SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การนับศักราช
1. การนับปีศักราชแบบสากล
1) คริสต์ศักราช หรือ ค.ศ. โดยใช้เหตุการณ์
สาคัญทางคริสต์ศาสนาเป็นจุดเริ่มต้น เริ่ม
นับตั้งแต่ปีที่พระเยซูประสูติเป็นปี ค.ศ. 1
สาหรับช่วงเวลาก่อนพระเยซูประสูติให้เรียกเป็น
ก่อนคริสต์ศักราช
(ก่อน ค.ศ. หรือ B.C = Before Christ)
2) ฮิจเราะห์ศักราช หรือ ฮ.ศ. ฮิจเราะห์มาจากภาษาอาหรับ
แปลว่า การอพยพ เป็นการนับศักราชในประเทศที่มีการ
นับถือศาสนาอิสลามโดยเริ่มนับ ฮ.ศ. 1 เมื่อท่านนบีมูฮัม
หมัดนาเหล่าสาวกอพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองเมดินา
ตรงกับพุทธศักราช 1165 หากจะเทียบ ปีฮิจเราะห์ศักราช
เป็นปีพุทธศักราช จะต้องบวกด้วย 1122 เพราะการเทียบ
รอบปีของฮิจเราะห์ศักราชและพุทธศักราช จะมีความ
คลาดเคลือนทุก ๆ 32 ปีครึ่งของฮิจเราะห์ศักราชจะเพิ่มขึ้น
่
อีก 1 ปี เมือเทียบกับพุทธศักราช
่
2. การนับศักราชแบบไทย
1) พุทธศักราช (พ.ศ.) เป็นศักราชที่นิยมใช้ในประเทศ
ที่นับถือพระพุทธศาสนา มีการใช้กันมาตั้งแต่สมัย
อยุธยา และใช้กันอย่างเป็นทางการของประเทศไทย
ครั้งแรกใน พ.ศ. 2455 แทนรัตนโกสินทร์ศก ในสมัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา
จนถึงปัจจุบัน โดยประเทศไทยเริ่มนับ พ.ศ. 1 เมื่อ
พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้วครบ 1 ปี
เป็น พ.ศ. 1
2) มหาศักราช (ม.ศ.) นิยมใช้มากในหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ประเภทศิลาจารึกและพงศาวดาร
ต่าง ๆ ทั้งสมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยาตอนต้น
มหาศักราชถูกตั้งขึ้นโดยพระเจ้า กนิษกะแห่ง
ราชวงศ์กุษาณะ กษัตริย์ผู้ครองอินเดีย โดยเริ่ม
ภายหลังพุทธศักราช 622
(มหาศักราชตรงกับ พ.ศ. 622)
3) จุลศักราช (จ.ศ.) เป็นศักราชที่ได้รับอิทธิพลจาก
พม่า โดยพระมหากษัตริย์ของพุกาม เริ่มใช้นับครั้งแรก
ในพม่า พ.ศ. 1182 และใช้แพร่หลายเข้าสู่อาณาจักร
ล้านนา โดยเริ่มภายหลังพุทธศักราช 1181 ปี ไทยนิยม
ใช้จุลศักราชในการคานวณทางโหราศาสตร์ ใช้บอกปี
ในจารึก ตานาน จดหมายเหตุ พงศาวดาร จนถึงสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรง
ประกาศยกเลิก และมีการใช้รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.)
แทน
4) รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) เป็นศักราชที่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว ทรง
่
กาหนดใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2325 โดยเริ่มนับปีที่
ได้มีการสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีใน
พ.ศ. 2325 เป็น ร.ศ. 1 และได้ประกาศยกเลิกใช้ใน
ต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า
เจ้าอยู่หัว
3. การเทียบศักราช
การเทียบศักราชในระบบต่างๆ สามารถนามา
เปรียบเทียบให้เป็นศักราชแบบเดียวกัน ได้ดังนี้
ม.ศ. + 621 = พ.ศ.
พ.ศ. – 621 = ม.ศ.
จ.ศ. + 1181 = พ.ศ.
พ.ศ. – 1181 = จ.ศ.
ร.ศ. + 2324 = พ.ศ.
พ.ศ. – 2324 = ร.ศ.
ค.ศ. + 543 = พ.ศ.
พ.ศ. – 543 = ค.ศ.
ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ. พ.ศ. – 1122 = ฮ.ศ.
ตัวอย่าง
1.จากพุทธศักราชเปลี่ยนเป็นคริสต์ศักราช ให้นา พ.ศ. ลบ
543 ตัวอย่างเช่น พ.ศ. 2549 เปลี่ยนเป็น ค.ศ. โดยนา 543
มาลบออก ( 2549 – 543 )
ปี ค.ศ. ที่ได้คอ 2006
ื
2.จากคริสต์ศักราชเปลี่ยนเป็นพุทธศักราช ให้นา ค.ศ. บวก
543 ตัวอย่างเช่น ค.ศ. 2004 เปลี่ยนเป็น พ.ศ. โดยนา 543
มาบวก ( 2004 + 543 )
ปี พ.ศ. ที่ได้คือ 2547
3. จากจุลศักราชเปลี่ยนเป็นพุทธศักราช
ให้นา จ.ศ. บวก 1181 ตัวอย่างเช่น จ.ศ. 1130 เปลี่ยนเป็น
พ.ศ. โดยนา 1181 มาบวก (1130+1181)
ปี พ.ศ. ที่ได้คือ 2311

4.จากรัตนโกสินทร์ศกเปลี่ยนเป็นพุทธศักราช
ให้นา ร.ศ. บวก 2324 ตัวอย่างเช่น ร.ศ. 132
เปลี่ยนเป็น พ.ศ. โดยนา 2324 มาบวก (123+2324)
ปี พ.ศ. ที่ได้คือ 2456
การนับทศวรรษ ศตวรรษและสหัสวรรษ
ทศวรรษ คือ การนับระยะเวลาในรอบ 10 ปี
ศตวรรษ คือ การนับระยะเวลาในรอบ 100 ปี
สหัสวรรษ คือ การนับระยะเวลาในรอบ1000 ปี
การบ้าน
1. ปีคริสต์ศักราช 2000 ตรงกับ พุทธศักราช ที่เท่าใด
2. ปีพุทธศักราช 2556 ตรงกับ มหาศักราช ที่เท่าใด
3. หลักศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 ระบุว่าพ่อขุน
รามคาแหงมหาราชทรงปลูกต้นตาลเมื่อมหาศักราช
1214 ถ้าจะทาให้เป็นพุทธศักราชจะต้องทาอย่างไร
การบ้าน
4. สมัยรัชการที่ 5 เกิดเหตุการณ์ ร.ศ.112 เสียดินแดน
ให้ฝรั่งเศสครั้งใหญ่ ต้องการทราบว่าตรงกับปี
พุทธศักราชใด

5. เหตุการณ์ปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ.2475 สมัยรัชกาลที่ 7 ต้องการทราบว่าตรงกับปี
คริสต์ศักราชใด

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Arocha Chaichana
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
Jariya Jaiyot
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
Anissa Aromsawa
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
พัน พัน
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
Coverslide Bio
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
Maruko Supertinger
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 

Was ist angesagt? (20)

งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 

Andere mochten auch

วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วรรณา ไชยศรี
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Pannaray Kaewmarueang
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
timtubtimmm
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
Kruorawan Kongpila
 

Andere mochten auch (20)

ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pageตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
 
การใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ที่ปรากฎในสิ่งต่างๆ +564+dltvp4+54his p04 f0...
การใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ที่ปรากฎในสิ่งต่างๆ  +564+dltvp4+54his p04 f0...การใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ที่ปรากฎในสิ่งต่างๆ  +564+dltvp4+54his p04 f0...
การใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ที่ปรากฎในสิ่งต่างๆ +564+dltvp4+54his p04 f0...
 
หลักฐานเกี่ยวกับท้องถิ่น+565+54his p04 f13-1page
หลักฐานเกี่ยวกับท้องถิ่น+565+54his p04 f13-1pageหลักฐานเกี่ยวกับท้องถิ่น+565+54his p04 f13-1page
หลักฐานเกี่ยวกับท้องถิ่น+565+54his p04 f13-1page
 
012+hisp6+dltv54+540609+a+ใบความรู้ กาลเวลา (1 หน้า)
012+hisp6+dltv54+540609+a+ใบความรู้ กาลเวลา (1 หน้า)012+hisp6+dltv54+540609+a+ใบความรู้ กาลเวลา (1 หน้า)
012+hisp6+dltv54+540609+a+ใบความรู้ กาลเวลา (1 หน้า)
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pageทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 

ศักราช

  • 2. 1. การนับปีศักราชแบบสากล 1) คริสต์ศักราช หรือ ค.ศ. โดยใช้เหตุการณ์ สาคัญทางคริสต์ศาสนาเป็นจุดเริ่มต้น เริ่ม นับตั้งแต่ปีที่พระเยซูประสูติเป็นปี ค.ศ. 1 สาหรับช่วงเวลาก่อนพระเยซูประสูติให้เรียกเป็น ก่อนคริสต์ศักราช (ก่อน ค.ศ. หรือ B.C = Before Christ)
  • 3. 2) ฮิจเราะห์ศักราช หรือ ฮ.ศ. ฮิจเราะห์มาจากภาษาอาหรับ แปลว่า การอพยพ เป็นการนับศักราชในประเทศที่มีการ นับถือศาสนาอิสลามโดยเริ่มนับ ฮ.ศ. 1 เมื่อท่านนบีมูฮัม หมัดนาเหล่าสาวกอพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองเมดินา ตรงกับพุทธศักราช 1165 หากจะเทียบ ปีฮิจเราะห์ศักราช เป็นปีพุทธศักราช จะต้องบวกด้วย 1122 เพราะการเทียบ รอบปีของฮิจเราะห์ศักราชและพุทธศักราช จะมีความ คลาดเคลือนทุก ๆ 32 ปีครึ่งของฮิจเราะห์ศักราชจะเพิ่มขึ้น ่ อีก 1 ปี เมือเทียบกับพุทธศักราช ่
  • 5. 1) พุทธศักราช (พ.ศ.) เป็นศักราชที่นิยมใช้ในประเทศ ที่นับถือพระพุทธศาสนา มีการใช้กันมาตั้งแต่สมัย อยุธยา และใช้กันอย่างเป็นทางการของประเทศไทย ครั้งแรกใน พ.ศ. 2455 แทนรัตนโกสินทร์ศก ในสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน โดยประเทศไทยเริ่มนับ พ.ศ. 1 เมื่อ พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้วครบ 1 ปี เป็น พ.ศ. 1
  • 6. 2) มหาศักราช (ม.ศ.) นิยมใช้มากในหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ประเภทศิลาจารึกและพงศาวดาร ต่าง ๆ ทั้งสมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยาตอนต้น มหาศักราชถูกตั้งขึ้นโดยพระเจ้า กนิษกะแห่ง ราชวงศ์กุษาณะ กษัตริย์ผู้ครองอินเดีย โดยเริ่ม ภายหลังพุทธศักราช 622 (มหาศักราชตรงกับ พ.ศ. 622)
  • 7. 3) จุลศักราช (จ.ศ.) เป็นศักราชที่ได้รับอิทธิพลจาก พม่า โดยพระมหากษัตริย์ของพุกาม เริ่มใช้นับครั้งแรก ในพม่า พ.ศ. 1182 และใช้แพร่หลายเข้าสู่อาณาจักร ล้านนา โดยเริ่มภายหลังพุทธศักราช 1181 ปี ไทยนิยม ใช้จุลศักราชในการคานวณทางโหราศาสตร์ ใช้บอกปี ในจารึก ตานาน จดหมายเหตุ พงศาวดาร จนถึงสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรง ประกาศยกเลิก และมีการใช้รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) แทน
  • 8. 4) รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) เป็นศักราชที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว ทรง ่ กาหนดใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2325 โดยเริ่มนับปีที่ ได้มีการสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีใน พ.ศ. 2325 เป็น ร.ศ. 1 และได้ประกาศยกเลิกใช้ใน ต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า เจ้าอยู่หัว
  • 9. 3. การเทียบศักราช การเทียบศักราชในระบบต่างๆ สามารถนามา เปรียบเทียบให้เป็นศักราชแบบเดียวกัน ได้ดังนี้ ม.ศ. + 621 = พ.ศ. พ.ศ. – 621 = ม.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. – 1181 = จ.ศ. ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. พ.ศ. – 2324 = ร.ศ. ค.ศ. + 543 = พ.ศ. พ.ศ. – 543 = ค.ศ. ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ. พ.ศ. – 1122 = ฮ.ศ.
  • 10. ตัวอย่าง 1.จากพุทธศักราชเปลี่ยนเป็นคริสต์ศักราช ให้นา พ.ศ. ลบ 543 ตัวอย่างเช่น พ.ศ. 2549 เปลี่ยนเป็น ค.ศ. โดยนา 543 มาลบออก ( 2549 – 543 ) ปี ค.ศ. ที่ได้คอ 2006 ื 2.จากคริสต์ศักราชเปลี่ยนเป็นพุทธศักราช ให้นา ค.ศ. บวก 543 ตัวอย่างเช่น ค.ศ. 2004 เปลี่ยนเป็น พ.ศ. โดยนา 543 มาบวก ( 2004 + 543 ) ปี พ.ศ. ที่ได้คือ 2547
  • 11. 3. จากจุลศักราชเปลี่ยนเป็นพุทธศักราช ให้นา จ.ศ. บวก 1181 ตัวอย่างเช่น จ.ศ. 1130 เปลี่ยนเป็น พ.ศ. โดยนา 1181 มาบวก (1130+1181) ปี พ.ศ. ที่ได้คือ 2311 4.จากรัตนโกสินทร์ศกเปลี่ยนเป็นพุทธศักราช ให้นา ร.ศ. บวก 2324 ตัวอย่างเช่น ร.ศ. 132 เปลี่ยนเป็น พ.ศ. โดยนา 2324 มาบวก (123+2324) ปี พ.ศ. ที่ได้คือ 2456
  • 12. การนับทศวรรษ ศตวรรษและสหัสวรรษ ทศวรรษ คือ การนับระยะเวลาในรอบ 10 ปี ศตวรรษ คือ การนับระยะเวลาในรอบ 100 ปี สหัสวรรษ คือ การนับระยะเวลาในรอบ1000 ปี
  • 13. การบ้าน 1. ปีคริสต์ศักราช 2000 ตรงกับ พุทธศักราช ที่เท่าใด 2. ปีพุทธศักราช 2556 ตรงกับ มหาศักราช ที่เท่าใด 3. หลักศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 ระบุว่าพ่อขุน รามคาแหงมหาราชทรงปลูกต้นตาลเมื่อมหาศักราช 1214 ถ้าจะทาให้เป็นพุทธศักราชจะต้องทาอย่างไร
  • 14. การบ้าน 4. สมัยรัชการที่ 5 เกิดเหตุการณ์ ร.ศ.112 เสียดินแดน ให้ฝรั่งเศสครั้งใหญ่ ต้องการทราบว่าตรงกับปี พุทธศักราชใด 5. เหตุการณ์ปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 สมัยรัชกาลที่ 7 ต้องการทราบว่าตรงกับปี คริสต์ศักราชใด