SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 9
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี V. 8.2016
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
สำหรับประชาชนทั่วไป
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน หมายถึง การได้รับบาดเจ็บ หรือมีอาการเจ็บป่วย
กระทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อการดำรงชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสาคัญ
จำเป็น ต้องได้รับการประเมิน การจัดการและบำบัดรักษาอย่างทันท่วงทีเพื่อ
ป้องกัน การเสียชีวิต หรือมีความรุนแรงข้ึนของการบาดเจ็บหรืออาการเจ็บป่วยน้ัน
ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี V. 8.2016
อาการเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ลักษณะอาการฉุกเฉินท่ีควรโทรแจ้ง 1669
1. หมดสติ ช็อค สะลึมสะลือ เรียกไม่รู้สึกตัว
2. เจ็บหน้าอก หายใจหอบเหนื่อย
3. มีสิ่งแปลกปลอมอุดตันทางเดินหายใจ
4. ปากเบี้ยว อ่อนแรงครึ่งซีกฉับพลัน
5. ชักเกร็ง ชักกระตุก
6. ปวดท้องรุนแรง
7. ตกเลือด เลือดออกทางช่องคลอด
8. เจ็บท้องคลอด คลอดฉุกเฉิน
9. ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ เช่น อุบัติเหตุจราจร ตกจากท่ีสูง จม
น้ำ ไฟฟ้าช็อต ไฟไหม้ ได้รับสารพิษ สัตว์มีพิษกัดต่อย

1


ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี V. 8.2016
ขั้นตอนการแจ้งเหตุ
‣แจ้งข้อมูลดังต่อไปนี้
‣ ช่ือผู้แจ้ง
‣ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อกลับ
‣ อาการฉุกเฉินของผู้ป่วย
‣ สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน ถูกต้อง
‣ การช่วยเหลือที่ทำไปแล้ว
‣หลังแจ้งเหตุ ...
‣ อยู่กับผู้ป่วยตลอดเวลา สังเกตอาการ
ผู้ป่วย
‣ ให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ตามคำ
แนะนำของเจ้าหน้าที่
‣ ทำสายโทรศัพท์ให้ว่าง เจ้าหน้าที่อาจ
โทรกลับมาเพื่อสอบถามเส้นทาง และหาก
เป็นไปได้ ส่งผู้ช่วยเหลืออีกคน รอรับรถ
พยาบาล
‣ เตรียมเอกสารสำคัญของผู้ป่วย เช่น
บัตรประชาชน บัตรผู้ป่วย ยาประจำ (ถ้ามี)
2
1669


ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี V. 8.2016
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน CPR
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน หมายถึง การช่วยชีวิตคนหัวใจหยุดเต้นหรือคนที่
หยุดหายใจกระทันหันจากระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจล้มเหลว
ลักษณะของผู้ป่วยที่ต้องทำการฟื้นคืนชีพ
‣ หมดสติ ไม่รู้สึกตัว
‣ ไม่หายใจหรือหายใจเฮือก
3
1. ตรวจความรู้สึกตัว
2.เรียกขอความช่วยเหลือ
3.โทรเรียก1669
4.ตรวจว่าหายใจหรือไม่
5.วางมือกึ่งกลางหน้าอก
ศอกเหยียดตรง โน้มตัว
ให้หัวไหล่อยู่เหนือผู้หมดสติ
6.กดนวดหัวใจ ลึก5ซม.
อัตราเร็ว100-120ครั้งต่อนาที
ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี
เมื่อท่านพบเห็นผู้ป่วยฉุกเฉินหมดสติให้ปฏิบัติดังนี้
1. ตรวจดูว่าผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ โดยการใช้มือทั้งสองข้างจับบริเวณไหล่ เขย่าให้
แรงพอสมควรพร้อมเรียกผู้ป่วยดังๆ
2. หากผู้ป่วยไม่ตอบสนองให้เรียกขอความช่วยเหลือผ่านหมายเลข 1669 ให้เร็ว
ที่สุด
3. ตรวจดูว่าหายใจหรือไม่ หรือหายใจเฮือก ให้กดนวดหัวใจ
4. การกดนวดหัวใจ จัดให้ผู้ป่วยนอนหงายบนพื้นแข็ง ผู้ช่วยเหลือนั่งคุกเข่าด้านข้าง
วางสันมือลงไปขนานกับแนวกึ่งกลางหน้าอก แล้วนำมืออีกข้างประสาน ล็อคนิ้วกระดก
ข้อมือขึ้นโดยให้ส้นมือสัมผัสกับหน้าอกเท่านั้น โน้มตัวมาด้านหน้า ตั้งฉากกับหน้าอก
ของผู้ป่วย ออกแรงกดโดยใช้แรงจากหัวไหล่ สะโพกเป็นจุดหมุน กดให้ยุบลงไป 5
เซนติเมตร ด้วยความเร็ว 100 ถึง 120 ครั้งต่อนาที ทุกครั้งปล่อยหน้าอกขยายกลับมา
ตำแหน่งเดิม โดยส้นมือสัมผัสหน้าอกตลอดเวลา ทำการกดต่อเนื่อง 30 ครั้งหลังจาก
นั้นให้ทำการช่วยหายใจ 2 ครั้ง ทำสลับกันไปเรื่อย ห้ามหยุด จนกว่าความช่วยเหลือจะ
มาถึง
ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
กรณีผู้ป่วยเป็นญาติสนิทและและ
มั่นใจว่าไม่เป็นโรคติดต่อ การช่วย
หายใจ ทำได้โดย การเป่าปาก ครอบ
ปากผู้ป่วยให้แนบสนิทบีบจมูกแล้วเป่าลม
เข้าไปทางปาก การเป่าแต่ละครั้ง ให้ยาว
ประมาณ 1 วินาที โดยสังเกตอกหน้าอก
ของผู้ป่วยยกขึ้น ปล่อยให้ยุบลงมาใน
ตำแหน่งเดิม ก่อนจะเป่าครั้งที่สอง
หากไม่มั่นใจให้กดอย่างเดียวต่อไปเรื่อยๆ
หากมีผู้ช่วยเหลือคนอื่นให้สลับกันกดหน้าอกเมื่อครบ 2 นาที
4
30 ครั้ง 2 ครั้ง
สลับ


ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี
สรุปขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
‣ กรณีผู้ช่วยเหลือคนเดียวให้กดหัวใจ ด้วยความเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที 30
ครั้ง สลับกับการช่วยหายใจ 2 ครั้ง ทำสลับกันต่อเนื่องไปเรื่อยๆ จนกว่าทีมช่วย
เหลือจะมาถึง
‣ หากมีผู้ช่วยเหลือมากกว่าหนึ่งคนสามารถกดนวดหน้าอก และช่วยหายใจ
สลับกัน โดยผลัดเปลี่ยนหน้าที่ทุก 2 นาที หรือ 5 รอบ (กดหน้าอก30ครั้ง ช่วยหายใจ
2ครั้ง เท่ากับ1 รอบ)
‣ การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานนั้น จะได้ผลดีต้องกระทำภายใน 4 นาทีหลังผู้
ป่วยหยุดหายใจ
5ขั้นตอนของห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต
1. เรียกคนช่วยอย่างรวดเร็วและรีบแจ้งสายด่วน 1669
2. ให้เริ่มปฎิบัติการช่วยชีวิตในทันทีด้วยการCPR
3. เมื่อมีข้อบ่งชี้ให้การกระตุ้นหัวใจด้วยเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า
อัตโนมัติ(AED)ให้รวดเร็วที่สุด
4. การช่วยชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพจากหน่วยกู้ชีพขั้นสูง
5. การให้การดูแลต่อเนื่องหลังจากการCPR ในโรงพยาบาล
5
ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี
การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล หมายถึง การช่วยเหลือผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บเบื้องต้น
โดยใช้อุปกรณ์เท่าที่จะหาได้ในขณะนั้นก่อนที่จะได้รับการดูแลรักษาจาก
บุคลากรทางการแพทย์หรือก่อนส่งต่อไปยังสถานพยาบาล
การปฐมพยาบาลผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ
‣ กรณีมีบาดแผลแผลฉีกขาด ทำการห้ามเลือดโดยใช้ผ้าสะอาดหรือผ้าก๊อซ
ปิดบาดแผลไว้ สังเกตการเสียเลือด ถ้าเลือดออกไม่หยุดให้ใช้ผ้ายืดพันทับอีก
รอบ กรณีเป็นบริเวณแขน ขาและไม่มีกระดูกหักร่วมด้วยให้ยกส่วนนั้นให้สูงและ
เพื่อป้องกันการติดเชื้อควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสเลือดของผู้ป่วยโดยตรง
‣ กรณีแผลอวัยวะถูกตัดขาด ให้เก็บอวัยวะ
ที่ถูกตัดขาดโดยนำส่วนที่ขาดใส่ในถุงพลาสติก
แล้วรัดปากถุงให้แน่น แช่ในภาชนะที่มีน้ำผสม
น้ำแข็งอีกอัน จากนั้นห้ามเลือดบริเวณปลาย
อวัยวะ
**ส่วนที่ตัดขาดห้ามแช่ลงไปในน้ำแข็งโดยตรง**
‣ แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก ใช้น้ำสะอาดล้างแผล เพื่อทำความสะอาดและลด
อาการปวดแสบปวดร้อน ผลัดเสื้อผ้าและเครื่องประดับที่ถูกเผาไหม้ออก เสื้อผ้าที่
ถูกเผาไหม้อาจติดกับผิวหนัง ห้ามใช้น้ำมัน โลชั่น ยาสีฟัน หรือยาปฏิชีวนะทาบน
แผล ห้ามเจาะตุ่มพอง
‣ บาดเจ็บที่ศีรษะ ให้ทำการห้ามเลือดโดย
วิธีกดที่แผลโดยตรง ถ้าเลือดออกมากให้ใช้ผ้า
ยืดพันทับ คอยสังเกตอาการทางสมองควบคู่ไป
ด้วย เช่น ซึมลง ความรู้สึกตัวลดลง พูดสับสน
ปวดศีรษะมากอาเจียน เป็นต้น
6
ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี
‣ แผลจากวัตถุหักคา ห้ามดึงวัตถุที่
หักคาออก ยึดตรึงวัตถุที่หักคาให้อยู่นิ่ง
ห้ามเลือดโดยใช้ผ้าแห้งสะอาดปิดแผล
หนาๆ ปิดบริเวณรอบวัตถุนั้น
‣ กรณีกระดูกหัก หากไม่มีบาดแผล ให้
ประคบด้วยน้ำแข็งบริเวณที่ปวดบวมผิดรูป เพื่อ
ลดอาการปวดบวม ดามกระดูก โดยยึดตรึงส่วนที่
หักให้อยู่นิ่งมากที่สุด หากมีแผลหรือมีกระดูกโผล่
ห้ามดันกระดูกกลับเข้าที่โดยเด็ดขาด ให้ทำการ
ปฐมพยาบาล ตามขั้นตอนการห้ามเลือดเหมือน
แผลที่วัตถุหักคา
‣ กรณีบาดเจ็บรุนแรงหรือตกจากที่สูง
อาจมีการหักของกระดูกสันหลัง ควรโทร
เรียก 1669 โดยเร็ว ไม่ควรยก หรือเคลื่อน
ย้ายผู้บาดเจ็บโดยไม่จำเป็น เนื่องจากอาจ
ทำให้เกิดการบาดเจ็บเพิ่มเติมได้ ควรดูแล
ผู้บาดเจ็บให้อยู่นิ่งๆ จนกว่าการช่วยเหลือ
จะมาถึง
‣ กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินหอบหืดเฉียบพลัน ให้
ผู้ป่วยนั่ง หรือยืนในท่านั่ง อากาศถ่ายเทสะดวก
คลายเสื้อผ้าให้หลวม หากมียาพ่น ให้พ่นยาที่มี
อยู่ หากอาการยังไม่ดีขึ้นให้โทรแจ้งขอความ
ช่วยเหลือ 1669 ทันที
7
ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี
‣ ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
อาการที่พบคือเจ็บแน่นหน้าอกเหมือนมีอะไร
มาทับ หรือบีบรัด อาจร้าวไปที่ใบหน้าร้าวมา
ที่แขน บางรายอาจมีจุกแน่นลิ้นปี่ ปวดบริเวณ
กราม เจ็บหน้าอกร้าวไปไหล่ด้านซ้ายจนถึง
แขน รวมทั้งอาจมีอาการอื่นๆ เช่น หายใจ
หอบเหนื่อย เหงื่อออก ใจสั่น นอนราบไม่ได้
คลื่นไส้อาเจียน หน้ามืด หรือหมดสติ
การดูแลเบื้องต้น ให้นอนพักลดการเคลื่อนไหว โทรแจ้ง 1669 โดยด่วน สังเกต
อาการอย่างใกล้ชิด หากพบว่า ซึมลง หมดสติ หรือหยุดหายใจ ให้เริ่มกดนวดหัวใจตาม
วิธีการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานทันที และโทรแจ้ง 1669 อีกครั้ง
‣ ผู้ป่วยหลอดเลือดในสมองแตก ตีบ
ตันอาการที่พบมีอาการอ่อนแรง ชาบริเวณ
ใบหน้าแขนขาอ่อนแรง หรือชาครึ่งซีกของ
ร่างกายการพูดผิดปกติ เช่นลิ้นคับปากพูด
ไม่ชัด อาการมักเกิดขึ้นทันทีทันใด
การดูแลเบื้องต้นให้รีบโทรแจ้ง1669 โดยด่วน รีบเรียกดูว่ารู้สึกตัวหรือมีการตอบ
สนองต่อการเรียกหรือไม่ ถ้าความรู้สึกตัวลดลงหรือไม่รู้สึกตัว ให้นอนตะแคงป้องกันการ
สำลัก ถ้าพบว่าหยุดหายใจให้ช่วยกดนวดหัวใจทันที
‣ ผู้ป่วยชัก ขอความช่วยเหลือโทร 1669
ดูแลทางเดินหายใจขณะชัก โดยประคอง
ใบหน้าให้ตะแคง ห้ามเอาช้อนหรือไม้กดลิ้นงัด
ปากผู้ป่วยขณะชัก เพราะอาจทำให้ฟันหักหลุด
เข้าไปในหลอดลมได้ ไม่ยึดจับตัวผู้ป่วยขณะ
ชัก หรือฝืนต่ออาการชัก เพราะอาจทำให้ผู้ป่วย
ไหล่หลุดกระดูกแขนขาหัก
8
หน้าเบี้ยว อ่อนแรง ครึ่งซีก
X
✓

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
techno UCH
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
Patamaporn Seajoho
 

Was ist angesagt? (20)

Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
mass casualty management
mass casualty managementmass casualty management
mass casualty management
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
HAP
HAPHAP
HAP
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายการดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 

Ähnlich wie First aid by Narenthorn 2016

CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
taem
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Narenthorn EMS Center
 
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
taem
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
taem
 
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชนคู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
Rx_petch
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
eremslad
 
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Loveis1able Khumpuangdee
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
My Parents
 

Ähnlich wie First aid by Narenthorn 2016 (20)

CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค
 guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค
guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค
 
Guide line CPR 2010 (ไทย)
Guide line CPR 2010 (ไทย) Guide line CPR 2010 (ไทย)
Guide line CPR 2010 (ไทย)
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
 
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชนคู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
 
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
 
Cpr Aed (Thai)
Cpr Aed (Thai)Cpr Aed (Thai)
Cpr Aed (Thai)
 
Basic life support นพ.ธานินทร์
Basic life support นพ.ธานินทร์Basic life support นพ.ธานินทร์
Basic life support นพ.ธานินทร์
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
 
สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
 

Mehr von Narenthorn EMS Center

การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
Narenthorn EMS Center
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklist
Narenthorn EMS Center
 

Mehr von Narenthorn EMS Center (20)

CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstances
 
CPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLSCPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLS
 
CPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLSCPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLS
 
CPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALSCPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALS
 
Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
 
CPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issuesCPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issues
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
 
Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklist
 
Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010
 
ACLS 2010
ACLS 2010ACLS 2010
ACLS 2010
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
Airway workshop Reading material
Airway workshop Reading materialAirway workshop Reading material
Airway workshop Reading material
 
APHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 ExamAPHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 Exam
 
Ill appearing neonates
Ill appearing neonatesIll appearing neonates
Ill appearing neonates
 
PAROS Proposal
PAROS ProposalPAROS Proposal
PAROS Proposal
 
10th National HA Forum Poster
10th National HA Forum Poster10th National HA Forum Poster
10th National HA Forum Poster
 

First aid by Narenthorn 2016

  • 1. ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี V. 8.2016 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น สำหรับประชาชนทั่วไป
  • 2. การเจ็บป่วยฉุกเฉิน หมายถึง การได้รับบาดเจ็บ หรือมีอาการเจ็บป่วย กระทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อการดำรงชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสาคัญ จำเป็น ต้องได้รับการประเมิน การจัดการและบำบัดรักษาอย่างทันท่วงทีเพื่อ ป้องกัน การเสียชีวิต หรือมีความรุนแรงข้ึนของการบาดเจ็บหรืออาการเจ็บป่วยน้ัน ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี V. 8.2016 อาการเจ็บป่วยฉุกเฉิน ลักษณะอาการฉุกเฉินท่ีควรโทรแจ้ง 1669 1. หมดสติ ช็อค สะลึมสะลือ เรียกไม่รู้สึกตัว 2. เจ็บหน้าอก หายใจหอบเหนื่อย 3. มีสิ่งแปลกปลอมอุดตันทางเดินหายใจ 4. ปากเบี้ยว อ่อนแรงครึ่งซีกฉับพลัน 5. ชักเกร็ง ชักกระตุก 6. ปวดท้องรุนแรง 7. ตกเลือด เลือดออกทางช่องคลอด 8. เจ็บท้องคลอด คลอดฉุกเฉิน 9. ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ เช่น อุบัติเหตุจราจร ตกจากท่ีสูง จม น้ำ ไฟฟ้าช็อต ไฟไหม้ ได้รับสารพิษ สัตว์มีพิษกัดต่อย
 1
  • 3. 
 ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี V. 8.2016 ขั้นตอนการแจ้งเหตุ ‣แจ้งข้อมูลดังต่อไปนี้ ‣ ช่ือผู้แจ้ง ‣ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อกลับ ‣ อาการฉุกเฉินของผู้ป่วย ‣ สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน ถูกต้อง ‣ การช่วยเหลือที่ทำไปแล้ว ‣หลังแจ้งเหตุ ... ‣ อยู่กับผู้ป่วยตลอดเวลา สังเกตอาการ ผู้ป่วย ‣ ให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ตามคำ แนะนำของเจ้าหน้าที่ ‣ ทำสายโทรศัพท์ให้ว่าง เจ้าหน้าที่อาจ โทรกลับมาเพื่อสอบถามเส้นทาง และหาก เป็นไปได้ ส่งผู้ช่วยเหลืออีกคน รอรับรถ พยาบาล ‣ เตรียมเอกสารสำคัญของผู้ป่วย เช่น บัตรประชาชน บัตรผู้ป่วย ยาประจำ (ถ้ามี) 2 1669
  • 4. 
 ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี V. 8.2016 การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน CPR การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน หมายถึง การช่วยชีวิตคนหัวใจหยุดเต้นหรือคนที่ หยุดหายใจกระทันหันจากระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจล้มเหลว ลักษณะของผู้ป่วยที่ต้องทำการฟื้นคืนชีพ ‣ หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ‣ ไม่หายใจหรือหายใจเฮือก 3 1. ตรวจความรู้สึกตัว 2.เรียกขอความช่วยเหลือ 3.โทรเรียก1669 4.ตรวจว่าหายใจหรือไม่ 5.วางมือกึ่งกลางหน้าอก ศอกเหยียดตรง โน้มตัว ให้หัวไหล่อยู่เหนือผู้หมดสติ 6.กดนวดหัวใจ ลึก5ซม. อัตราเร็ว100-120ครั้งต่อนาที
  • 5. ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี เมื่อท่านพบเห็นผู้ป่วยฉุกเฉินหมดสติให้ปฏิบัติดังนี้ 1. ตรวจดูว่าผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ โดยการใช้มือทั้งสองข้างจับบริเวณไหล่ เขย่าให้ แรงพอสมควรพร้อมเรียกผู้ป่วยดังๆ 2. หากผู้ป่วยไม่ตอบสนองให้เรียกขอความช่วยเหลือผ่านหมายเลข 1669 ให้เร็ว ที่สุด 3. ตรวจดูว่าหายใจหรือไม่ หรือหายใจเฮือก ให้กดนวดหัวใจ 4. การกดนวดหัวใจ จัดให้ผู้ป่วยนอนหงายบนพื้นแข็ง ผู้ช่วยเหลือนั่งคุกเข่าด้านข้าง วางสันมือลงไปขนานกับแนวกึ่งกลางหน้าอก แล้วนำมืออีกข้างประสาน ล็อคนิ้วกระดก ข้อมือขึ้นโดยให้ส้นมือสัมผัสกับหน้าอกเท่านั้น โน้มตัวมาด้านหน้า ตั้งฉากกับหน้าอก ของผู้ป่วย ออกแรงกดโดยใช้แรงจากหัวไหล่ สะโพกเป็นจุดหมุน กดให้ยุบลงไป 5 เซนติเมตร ด้วยความเร็ว 100 ถึง 120 ครั้งต่อนาที ทุกครั้งปล่อยหน้าอกขยายกลับมา ตำแหน่งเดิม โดยส้นมือสัมผัสหน้าอกตลอดเวลา ทำการกดต่อเนื่อง 30 ครั้งหลังจาก นั้นให้ทำการช่วยหายใจ 2 ครั้ง ทำสลับกันไปเรื่อย ห้ามหยุด จนกว่าความช่วยเหลือจะ มาถึง ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน กรณีผู้ป่วยเป็นญาติสนิทและและ มั่นใจว่าไม่เป็นโรคติดต่อ การช่วย หายใจ ทำได้โดย การเป่าปาก ครอบ ปากผู้ป่วยให้แนบสนิทบีบจมูกแล้วเป่าลม เข้าไปทางปาก การเป่าแต่ละครั้ง ให้ยาว ประมาณ 1 วินาที โดยสังเกตอกหน้าอก ของผู้ป่วยยกขึ้น ปล่อยให้ยุบลงมาใน ตำแหน่งเดิม ก่อนจะเป่าครั้งที่สอง หากไม่มั่นใจให้กดอย่างเดียวต่อไปเรื่อยๆ หากมีผู้ช่วยเหลือคนอื่นให้สลับกันกดหน้าอกเมื่อครบ 2 นาที 4 30 ครั้ง 2 ครั้ง สลับ
  • 6. 
 ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี สรุปขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ‣ กรณีผู้ช่วยเหลือคนเดียวให้กดหัวใจ ด้วยความเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที 30 ครั้ง สลับกับการช่วยหายใจ 2 ครั้ง ทำสลับกันต่อเนื่องไปเรื่อยๆ จนกว่าทีมช่วย เหลือจะมาถึง ‣ หากมีผู้ช่วยเหลือมากกว่าหนึ่งคนสามารถกดนวดหน้าอก และช่วยหายใจ สลับกัน โดยผลัดเปลี่ยนหน้าที่ทุก 2 นาที หรือ 5 รอบ (กดหน้าอก30ครั้ง ช่วยหายใจ 2ครั้ง เท่ากับ1 รอบ) ‣ การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานนั้น จะได้ผลดีต้องกระทำภายใน 4 นาทีหลังผู้ ป่วยหยุดหายใจ 5ขั้นตอนของห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต 1. เรียกคนช่วยอย่างรวดเร็วและรีบแจ้งสายด่วน 1669 2. ให้เริ่มปฎิบัติการช่วยชีวิตในทันทีด้วยการCPR 3. เมื่อมีข้อบ่งชี้ให้การกระตุ้นหัวใจด้วยเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า อัตโนมัติ(AED)ให้รวดเร็วที่สุด 4. การช่วยชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพจากหน่วยกู้ชีพขั้นสูง 5. การให้การดูแลต่อเนื่องหลังจากการCPR ในโรงพยาบาล 5
  • 7. ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี การปฐมพยาบาล การปฐมพยาบาล หมายถึง การช่วยเหลือผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บเบื้องต้น โดยใช้อุปกรณ์เท่าที่จะหาได้ในขณะนั้นก่อนที่จะได้รับการดูแลรักษาจาก บุคลากรทางการแพทย์หรือก่อนส่งต่อไปยังสถานพยาบาล การปฐมพยาบาลผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ ‣ กรณีมีบาดแผลแผลฉีกขาด ทำการห้ามเลือดโดยใช้ผ้าสะอาดหรือผ้าก๊อซ ปิดบาดแผลไว้ สังเกตการเสียเลือด ถ้าเลือดออกไม่หยุดให้ใช้ผ้ายืดพันทับอีก รอบ กรณีเป็นบริเวณแขน ขาและไม่มีกระดูกหักร่วมด้วยให้ยกส่วนนั้นให้สูงและ เพื่อป้องกันการติดเชื้อควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสเลือดของผู้ป่วยโดยตรง ‣ กรณีแผลอวัยวะถูกตัดขาด ให้เก็บอวัยวะ ที่ถูกตัดขาดโดยนำส่วนที่ขาดใส่ในถุงพลาสติก แล้วรัดปากถุงให้แน่น แช่ในภาชนะที่มีน้ำผสม น้ำแข็งอีกอัน จากนั้นห้ามเลือดบริเวณปลาย อวัยวะ **ส่วนที่ตัดขาดห้ามแช่ลงไปในน้ำแข็งโดยตรง** ‣ แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก ใช้น้ำสะอาดล้างแผล เพื่อทำความสะอาดและลด อาการปวดแสบปวดร้อน ผลัดเสื้อผ้าและเครื่องประดับที่ถูกเผาไหม้ออก เสื้อผ้าที่ ถูกเผาไหม้อาจติดกับผิวหนัง ห้ามใช้น้ำมัน โลชั่น ยาสีฟัน หรือยาปฏิชีวนะทาบน แผล ห้ามเจาะตุ่มพอง ‣ บาดเจ็บที่ศีรษะ ให้ทำการห้ามเลือดโดย วิธีกดที่แผลโดยตรง ถ้าเลือดออกมากให้ใช้ผ้า ยืดพันทับ คอยสังเกตอาการทางสมองควบคู่ไป ด้วย เช่น ซึมลง ความรู้สึกตัวลดลง พูดสับสน ปวดศีรษะมากอาเจียน เป็นต้น 6
  • 8. ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี ‣ แผลจากวัตถุหักคา ห้ามดึงวัตถุที่ หักคาออก ยึดตรึงวัตถุที่หักคาให้อยู่นิ่ง ห้ามเลือดโดยใช้ผ้าแห้งสะอาดปิดแผล หนาๆ ปิดบริเวณรอบวัตถุนั้น ‣ กรณีกระดูกหัก หากไม่มีบาดแผล ให้ ประคบด้วยน้ำแข็งบริเวณที่ปวดบวมผิดรูป เพื่อ ลดอาการปวดบวม ดามกระดูก โดยยึดตรึงส่วนที่ หักให้อยู่นิ่งมากที่สุด หากมีแผลหรือมีกระดูกโผล่ ห้ามดันกระดูกกลับเข้าที่โดยเด็ดขาด ให้ทำการ ปฐมพยาบาล ตามขั้นตอนการห้ามเลือดเหมือน แผลที่วัตถุหักคา ‣ กรณีบาดเจ็บรุนแรงหรือตกจากที่สูง อาจมีการหักของกระดูกสันหลัง ควรโทร เรียก 1669 โดยเร็ว ไม่ควรยก หรือเคลื่อน ย้ายผู้บาดเจ็บโดยไม่จำเป็น เนื่องจากอาจ ทำให้เกิดการบาดเจ็บเพิ่มเติมได้ ควรดูแล ผู้บาดเจ็บให้อยู่นิ่งๆ จนกว่าการช่วยเหลือ จะมาถึง ‣ กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินหอบหืดเฉียบพลัน ให้ ผู้ป่วยนั่ง หรือยืนในท่านั่ง อากาศถ่ายเทสะดวก คลายเสื้อผ้าให้หลวม หากมียาพ่น ให้พ่นยาที่มี อยู่ หากอาการยังไม่ดีขึ้นให้โทรแจ้งขอความ ช่วยเหลือ 1669 ทันที 7
  • 9. ศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี ‣ ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน อาการที่พบคือเจ็บแน่นหน้าอกเหมือนมีอะไร มาทับ หรือบีบรัด อาจร้าวไปที่ใบหน้าร้าวมา ที่แขน บางรายอาจมีจุกแน่นลิ้นปี่ ปวดบริเวณ กราม เจ็บหน้าอกร้าวไปไหล่ด้านซ้ายจนถึง แขน รวมทั้งอาจมีอาการอื่นๆ เช่น หายใจ หอบเหนื่อย เหงื่อออก ใจสั่น นอนราบไม่ได้ คลื่นไส้อาเจียน หน้ามืด หรือหมดสติ การดูแลเบื้องต้น ให้นอนพักลดการเคลื่อนไหว โทรแจ้ง 1669 โดยด่วน สังเกต อาการอย่างใกล้ชิด หากพบว่า ซึมลง หมดสติ หรือหยุดหายใจ ให้เริ่มกดนวดหัวใจตาม วิธีการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานทันที และโทรแจ้ง 1669 อีกครั้ง ‣ ผู้ป่วยหลอดเลือดในสมองแตก ตีบ ตันอาการที่พบมีอาการอ่อนแรง ชาบริเวณ ใบหน้าแขนขาอ่อนแรง หรือชาครึ่งซีกของ ร่างกายการพูดผิดปกติ เช่นลิ้นคับปากพูด ไม่ชัด อาการมักเกิดขึ้นทันทีทันใด การดูแลเบื้องต้นให้รีบโทรแจ้ง1669 โดยด่วน รีบเรียกดูว่ารู้สึกตัวหรือมีการตอบ สนองต่อการเรียกหรือไม่ ถ้าความรู้สึกตัวลดลงหรือไม่รู้สึกตัว ให้นอนตะแคงป้องกันการ สำลัก ถ้าพบว่าหยุดหายใจให้ช่วยกดนวดหัวใจทันที ‣ ผู้ป่วยชัก ขอความช่วยเหลือโทร 1669 ดูแลทางเดินหายใจขณะชัก โดยประคอง ใบหน้าให้ตะแคง ห้ามเอาช้อนหรือไม้กดลิ้นงัด ปากผู้ป่วยขณะชัก เพราะอาจทำให้ฟันหักหลุด เข้าไปในหลอดลมได้ ไม่ยึดจับตัวผู้ป่วยขณะ ชัก หรือฝืนต่ออาการชัก เพราะอาจทำให้ผู้ป่วย ไหล่หลุดกระดูกแขนขาหัก 8 หน้าเบี้ยว อ่อนแรง ครึ่งซีก X ✓