเนิด เปนอยางไรเลา ? สัตวทั้งหลายเหลานั้นใด ชําแรกไส (มดลูก) เกิด นี้เราเรียกวา ชลาพุชะกําเนิด. สารีบุตร ! สังเสทชะกําเนิด เปนอยางไรเลา ? สัตวทั้งหลายเหลานั้นใด ยอมเกิดในปลาเนา ในซากศพเนา ในขนมบูด หรือในน้ําครํา ในเถาไคล (ของสกปรก) นี้เราเรียกวา สังเสทชะกําเนิด.
  • 48. ๒๘ พุ ท ธ ว จ น สารีบุตร ! โอปปาติกะกําเนิด เปนอยางไรเลา ? เทวดา สัตวนรก มนุษยบางจําพวก และวินิบาต บางจําพวก นี้เราเรียกวา โอปปาติกะกําเนิด. สารีบุตร ! เหลานี้แล กําเนิด ๔ ประการ. มู. ม. ๑๒/๑๔๖/๑๖๙.
  • 49. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๒๙ ๑๒ กายแบบตางๆ ภิกษุทั้งหลาย ! สัตตาวาส1 ๙ มีอยู. สัตตาวาส ๙ อยางไรเลา ? ภิกษุทั้งหลาย ! สัตวพวกหนึง (สตฺตา) มีกายตางกัน มีสญญาตางกัน ่ ั เหมือนมนุษยทงหลาย เทวดาบางพวก และวินบาตบางพวก ้ั ิ นี้เปนสัตตาวาสที่ ๑ สัตวพวกหนึงมีกายตางกัน มีสญญาอยางเดียวกัน ่ ั เหมือนเทวดาผูนับเนื่องในหมูพรหม ผูเกิดในปฐมภูมิ (ปมานิพพตฺตา) นี้เปนสัตตาวาสที่ ๒ ฺ สัตวพวกหนึงมีกายอยางเดียวกัน มีสญญาตางกัน ่ ั เหมือนพวกเทพอาภัสสระ นี้เปนสัตตาวาสที่ ๓ สัตวพวกหนึ่งมีกายอยางเดียวกัน มีสัญญาอยาง เดียวกัน เหมือนพวกเทพสุภกิณหะ นี้เปนสัตตาวาสที่ ๔ สัตวพวกหนึ่งไมมีสัญญา ไมเสวยเวทนา เหมือน พวกเทพผูเปนอสัญญีสัตว2 นี้เปนสัตตาวาสที่ ๕ 1. ที่อยู ที่อาศัยของสัตว. 2. สัตวผไมมสญญา ไมเสวยเวทนา เขาถึงโดยผูทไดสญญาเวทยิตนิโรธ เปนตน. ู ี ั  ี่ ั
  • 50. ๓๐ พุ ท ธ ว จ น สัตวพวกหนึ่ง เพราะกาวลวงเสียไดซึ่งรูปสัญญา โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแหงปฏิฆสัญญา เพราะไมใสใจนานัตตสัญญา จึงเขาถึงอากาสานัญจายตนะ1 มีการทําในใจวา “อากาศไมมทสนสุด” ดังนี้ นีเปนสัตตาวาส ี ่ี ้ิ ้ ที่ ๖ สัตวพวกหนึง เพราะกาวลวงเสียไดซงอากาสานัญ่ ่ึ จายตนะโดยประการทังปวง จึงเขาถึงวิญญาณัญจายตนะ2 ้ มีการทําในใจวา “วิญญาณไมมทสด” ดังนี้ นีเปนสัตตาวาส ี ่ี ุ ้ ที่ ๗ สัตวพวกหนึง เพราะกาวลวงเสียไดซงวิญญาณัญ่ ่ึ จายตนะโดยประการทั้งปวง จึงเขาถึงอากิญจัญญายตนะ3 มีการทําในใจวา “อะไรๆ ก็ไมม” ดังนี้ นีเปนสัตตาวาสที่ ๘ ี ้ สัตวพวกหนึง เพราะกาวลวงเสียไดซงอากิญจัญญา่ ่ึ ยตนะโดยประการทังปวง จึงเขาถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะ4 ้ ดังนี้ นีเปนสัตตาวาสที่ ๙. ้ ภิกษุทั้งหลาย ! นี้แล สัตตาวาส ๙. สตฺตก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๘. 1. ความหมายรูในความไมมีที่สิ้นสุดของอากาศ. 2. ความหมายรูในความไมมีที่สุดของวิญญาณ. 3. ความหมายรูในความไมมีอะไร. 4. ความหมายรูวา สัญญามีก็ไมใช สัญญาไมมีก็ไมใช.
  • 51. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๑ ๑๓ คติ ๕ และอุปมา สารีบุตร ! คติ1 ๕ ประการเหลานี้ มีอยู. ๕ ประการ อยางไรเลา ? คือ :(๑) นรก (๒) กําเนิดเดรัจฉาน (๓) เปรตวิสัย (๔) มนุษย (๕) เทวดา สารีบตร ! เรายอมรูชดซึงนรก ทางยังสัตวใหถง ุ ั ่ ึ นรก และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถงนรก อนึง สัตวผปฏิบติ ึ ่ ู ั ประการใด เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึง อบาย ทุคติ วินบาต นรก2 เรายอมรูชดซึงประการนันดวย. ิ ั ่ ้ สารีบตร ! เรายอมรูชดซึงกําเนิดเดรัจฉาน ทาง ุ ั ่ ยังสัตวใหถงกําเนิดเดรัจฉาน และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถง ึ ึ กําเนิดเดรัจฉาน อนึง สัตวผูปฏิบัติประการใด เบืองหนา ่ ้ แตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงกําเนิดเดรัจฉาน เรายอม รูชัดซึ่งประการนั้นดวย. 1. คติ : ทางไปของสัตว. (ที่นําไปสูภพ) 2. อบาย ทุคติ วินิบาต นรก : ที่เกิดของสัตวตํ่ากวามนุษย.
  • 52. ๓๒ พุ ท ธ ว จ น
  • 53. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๓ สารีบตร ! เรายอมรูชดซึงเปรตวิสย ทางยังสัตว ุ ั ่ ั ใหถึงเปรตวิสัย และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถึงเปรตวิสัย อนึง สัตวผปฏิบตประการใด เบืองหนาแตตายเพราะกายแตก ่ ู ั ิ ้ ยอมเขาถึงเปรตวิสัย เรายอมรูชัดซึ่งประการนั้นดวย. สารี บุ ต ร ! เราย อ มรู ชั ด ซึ่ งเหล า มนุ ษ ย ทาง ยังสัตวใหถึงมนุษยโลก และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถึง มนุษยโลก อนึ่ง สัตวผปฏิบตประการใด เบืองหนาแตตาย ู ั ิ ้ เพราะกายแตก ยอมบังเกิดในหมูมนุษย เรายอมรูชัดซึ่ง ประการนั้นดวย. สารีบตร ! เรายอมรูชดซึงเทวดาทังหลาย ทางยังสัตว ุ ั ่ ้ ใหถงเทวโลก และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถงเทวโลก อนึง ึ ึ ่ สัตวผูปฏิบัติประการใด เบื้องหนาแตตาย เพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค เรายอมรูชดซึงประการนันดวย. ั ่ ้ สารีบุตร ! เรายอมรูชัดซึ่งนิพพาน ทางยังสัตว ใหถงนิพพาน และปฏิปทาอันจะยังสัตวใหถงนิพพาน อนึง ึ ึ ่ สัตวผูปฏิบัติประการใด ยอมกระทําใหแจงซึงเจโตวิมุตติ ่ ปญญาวิมตติ อันหาอาสวะมิได เพราะอาสวะทังหลายสินไป ุ ้ ้ ดวยปญญาอันยิงเองในปจจุบน เขาถึงแลวแลอยู เรายอม ่ ั รูชดซึ่งประการนั้นดวย. ั
  • 54. ๓๔ พุ ท ธ ว จ น อุปมาการเห็นคติ สารีบตร ! เปรียบเหมือนหลุมถานเพลิง ลึกยิง ุ ่ กว า ชั่ ว บุ รุ ษ เต็ ม ไปด ว ยถ า นเพลิ ง ปราศจากเปลว ปราศจากควัน ลําดับนัน บุรษผูมตวอันความรอนแผดเผา ้ ุ  ี ั เหน็ดเหนื่อย หิว ระหาย มุงมาสูหลุมถานเพลิงนั้นแหละ โดยมรรคาสายเดียว บุรุษผูมีจักษุเห็นเขาแลว พึงกลาว อยางนี้วา “บุรุษผูเจริญนี้ ปฏิบัติอยางนั้น ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น จักมาถึงหลุมถานเพลิงนี้ทีเดียว” โดยสมัยตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น พึงเห็นเขาตกลงในหลุม ถานเพลิงนั้น เสวยทุกขเวทนาอันแรงกลา เผ็ดรอนโดย สวนเดียว แมฉันใด. สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนี้ปฏิบัติอยางนั้น ้  ้ ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย เพราะกายแตก จักเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก โดยสมัยตอมา เราไดเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตาย เพราะกายแตก เขาถึงแลวซึ่งอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เสวยทุกขเวทนาอันแรงกลา เผ็ดรอนโดยสวนเดียว ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย.
  • 55. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๕ สารีบุตร ! เปรียบเหมือนหลุมคูถ ลึกยิ่งกวา ชัวบุรษ เต็มไปดวยคูถ ลําดับนัน บุรษผูมตวอันความรอน ่ ุ ้ ุ  ี ั แผดเผา เหน็ดเหนือย หิว ระหาย มุงมาสูหลุมคูถนันแหละ ่   ้ โดยมรรคาสายเดียว บุรุษผูมีจักษุเห็นเขาแลว พึงกลาว อยางนี้วา “บุรุษผูเจริญนี้ ปฏิบัติอยางนั้น ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น จักมาถึงหลุมคูถนี้ทีเดียว” โดยสมัย ตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น พึงเห็นเขาตกลงในหลุมคูถนั้น เสวยทุกขเวทนาอันแรงกลา เผ็ดรอน แมฉันใด. สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน ้  ้ ้ ั ิ ้ ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย เพราะกายแตก จักเขาถึงกําเนิดเดรัจฉาน โดยสมัยตอมา เรายอมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก เขาถึงแลวซึงกําเนิดเดรัจฉาน เสวยทุกขเวทนาอันแรงกลา ่ เผ็ดรอน ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย. สารีบุตร ! เปรียบเหมือนตนไมเกิดในพื้นที่อัน ไมเสมอ มีใบออนและใบแกอันเบาบาง มีเงาอันโปรง ลําดับนั้น บุรุษผูมีตัวอันความรอนแผดเผา เหน็ดเหนือย ่
  • 56. ๓๖ พุ ท ธ ว จ น หิว ระหาย มุงมาสูตนไมนั้นแหละ โดยมรรคาสายเดียว บุรษผูมจกษุเห็นเขาแลว พึงกลาวอยางนีวา “บุรษผูเจริญนี้ ุ  ีั ้ ุ  ปฏิ บั ติ อ ย า งนั้ น ดํ า เนิ น อย า งนั้ น และขึ้ น สู ห นทางนั้ น จักมาถึงตนไมนี้ทีเดียว” โดยสมัยตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น พึงเห็นเขานั่งหรือนอนในเงาตนไมนั้น เสวยทุกขเวทนา เปนอันมาก แมฉันใด. สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน ้  ้ ้ ั ิ ้ ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย เพราะกายแตก จักเขาถึงเปรตวิสัย โดยสมัยตอมา เรายอมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก เขาถึงแลวซึ่งเปรตวิสัย เสวยทุกขเวทนาเปนอันมาก ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย. สารีบุตร ! เปรียบเหมือนตนไมเกิดในพื้นที่อัน เสมอ มีใบออนและใบแกอนหนา มีเงาหนาทึบ ลําดับนัน ั ้ บุรษผูมตวอันความรอนแผดเผา เหน็ดเหนือย หิว ระหาย ุ  ี ั ่ มุงมาสูตนไมนั้นแหละ โดยมรรคาสายเดียว บุรษผูมจกษุ ุ  ีั เห็นเขาแลว พึงกลาวอยางนีวา “บุรษผูเ จริญนี้ ปฏิบตอยางนัน ้ ุ ัิ ้
  • 57. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๗ ดําเนินอยางนัน และขึนสูหนทางนี้ จักมาถึงตนไมนทเดียว” ้ ้  ้ี ี โดยสมัยตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น พึงเห็นเขานั่งหรือนอน ในเงาตนไมนั้น เสวยสุขเวทนาเปนอันมาก แมฉันใด. สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน ้  ้ ้ ั ิ ้ ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย เพราะกายแตก จักบังเกิดในหมูมนุษย โดยสมัยตอมา เรายอมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก บังเกิดแลวในหมูมนุษย เสวยสุขเวทนาเปนอันมาก ดวย ทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย. สารีบตร ! เปรียบเหมือนปราสาท ในปราสาทนัน ุ ้ มีเรือนยอด ซึ่งฉาบทาแลว ทั้งภายในและภายนอก หาชองลมมิได มีวงกรอบอันสนิท มีบานประตู และ หนาตางอันปดสนิทดี ในเรือนยอดนัน มีบลลังกอนลาด ้ ั ั ดวยผาโกเชาวขนยาว ลาดดวยเครืองลาดทําดวยขนแกะ ่ สีขาว ลาดดวยขนเจียมเปนแผนทึบ มีเครืองลาดอยางดี ่ ทําดวยหนังชะมด มีเพดานกันในเบืองบน มีหมอนแดง ้ ้ วาง ณ ขางทั้งสอง ลําดับนั้น บุรุษผูมีตัวอันความรอน
  • 58. ๓๘ พุ ท ธ ว จ น แผดเผา เหน็ดเหนือย หิว ระหาย มุงมาสูปราสาทนันแหละ ่   ้ โดยมรรคาสายเดียว บุรุษผูมีจักษุเห็นเขาแลว พึงกลาว อยางนี้วา “บุรุษผูเจริญนี้ ปฏิบัติอยางนั้น ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น จักมาถึงปราสาทนี้ทีเดียว” โดยสมัย ตอมา บุรุษผูมีจักษุนั้น พึงเห็นเขานั่งหรือนอนบนบัลลังก ในเรือนยอด ณ ปราสาทนั้น เสวยสุขเวทนาโดยสวนเดียว แมฉันใด. สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน ้  ้ ้ ั ิ ้ ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น เบื้องหนาแตตาย เพราะกายแตก จักเขาถึงสุคติโลกสวรรค โดยสมัยตอมา เรายอมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก เขาถึงแลวซึงสุคติโลกสวรรค เสวยสุขเวทนาโดยสวนเดียว ่ ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุของมนุษย. สารีบตร ! เปรียบเหมือนสระโบกขรณี มีนาอันเย็น ุ ํ้ ใสสะอาด มีทาอันดี นารืนรมย และในทีไมไกลสระโบกขรณีนน  ่ ่ ้ั มีแนวปาอันทึบ ลําดับนัน บุรษผูมตวอันความรอนแผดเผา ้ ุ  ีั เหน็ดเหนื่อย หิว ระหาย มุงมาสูสระโบกขรณีนั้นแหละ
  • 59. ฉบับ ๑๑ ภพภูมิ ๓๙ โดยมรรคาสายเดียว บุรุษผูมีจักษุเห็นเขาแลว พึงกลาว อยางนี้วา “บุรุษผูเจริญนี้ ปฏิบัติอยางนั้น ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น จักมาถึงสระโบกขรณีนี้ทีเดียว” โดย สมัยตอมา บุรษผูมจกษุนน พึงเห็นเขาลงสูสระโบกขรณีนน ุ  ี ั ้ั  ้ั อาบและดืม ระงับความกระวนกระวาย ความเหน็ดเหนือย ่ ่ และความรอนหมดแลว ขึ้นไปนั่งหรือนอนในแนวปานั้น เสวยสุขเวทนาโดยสวนเดียว แมฉันใด. สารีบุตร ! เรายอมกําหนดรูใจบุคคลบางคนใน โลกนีดวยใจฉันนันเหมือนกันวา บุคคลนีปฏิบตอยางนัน ้  ้ ้ ั ิ ้ ดําเนินอยางนั้น และขึ้นสูหนทางนั้น จักกระทําใหแจง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได เพราะ อาสวะทั้งหลายสิ้นไป ดวยปญญาอันยิ่งเองในปจจุบัน เขาถึงอยู โดยสมัยตอมา เรายอมเห็นบุรุษนั้น กระทํา ให แ จ ง ซึ่ ง เจโตวิ มุ ต ติ ป ญ ญาวิ มุ ต ติ อั น หาอาสวะมิ ไ ด เพราะอาสวะทังหลายสินไป ดวยปญญาอันยิงเองในปจจุบน ้ ้ ่ ั เขาถึงแลวแลอยู เสวยสุขเวทนาโดยสวนเดียว. มู. ม. ๑๒/๑๔๗-๑๕๓/๑๗๐-๑๗๖.
  • 60.