SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 28
สภาพแวดล้อ มของธุร กิจ ไทย
ในปัจ จุบ ัน
   การแข่งขันที่รุนแรง การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม
    ขององค์กรเพื่อเพิมมูลค่าให้มากที่สุดและกระตุ้นให้
                     ่
    ประสบความสำาเร็จอย่างรวดเร็ว
   ความต้องการข้อมูลในการวางแผนและกำากับติดตาม
    ประเมินผล สารสนเทศกลายเป็นทรัพยากรที่สำาคัญ
    ที่สุดขององค์กร

   โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
    สือสาร ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น
      ่
ทำาไมธุรกิจไทยจึงต้องใช้
               ERP ???
 สร้างมาตรฐานและความสมบูรณ์ของ
  ข้อมูลที่จัดเก็บ
 ปรับปรุงกระบวนการทำางานให้มีความ
  เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
 สร้างมาตรฐานให้กับกระบวนการปฏิบัติ
  งานและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำางาน
 เชื่อมโยงสารสนเทศในทุกส่วนงาน
 เพิ่มสารสนเทศและการเข้าถึงผู้ขายและ
  ลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น
มายของ Erp (Enterprise Resource Planni
          Erp ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning
   ถ้าแปลตรงตัวคือ การวางแผนทรัพยากร  ทางธุรกิจของ
   องค์กรโดยรวม หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การบริหารเพื่อให้
   เกิดการใช้ประโยชน์อย่างสุงสุด  ของทรัพยากรทางธุรกิจ
   ขององค์กร ระบบ ERP เป็นระบบสารสนเทศ ที่องค์กร
   สามารถนำาแนวคิดและวิธีการ  บริหารของ ERPมาทำาให้
   เกิดเป็นระบบเชิงปฏิบัติในองค์กร กล่าวคือ ระบบ ERP
   เป็นระบบสารสนเทศ  ในองค์กรที่สามารถบูรณาการ
   (Integrate) รวมงานลัก (Core Bussiness Process)
   ต่าง ๆ  ในบริษัททั้งหมด ได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้าง การ
   ผลิต การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคลเข้าด้วยกัน
What is ERP?
      ERP คืออะไร
 ระบบวางแผนทรัพยากรองค์การ
 (ERP: Enterprise Resource
 Planning)
 เป็นการบูรณาการซอฟต์แวร์ของ
 ทุกหน่วยงานและส่วนงานใน
 องค์กรเข้าด้วยกันเพื่อสนองตอบ
 การใช้งานทั่วทั้งองค์กร
         สภาพธุรกิจที่มขนาดใหญ่และมีการขยายตัวอย่างต่อ
                         ี
บทบาทของ าERP การเชื่อมโยงของกิจกรรม  สร้าง
  เนือง เป็นผลทำ ให้เกิด
     ่
                             คือ อะไร
  มูลค่าให้กับลูกค้า ของแผนกต่างๆทีเกี่ยวข้อง ยาวและซับ
                                       ่
  ซ้อนขึ้น และเมือความเชื่อมโยงของกิจกรรม  ต่างๆขยาย
                    ่
  ใหญ่และซับซ้อนขึ้น ถ้าไม่มระบบข้อมูลในการจัดการทีดี
                                 ี                       ่
  โอกาสที่จะเกิดปัญหาในการ  รับรู้สภาพการเชื่อมโยงของ
  กิจกรรมย่อมทำาได้ยาก และผลทีตามมาคือ ข้อมูลมากแต่
                                     ่
  ไม่รู้ว่าข้อมูลอันไหน  ทีเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจทีจะ
                             ่                         ่
  ลงทุนและบริหารทรัพยากรให้มประสิทธิภาพได้ ดังนั้น
                                   ี
  ERP ก็คือ  เครื่องมือทีนำามาใช้ในการบริหารธุรกิจเพือแก้
                           ่                         ่
  ปัญหาต่างๆ ในเชิงบริหารที่เกิดขึ้นดังกล่าวอีกทังจะช่วย
                                                 ้
  ให้  สามารถวางแผนการลงทุนและบริหารทรัพยากรของ
  องค์กรโดยรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ   
ะโยชน์ใ นการนำา ERP มาใช้
  - เกิดการปฏิรูปการทำางาน
  - การเพิ่มประสิทธิภาพและความเหมาะสมให้กับ
  กระบวนการทางธุรกิจ
  - การทำาให้การบริหารงานได้รวดเร็ว ไวต่อเหตุการณ์
  - การลดลงของค่าใช้จ่ายโดยรวมขององค์กร - เกิดการ
  ปฏิรูปการบริหารธุรกิจ
  - ความสามารถในการรับรู้สภาพการณ์โดยรวมของการ
  บริหารได้แบบเรียลไทม์
  - ความสามารถในการปรับเปลี่ยนเพือให้องค์กรโดยรวม
                                  ่
  มีประสิทธิภาพสูงสุด
- ความสามารถในการตัดสินใจได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์

- เกิดการปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์กร
- การเป็นตัวเองและความกระตือรือร้นของพนักงาน
- การใช้ความสามารถของพนักงานให้เกิดผลสำาเร็จ
- การใช้ความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานในการบริหาร
องค์กรให้เกิดผลสำาเร็จ
          การนำา ERP มาใช้นน  จะต้องเริ่มจากการ
                                 ั้
  การนำา   ERP  มาใช้ และการเชือ มโยงไปสู่
                                     ่
ปฏิรูปจิตสำานึกให้เห็นความจำาเป็นของการปฏิรูปองค์กร 
  กิจ กรรมการปฏิร ูป องค์ก ร
และเมือจิตสำานึกดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในองค์กร การนำาเอา
        ่
ERP มาใช้กจะเป็นขั้นตอนของการทำาให้เกิดกิจกรรมการ
             ็
ปฏิรูปองค์กร
ซึ่งก็คือการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของ
องค์กรในด้านต่างๆ คือ
(1) ความสามารถในการรับรู้สภาพการณ์โดยรวมของการ
บริหารได้แบบเรียลไทม์
(2) ความสามารถในการปรับเปลี่ยนเพือให้องค์กรโดยรวม
                                       ่
มีประสิทธิภาพสูงสุด
(3) ความสามารถในการตัดสินใจให้รวดเร็วทันต่อ
เหตุการณ์
5 ขั้น ตอนของการนำา
  ERP มาใช้
การนำา ERP มาใช้นน มีความจำาเป็นที่จะต้องแบ่ง
                  ั้
ออกเป็น 5 ขั้นตอนใหญ่
(1) ขั้นตอนการวางแนวคิด
(2) ขั้นตอนการวางแผน
(3) ขั้นตอนการพัฒนา
(4) ขั้นตอนการใช้งานจริงและทำาให้คนเคย
                                   ุ้
(5) ขั้นตอนพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
Consideration of ERP
                    Change Culture
             Cost
                     Organization
Technology                      Human
                               Resource

Technical      ERP              Project
                              Management

                           Change
    Strategy
                BRP      Management
สรุป
            ERP เป็นทั้งแนวความคิดในการบริหาร 
ระบบสารสนเทศ และโปรแกรมสำาเร็จรูป เพื่อ
วางแผนและจัดการทรัพยากรให้เกิดประโยชน์
สูงสุดทั่วทั้งบริษัท   โดยการเชื่อมโยงกระบวนการ
ทางธุรกิจไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดซื้อ การผลิต การ
ขาย  ลอจิสติกส์ บัญชี  การเงินและงานบุคคล 
เป็นต้น  เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบเพื่อมุ่งไปสูผล
                                              ่
กำาไรสูงสุดของบริษัท
ERP Package
      คือ อะไร ?
ERP Package : เป็น Application
Software Package ซึ่ง ผลิต และจำา หน่า ยโดย
บริษ ัท ผู้จ ำา หน่า ย
  จุด เด่น ของ ERP Package
1. เป็น Application Software ทีร วบรวมงาน
                                  ่
   หลัก อัน เป็น พืน ฐานของการสร้า งระบบ ERP
                   ้
   ขององค์ก ร
2. สามารถเสนอ Business scenario และ
   Business Process ซึ่ง ถูก สร้า งเป็น Pattern
   ไว้ไ ด้
3. สามารถจัด ทำา และเสนอรูป แบบ Business
โครงสร้า งของ ERP Package
  1. Business Application Software
     Module
     : มี Module ทำา หน้า ที่ใ นงานหลัก ของ
     องค์ก ร

  2.     ฐานข้อ มูล รวม ( Integrated
       database )
       : Share ฐานข้อ มูล ชนิด Relational
       database ( RDBMS )

  3. System Administration Utility
     : Utility กำา หนดการใช้ง านต่า ง ๆ
โครงสร้า งของ ERP Package
Function ของ ERP Package
1. ระบบบัญ ชี
   - บัญGeneral, Account Receivable, Account Pa
         ชีก ารเงิน
   - บัญBudget Control, Cost Control, Profit Con
         ชีก ารบริก าร
2. ระบบการผลิต
   - ควบคุม การผลิControl, Equipment Control
            Quality ต
                 Raw Material, Stocktaking
   - ควบคุม การคงคลัง
   - Technical Information Control, Parts Structur
      การออกแบบ
   - การจัด ซือ้
        Outsourcing/Purchasing, Procurement
            Budget, Planning, Project Control
   - ควบคุม โครงการ
         Shipment Control, Marketing, Sale Agree
3. ระบบริห ารการขาย
         Warehouse management, Logistics Supp
4. Logistics
5. ระบบบำา รุง รัก ษา Management, Maintenance C
         Equipment
6. ระบบบริห ารบุค คลManagement, Labor Managem
          Personnel
ชนิด ของ ERP Package
1. ERP ที่ใ ช้ก ับ ธุร กิจ หรือ เฉพาะทาง
   ธุร กิจ
   การผลิต การขาย Logistics สำา หรับ
   อุต สาหกรรมเคมี อุต สาหกรรมกระดาษ
   อุต สาหกรรมยา เป็น ต้น
2. ERP สำา หรับ ธุร กิจ ขนาดใหญ่ห รือ
   สำา หรับ Oracle
        -   SMEs
         package ทีอ อกแบบโดยเน้น สำา หรับ
                   ่
   ERPApplication/Oracle
   การใช้ง านในธุรSoft
        -   People กิจ ขนาดกลางและขนาด
   ย่อ มโดยเฉพาะ ออกมาจำา หน่า ยมากขึ้น เช่น
        -   SAP
        -   CONTROL
        -   IFS Application
        - MFG/PRO
ชน์ท ี่ไ ด้จ ากการนำา ระบบ ERP มาใช้ใ
กระบวนการทางธุร กิจ ที่เ ป็น มาตรฐาน

ประสานงานระบบการทำา งานภายในองค์ก รเข้า ไว้ด

ฒนาระบบ Supply Chain Management ในเรื่อ งข
Communication และ E-Commerce

ดการข้อ มูล ที่ม ีป ระสิท ธิภ าพ

นาประสิท ธิภ าพการทำา งานขององค์ก ร
ปสรรคของการนำา ERP มาใช้ใ นองค์ก
     1. ขาดการสนับ สนุน จากผู้
        บริห าร

     2. การบริห ารโครงการที่ข าด
        ประสิท ธิภ าพ

     3. การเลือ กใช้ ERP Package ที่
        ไม่เ หมาะสมกับ องค์ก ร

     4. การติด ต่อ สือ สารที่ข าด
                     ่
        ประสิท ธิภ าพ
บรรณานุก รม
ERP-เผยวิธีทำาจริง = ERP-Revealing the actual implementation process / ปรีชา พันธุมสินชัย,
   อุทัย ตันละมัย, กรุงเทพฯ : TLAPS : สมาคมไทยโลจิสติกส์และการผลิต, 2547.

วิชย ไชยมี.
   ั
     ชือเรื่อง การบริหารการผลิตและควบคุมสินค้าคงคลัง โดยใชัระบบ ERP (Enterprise Resources
       ่
     Planning) / วิชัย ไชยมี.
     พิมพลักษณ์ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2547

อีลีดเดอร์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 12 ( ธ.ค. 2546 ) หน้า 92-95. ปราณี ชะวรรณ์.
     ชือบทความ เมื่อคิดจะใช้ ERP ต้องคำานึงถึงสิ่งใดบ้าง...อันมีผลต่อความสำาเร็จ .ปีที่พิมพ์ 2546.
       ่

การบริหารทรัพยากรขององค์กร (Enterprise-Resource Planning-ERP) กับการบริหารความเสี่ยง /
   เมธา สุวรรณสาร.
   ปีที่พิมพ์ 2545.วารสารนักบัญชี ปีที่ 48 ฉบับที่ 3 ( เม.ย.-ก.ค. 2545 ) หน้า 103-110.

ประโยชน์และอุปสรรคของ ERP ภายในองค์กร / ตรีทศ เหล่าศิริหงษ์ทอง และมุนนทร์ ลพบุรี.
                                                                           ิ
   ปีที่พิมพ์ 2548. ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 32 ฉบับที่ 180 ( เม.ย.-พ.ค. 2548 ) หน้า 109-114.

มาเตรียมพร้อมเทคโนโลยี...เพื่อใช้ ERP กันเถอะ / ปราณี ชะวรรณ์.
    ปีที่พิมพ์ 2547. อีลีดเดอร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 ( ก.พ.2547 ) หน้า 96-98.

http://www.sirikitdam.egat.com/sara/ERP/ERP2_meaning.doc
http://www.eweekthailand.com/article.php?bml=0840425703
http://www.m-focus.co.th/FAQ_TH.asp
http://www.Thaisap.com
http://www.tpa.or.th/erp/
http://www.citecclub.org/kb/index.php?page=index_v2&id=57&c=15
http://www.chozamsoftware.com/software/business/businessproc/erp/erp_software.
OpenERP (www.openERP.com)
https://erpeducation.my.openerp.com/
OpenERP:Dashboards
OpenERP:HumenResource
OpenERP:Employee
OpenERP : Financial
OpenERP : Product
OpenERP : ProjectDashboards
OpenERP : ProjectManagement

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Erp present

Business, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for accBusiness, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for accMayuree Srikulwong
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศsiriyapa
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 

Ähnlich wie Erp present (20)

Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
E R P4 Manager
E R P4 ManagerE R P4 Manager
E R P4 Manager
 
Sap System
Sap SystemSap System
Sap System
 
Chapter 3 benefits of erp
Chapter 3 benefits of erpChapter 3 benefits of erp
Chapter 3 benefits of erp
 
E R P7 How
E R P7 HowE R P7 How
E R P7 How
 
Business, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for accBusiness, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for acc
 
E R P2 Meaning
E R P2 MeaningE R P2 Meaning
E R P2 Meaning
 
E R P6 Success
E R P6 SuccessE R P6 Success
E R P6 Success
 
ERP
ERPERP
ERP
 
การคัดเลือก ERP
การคัดเลือก ERPการคัดเลือก ERP
การคัดเลือก ERP
 
Erp selection guide
Erp selection guideErp selection guide
Erp selection guide
 
Gor7
Gor7Gor7
Gor7
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
E R P5 Using
E R P5 UsingE R P5 Using
E R P5 Using
 
E R P8 Future
E R P8 FutureE R P8 Future
E R P8 Future
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 

Erp present

  • 1.
  • 2. สภาพแวดล้อ มของธุร กิจ ไทย ในปัจ จุบ ัน  การแข่งขันที่รุนแรง การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ขององค์กรเพื่อเพิมมูลค่าให้มากที่สุดและกระตุ้นให้ ่ ประสบความสำาเร็จอย่างรวดเร็ว  ความต้องการข้อมูลในการวางแผนและกำากับติดตาม ประเมินผล สารสนเทศกลายเป็นทรัพยากรที่สำาคัญ ที่สุดขององค์กร  โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือสาร ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น ่
  • 3. ทำาไมธุรกิจไทยจึงต้องใช้ ERP ???  สร้างมาตรฐานและความสมบูรณ์ของ ข้อมูลที่จัดเก็บ  ปรับปรุงกระบวนการทำางานให้มีความ เหมาะสมมากยิ่งขึ้น  สร้างมาตรฐานให้กับกระบวนการปฏิบัติ งานและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำางาน  เชื่อมโยงสารสนเทศในทุกส่วนงาน  เพิ่มสารสนเทศและการเข้าถึงผู้ขายและ ลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น
  • 4. มายของ Erp (Enterprise Resource Planni Erp ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning ถ้าแปลตรงตัวคือ การวางแผนทรัพยากร  ทางธุรกิจของ องค์กรโดยรวม หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การบริหารเพื่อให้ เกิดการใช้ประโยชน์อย่างสุงสุด  ของทรัพยากรทางธุรกิจ ขององค์กร ระบบ ERP เป็นระบบสารสนเทศ ที่องค์กร สามารถนำาแนวคิดและวิธีการ  บริหารของ ERPมาทำาให้ เกิดเป็นระบบเชิงปฏิบัติในองค์กร กล่าวคือ ระบบ ERP เป็นระบบสารสนเทศ  ในองค์กรที่สามารถบูรณาการ (Integrate) รวมงานลัก (Core Bussiness Process) ต่าง ๆ  ในบริษัททั้งหมด ได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้าง การ ผลิต การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคลเข้าด้วยกัน
  • 5. What is ERP? ERP คืออะไร  ระบบวางแผนทรัพยากรองค์การ (ERP: Enterprise Resource Planning) เป็นการบูรณาการซอฟต์แวร์ของ ทุกหน่วยงานและส่วนงานใน องค์กรเข้าด้วยกันเพื่อสนองตอบ การใช้งานทั่วทั้งองค์กร
  • 6.    สภาพธุรกิจที่มขนาดใหญ่และมีการขยายตัวอย่างต่อ ี บทบาทของ าERP การเชื่อมโยงของกิจกรรม  สร้าง เนือง เป็นผลทำ ให้เกิด ่ คือ อะไร มูลค่าให้กับลูกค้า ของแผนกต่างๆทีเกี่ยวข้อง ยาวและซับ ่ ซ้อนขึ้น และเมือความเชื่อมโยงของกิจกรรม  ต่างๆขยาย ่ ใหญ่และซับซ้อนขึ้น ถ้าไม่มระบบข้อมูลในการจัดการทีดี ี ่ โอกาสที่จะเกิดปัญหาในการ  รับรู้สภาพการเชื่อมโยงของ กิจกรรมย่อมทำาได้ยาก และผลทีตามมาคือ ข้อมูลมากแต่ ่ ไม่รู้ว่าข้อมูลอันไหน  ทีเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจทีจะ ่ ่ ลงทุนและบริหารทรัพยากรให้มประสิทธิภาพได้ ดังนั้น ี ERP ก็คือ  เครื่องมือทีนำามาใช้ในการบริหารธุรกิจเพือแก้ ่ ่ ปัญหาต่างๆ ในเชิงบริหารที่เกิดขึ้นดังกล่าวอีกทังจะช่วย ้ ให้  สามารถวางแผนการลงทุนและบริหารทรัพยากรของ องค์กรโดยรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ   
  • 7. ะโยชน์ใ นการนำา ERP มาใช้ - เกิดการปฏิรูปการทำางาน - การเพิ่มประสิทธิภาพและความเหมาะสมให้กับ กระบวนการทางธุรกิจ - การทำาให้การบริหารงานได้รวดเร็ว ไวต่อเหตุการณ์ - การลดลงของค่าใช้จ่ายโดยรวมขององค์กร - เกิดการ ปฏิรูปการบริหารธุรกิจ - ความสามารถในการรับรู้สภาพการณ์โดยรวมของการ บริหารได้แบบเรียลไทม์ - ความสามารถในการปรับเปลี่ยนเพือให้องค์กรโดยรวม ่ มีประสิทธิภาพสูงสุด
  • 8. - ความสามารถในการตัดสินใจได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ - เกิดการปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์กร - การเป็นตัวเองและความกระตือรือร้นของพนักงาน - การใช้ความสามารถของพนักงานให้เกิดผลสำาเร็จ - การใช้ความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานในการบริหาร องค์กรให้เกิดผลสำาเร็จ
  • 9.           การนำา ERP มาใช้นน  จะต้องเริ่มจากการ ั้ การนำา   ERP  มาใช้ และการเชือ มโยงไปสู่ ่ ปฏิรูปจิตสำานึกให้เห็นความจำาเป็นของการปฏิรูปองค์กร  กิจ กรรมการปฏิร ูป องค์ก ร และเมือจิตสำานึกดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในองค์กร การนำาเอา ่ ERP มาใช้กจะเป็นขั้นตอนของการทำาให้เกิดกิจกรรมการ ็ ปฏิรูปองค์กร ซึ่งก็คือการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของ องค์กรในด้านต่างๆ คือ (1) ความสามารถในการรับรู้สภาพการณ์โดยรวมของการ บริหารได้แบบเรียลไทม์ (2) ความสามารถในการปรับเปลี่ยนเพือให้องค์กรโดยรวม ่ มีประสิทธิภาพสูงสุด (3) ความสามารถในการตัดสินใจให้รวดเร็วทันต่อ เหตุการณ์
  • 10. 5 ขั้น ตอนของการนำา ERP มาใช้ การนำา ERP มาใช้นน มีความจำาเป็นที่จะต้องแบ่ง ั้ ออกเป็น 5 ขั้นตอนใหญ่ (1) ขั้นตอนการวางแนวคิด (2) ขั้นตอนการวางแผน (3) ขั้นตอนการพัฒนา (4) ขั้นตอนการใช้งานจริงและทำาให้คนเคย ุ้ (5) ขั้นตอนพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
  • 11. Consideration of ERP Change Culture Cost Organization Technology Human Resource Technical ERP Project Management Change Strategy BRP Management
  • 12. สรุป             ERP เป็นทั้งแนวความคิดในการบริหาร  ระบบสารสนเทศ และโปรแกรมสำาเร็จรูป เพื่อ วางแผนและจัดการทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ สูงสุดทั่วทั้งบริษัท   โดยการเชื่อมโยงกระบวนการ ทางธุรกิจไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดซื้อ การผลิต การ ขาย  ลอจิสติกส์ บัญชี  การเงินและงานบุคคล  เป็นต้น  เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบเพื่อมุ่งไปสูผล ่ กำาไรสูงสุดของบริษัท
  • 13. ERP Package คือ อะไร ? ERP Package : เป็น Application Software Package ซึ่ง ผลิต และจำา หน่า ยโดย บริษ ัท ผู้จ ำา หน่า ย จุด เด่น ของ ERP Package 1. เป็น Application Software ทีร วบรวมงาน ่ หลัก อัน เป็น พืน ฐานของการสร้า งระบบ ERP ้ ขององค์ก ร 2. สามารถเสนอ Business scenario และ Business Process ซึ่ง ถูก สร้า งเป็น Pattern ไว้ไ ด้ 3. สามารถจัด ทำา และเสนอรูป แบบ Business
  • 14. โครงสร้า งของ ERP Package 1. Business Application Software Module : มี Module ทำา หน้า ที่ใ นงานหลัก ของ องค์ก ร 2. ฐานข้อ มูล รวม ( Integrated database ) : Share ฐานข้อ มูล ชนิด Relational database ( RDBMS ) 3. System Administration Utility : Utility กำา หนดการใช้ง านต่า ง ๆ
  • 16. Function ของ ERP Package 1. ระบบบัญ ชี - บัญGeneral, Account Receivable, Account Pa ชีก ารเงิน - บัญBudget Control, Cost Control, Profit Con ชีก ารบริก าร 2. ระบบการผลิต - ควบคุม การผลิControl, Equipment Control Quality ต Raw Material, Stocktaking - ควบคุม การคงคลัง - Technical Information Control, Parts Structur การออกแบบ - การจัด ซือ้ Outsourcing/Purchasing, Procurement Budget, Planning, Project Control - ควบคุม โครงการ Shipment Control, Marketing, Sale Agree 3. ระบบริห ารการขาย Warehouse management, Logistics Supp 4. Logistics 5. ระบบบำา รุง รัก ษา Management, Maintenance C Equipment 6. ระบบบริห ารบุค คลManagement, Labor Managem Personnel
  • 17. ชนิด ของ ERP Package 1. ERP ที่ใ ช้ก ับ ธุร กิจ หรือ เฉพาะทาง ธุร กิจ การผลิต การขาย Logistics สำา หรับ อุต สาหกรรมเคมี อุต สาหกรรมกระดาษ อุต สาหกรรมยา เป็น ต้น 2. ERP สำา หรับ ธุร กิจ ขนาดใหญ่ห รือ สำา หรับ Oracle - SMEs package ทีอ อกแบบโดยเน้น สำา หรับ ่ ERPApplication/Oracle การใช้ง านในธุรSoft - People กิจ ขนาดกลางและขนาด ย่อ มโดยเฉพาะ ออกมาจำา หน่า ยมากขึ้น เช่น - SAP - CONTROL - IFS Application - MFG/PRO
  • 18. ชน์ท ี่ไ ด้จ ากการนำา ระบบ ERP มาใช้ใ กระบวนการทางธุร กิจ ที่เ ป็น มาตรฐาน ประสานงานระบบการทำา งานภายในองค์ก รเข้า ไว้ด ฒนาระบบ Supply Chain Management ในเรื่อ งข Communication และ E-Commerce ดการข้อ มูล ที่ม ีป ระสิท ธิภ าพ นาประสิท ธิภ าพการทำา งานขององค์ก ร
  • 19. ปสรรคของการนำา ERP มาใช้ใ นองค์ก 1. ขาดการสนับ สนุน จากผู้ บริห าร 2. การบริห ารโครงการที่ข าด ประสิท ธิภ าพ 3. การเลือ กใช้ ERP Package ที่ ไม่เ หมาะสมกับ องค์ก ร 4. การติด ต่อ สือ สารที่ข าด ่ ประสิท ธิภ าพ
  • 20. บรรณานุก รม ERP-เผยวิธีทำาจริง = ERP-Revealing the actual implementation process / ปรีชา พันธุมสินชัย, อุทัย ตันละมัย, กรุงเทพฯ : TLAPS : สมาคมไทยโลจิสติกส์และการผลิต, 2547. วิชย ไชยมี. ั ชือเรื่อง การบริหารการผลิตและควบคุมสินค้าคงคลัง โดยใชัระบบ ERP (Enterprise Resources ่ Planning) / วิชัย ไชยมี. พิมพลักษณ์ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2547 อีลีดเดอร์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 12 ( ธ.ค. 2546 ) หน้า 92-95. ปราณี ชะวรรณ์. ชือบทความ เมื่อคิดจะใช้ ERP ต้องคำานึงถึงสิ่งใดบ้าง...อันมีผลต่อความสำาเร็จ .ปีที่พิมพ์ 2546. ่ การบริหารทรัพยากรขององค์กร (Enterprise-Resource Planning-ERP) กับการบริหารความเสี่ยง / เมธา สุวรรณสาร. ปีที่พิมพ์ 2545.วารสารนักบัญชี ปีที่ 48 ฉบับที่ 3 ( เม.ย.-ก.ค. 2545 ) หน้า 103-110. ประโยชน์และอุปสรรคของ ERP ภายในองค์กร / ตรีทศ เหล่าศิริหงษ์ทอง และมุนนทร์ ลพบุรี. ิ ปีที่พิมพ์ 2548. ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 32 ฉบับที่ 180 ( เม.ย.-พ.ค. 2548 ) หน้า 109-114. มาเตรียมพร้อมเทคโนโลยี...เพื่อใช้ ERP กันเถอะ / ปราณี ชะวรรณ์. ปีที่พิมพ์ 2547. อีลีดเดอร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 ( ก.พ.2547 ) หน้า 96-98. http://www.sirikitdam.egat.com/sara/ERP/ERP2_meaning.doc http://www.eweekthailand.com/article.php?bml=0840425703 http://www.m-focus.co.th/FAQ_TH.asp http://www.Thaisap.com http://www.tpa.or.th/erp/ http://www.citecclub.org/kb/index.php?page=index_v2&id=57&c=15 http://www.chozamsoftware.com/software/business/businessproc/erp/erp_software.

Hinweis der Redaktion

  1. An ERP system integrates all the business units with a single system using current client/server technology that will allow the phasing out of out-dated systems and hardware. The integration of the company will give all departments access to the same information at the same time cutting down on paperwork while increasing productivity in the office. Integration of production will assure us that all of our production units are using the same system and production procedures. Having real time access to all of our customer records and orders will allow us to tell them exactly where their order is and when it will be shipped.
  2. ERP seeks to integrate the entire company on to a single, common system. ERP is able to automate and cut down paperwork for a variety of business practices. It is able to keep track of and schedule payments for accounts receivable and payable. Bookkeeping functions are also able to track assets, centralize general ledger data and analyze cost control to bring down overhead costs. Human resource modules are able to keep track of employee payroll as well as keep track of employee records such as vacation and sick days, employee expenses, and training schedules. Production and planning modules are able to receive and track customer orders, plan production schedules, ship products, and manage company inventories.