SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 46
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
ณภัทรษกร สารพัฒน์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาการคานวณกลศาสตร์แบบลากรางจ์
2. เพื่อนากลศาสตร์แบบลากรางจ์ ไปประยุกต์ใช้กับการเคลื่อนที่แบบ
ต่างๆ ที่มีความซับซ้อนและแก้ปัญหาด้วยกลศาสตร์นิวตันได้ยาก
For What !!!
Outline : กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
• 1. บทนา
• 2. Hamilton Principle
• 3. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Alexander มหาราช
• 4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat
• 5. การเคลื่อนที่ของวัตถุ ตามแนวคิดของ Hamilton
• 6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation
• 7. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation แบบมีเงื่อนไข
• 8. โมเดลปัญหาแบบ “Catenary”
• 9. สมการการเคลื่อนที่ของ Lagrange
• 10. ความหมายของ 𝝀
𝝏𝒈
𝝏𝒒 𝒊
1. บทนา
ทบทวน กฎของนิวตัน (Newton’s laws)
กฎข้อที่ 1 กฎของความเฉื่อย (Inertia) หรือ 𝜮𝑭 = 𝟎
“วัตถุที่หยุดนิ่งจะพยายามหยุดนิ่งอยู่กับที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทา ส่วนวัตถุที่
เคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทาเช่นกัน“
กฎข้อที่ 2 กฎของแรง (Force) หรือ 𝜮𝑭 = 𝒎𝒂
“ความเร่งของวัตถุจะแปรผันตามแรงที่กระทาต่อวัตถุ แต่จะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ”
กฎข้อที่ 3 กฎของแรงปฏิกิริยา (Action = Reaction) หรือ 𝑭 = −𝑭
“แรงที่วัตถุที่หนึ่งกระทาต่อวัตถุที่สอง ย่อมเท่ากับ แรงที่วัตถุที่สองกระทาต่อวัตถุที่หนึ่ง แต่
ทิศทางตรงข้ามกัน”
𝑚 𝑭 𝟏𝑭 𝟐 𝜮𝑭 = 𝑭 𝟏 + 𝑭 𝟐 = 𝟎
𝑚 𝑭 𝟏𝑭 𝟐 𝜮𝑭 = 𝑭 𝟏 + 𝑭 𝟐 ≠ 𝟎
𝑚𝑭
−𝑭
1. บทนา
จากที่ผ่านมา เราได้ศึกษาถึงกฏของนิวตัน (กฎข้อที่ 2ของนิวตัน) ซึ่งสามารถนามาใช้ใน
การ ทานายการเคลื่อนที่ ของวัตถุต่างๆ ในกรณีที่ผู้สังเกตอยู่นิ่ง (หรือมีความเร็วคงที่) จะ
ได้ว่า
สมการ (1.1)Σ 𝐹 = 𝑚 𝑎 = 𝑚 𝑣 = 𝑚 𝑥
𝑥 =
𝑑
𝑑𝑡
𝑑𝑥
𝑑𝑡
=
𝑑 𝑥
𝑑𝑡
=
𝑑 𝑣
𝑑𝑡
= 𝑎
𝑥 คือ ระยะทางที่วัถุเคลื่อนที่ได้
𝑣 คือ ความเร็วของวัตถุ
𝑎 คือ ความเร่งของวัตถุ
1. บทนา
𝑚 𝐹 เวลา 𝑡1
𝑚 𝐹 เวลา 𝑡2
ตาแหน่ง 𝑥1 ตาแหน่ง 𝑥2
𝑦
𝑥
∆𝒙 = 𝒙 𝟐 − 𝒙 𝟏
∆𝑡 = 𝒕 𝟐 − 𝒕 𝟏ความเร็ว 𝑣2
ความเร็ว 𝑣1
 ระยะทางที่เปลี่ยนไปต่อเวลาก็คือ “ความเร็ว” เป็น 𝑣 =
∆ 𝑥
∆𝑡
เมื่อ 𝑣 = lim
∆𝑡→0
∆ 𝑥
∆𝑡
=
𝑑 𝑥
𝑑𝑡
 ระยะทางที่เปลี่ยนไปต่อเวลาก็คือ “ความเร่ง” เป็น 𝑎 =
∆𝑣
∆𝑡
เมื่อ 𝑎 = lim
∆𝑡→0
∆𝑣
∆𝑡
=
𝑑𝑣
𝑑𝑡
∆𝒗 = 𝒗 𝟐 − 𝒗 𝟏
1. บทนา
ภาพที่ (1) ในขณะที่วัตถุกาลังเลื่อนลงมาก็ย่อม
มีความเร่งในทิศขนานกับพื้นลาดหรืออีกนัย
หนึ่ง
Σ 𝐹 = 𝑇 + 𝑓𝑘 + 𝑚 𝑔 + 𝑁 สมการ (1.2)
𝑁
𝑓𝑘
𝑇
𝑚 𝑔
𝜃
𝜇 𝑘
𝑥
𝑦
หาสมการการเคื่อนที่ตามแบบของ กฎของนิวตัน
ยกตัวอย่าง กล่องกระดาษที่เลื่อนลงมาตามพื้นลาด ดังจะเห็นในภาพที่ (1)
1. บทนา
ถ้ากล่องเริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้นเป็นศูนย์ และสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน
จลย์เป็น 𝜇 𝑘 จงทานายตาแหน่งของกล่อง ณ เวลาใดๆ
เนื่องจากวัตถุไม่มีการเคลื่อนที่ตามแนวแกน 𝑦
𝑁 = 𝑚 𝑔 cos 𝜃
โดยธรรมชาติของแรงเสียดทานนั้น แปรผันตรง
กับแรง 𝑁
𝑓𝑘 = 𝜇 𝑘 𝑁 = 𝜇 𝑘 𝑚 𝑔 cos 𝜃
แรงที่เกิดจากน้าหนักวัตถุตามแนวแกน 𝑥
𝑇 = 𝑚 𝑔 sin 𝜃 สมการ (1.3)
สมการ (1.4)
สมการ (1.5)
𝑁
𝑓𝑘
𝑇
𝑚 𝑔
𝜃
𝜇 𝑘
𝑥
𝑦
1. บทนา
Σ𝐹𝑥 = 𝑇 − 𝑓𝑘 = 𝑚 𝑔 sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 𝑚 𝑔 cos 𝜃 = 𝑚 𝑔(sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 cos 𝜃)
ดังนั้น แรงลัพท์ที่กระทากับวัตถุตามแนวแกน 𝑥 คือ
จากสมการการเคลื่อนที่ของนิวตัน จะได้ว่า
𝑥 =
Σ𝐹𝑥
𝑚
ตาแหน่งของกล่อง ณ เวลาใดๆ ก็คือ
𝑑
𝑑𝑡
𝑑 𝑥
𝑑𝑡
= 𝑔 sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 cos 𝜃
𝑥(𝑡) =
1
2
𝑔(sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 cos 𝜃)𝑡2
สมการ (1.7)
สมการ (1.9)
สมการ (1.6)
𝑑 𝑑 𝑥 = 𝑔 sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 cos 𝜃 𝑑𝑡 𝑑 𝑡
𝑁
𝑓𝑘
𝑇
𝑚 𝑔
𝜃
𝜇 𝑘
𝑥
𝑦
สมการ (1.8)
1. บทนา
𝑚 𝑔
𝑚 𝑔
𝑁1
𝑁2
𝑁1
𝑁2
ภาพที่ (1.2) แสดงการเคลื่อนที่ของกล่องใน
รางที่เป็นเส้นโค้ง เนื่องจากตัวกล่องมีจุดสัมผัส
กับรางอยู่ 2 จุด แรงที่ตัวรางกระทากับกล่อง
จึงมีความซับซ้อน อีกทั้งตัวรางที่โค้ง ทาให้
ทิศทางของแรง 𝑁1 และ 𝑁2 เปลี่ยนแปลงไป
ตามแหน่งของกล่อง
เมื่อการคานวนหาแรงลัพท์เป็นไปด้วยความลาบาก กฏ
ของนิวตันตามสมการที่ (1.1) ในบางครั้งอาจไม่สามารถ
นามาศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในระบบนั้นๆได้
ตามตัวอย่างข้างต้น จะเห็นว่า กลศาสตร์ของนิวตันนั้นมีหัวใจสาคัญ ก็คือการหา แรงลัพท์ที่กระทา
กับวัตถุใดๆ แต่ในบางกรณี การคานวนหาแรงลัพท์ อาจจะกระทาได้ลาบาก ดังจะเห็นในภาพที่
(1.2)
1. บทนา
กฏของ Hamilton เป็นอีกมุมมองหนึ่งที่สามารถใช้ในการทานาย การเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้
คล้ายๆ กับกฏของนิวตัน ซึ่งทั้ง 2 ทฤษฏีนี้ มีประวัติความเป็นมา ยาวนานไม่แพ้กัน
Newton
ริเริ่ม Calculus of
Variations
1686
Johann and Jacob Bernoulli
1696
Euler
1744
ขยายขอบเขต
Legendre
1786
Lagrange
1788
Hamilton
1833
Jacobi
1837
ต่อยอด
อย่างไรก็ตาม กฏของ Hamilton นั้น นอกจากจะนามาใช้ในแง่ของกลศาสตร์ กล่าวคือ ว่าด้วย
การเคลื่อนที่ของอนุภาค แล้วนั้น กฏของ Hamilton ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการศึกษา
สาขาอื่นๆของฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น Optics สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ทฤษฏีสัมพัธภาพทั่วไป
quantum electrodynamics และอื่นๆ
2. Hamilton Principle
เพื่อที่จะหากฏเกณฑ์ทางฟิสิกส์ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ของธรรมชาตินั้น เริ่มมา
ตั้งแต่อดีต นักวิทยาศาสตร์มีแนวความคิดเกี่ยวกับ Minimum Principle กล่าวคือ การ
เคลื่อนไหวของสรรพสิ่งนั้น เกิดจากการที่ธรรมชาติพยามที่จะทาให้ปริมาณในทางฟิสิกส์ มีค่าต่า
ที่สุด (หรือสูงที่สุด) ยกตัวอย่างเช่น
(1) ลูกบอล พยามจะอยู่ใน
สถานะที่มี “พลังงาน ต่าที่สุด”
(2) นักธุรกิจวางแผนการตลาด
เพื่อให้ได้ “กาไร สูงที่สุด”
(3) การเดินทางไปยังที่ต่าง โดยเลือก
“ระยะทางที่ สั้นที่สุด”
3. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Alexander มหาราช
พระองค์ทรงสังเกตว่า มุมสะท้อนของแสงนั้น จะเท่ากับมุมตกทบ
ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ สามารถอธิบายโดยหลักการที่ว่า การที่
แสงเดินทางจาก A ไป B โดยผ่านกระจกนั้น มันจะเลือก “เส้นทาง
ที่สั้นที่สุด” เสมอ
เมื่อกาหนดให้กระจกวางในแนวแกน x ดังภาพ สมมุติว่าแสงเริ่ม
เดินทางออกจากจุด A กระทบกับกระจกที่จุด C และพุ่งมายังจุด B
ตามลาดับ ดังนั้น ระยะทางทั้งหมดที่แสงจะต้องเดินทางนั้น มีค่า
เป็น
𝑆 = 𝑎2 + 𝑥2 + 𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2
𝑏
𝑎
A
B
𝜃 𝑟
𝜃𝑖
b
a
d
d-xx
C
C
C
y
x
สมการ (3.1)
3. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Alexander มหาราช
ทั้งนี้ พิสูจน์ได้ว่า ระยะทาง S จะมีค่าน้อยที่สุด ก็ต่อเมื่อ 𝑑𝑆
𝑑𝑥
= 0
สรุปได้ว่า ระยะทางที่แสงเดินทางจาก A  B “เป็นระยะทางสั้น
ที่สุด” เมื่อ มุมตกกระทบ(𝜽𝒊) เท่ากับ มุมสะท้อน(𝜽 𝒓)
𝑑𝑆
𝑑𝑥
=
𝑑
𝑑𝑥
𝑎2 + 𝑥2 + 𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2A
B
y
x
𝜃 𝑟
𝜃𝑖
b
a
d
d-xx
C
C
C
ดังนั้น
𝑥
𝑎2+𝑥2
=
(𝑑−𝑥)
𝑏2+ 𝑑−𝑥 2
0 =
1
2
2𝑥
𝑎2 + 𝑥2
+
1
2
2(𝑑 − 𝑥)(−1)
𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2
กล่าวคือ sin 𝜃𝑖 = sin 𝜃𝑟 หรือได้ว่า 𝜃𝑖 = 𝜃𝑟
ตามแนวคิดของ Alexander แสงเลือกที่จะเดินตามเส้นทางดังกล่าวนี้ ก็เพราะเป็น ระยะทางที่สั้นที่สุด นั่นเอง
สมการ (3.4)
สมการ (3.3)
สมการ (3.2)
4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat
B
𝜃2𝑛2
อย่างไรก็ตาม หลักการของ Alexander นั้น ไม่สามารถอธิบาย
การหักเหของแสงได้ ดังจะเห็นในภาพ ถึงแม้ว่า เส้นทางที่สั้น
ที่สุดจากจุด A ไปยัง B นั้น ก็คือเส้นตรงสีฟ้า
แต่ในความเป็นจริงตามธรรมชาติแล้ว แสงจะมีการหักเหเมื่อมัน
เดินทางผ่านรอยต่อของวัสดุต่างชนิดกัน กล่าวคือ แสงจะ
เดินทางตามเส้นทางสีเขียวนั่นเอง
Fermat มีแนวความคิดที่แตกต่างออกไป จาก Alexander กล่าวคือ Fermat คิดว่าแสงจะเลือก
เดินทางจากจุด A ไปยังจุด B โดยเลือก “เส้นทางที่ใช้เวลาน้อยที่สุด”
ถ้าสมมุติว่า ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางทั้งสองมีค่าเป็น 𝑛1 และ 𝑛1 ดังที่เห็นในภาพ เมื่อนา
หลักการของ Fermat พิสูจน์ให้เห็นจริงว่า
𝑛1 sin 𝜃1 = 𝑛2 sin 𝜃2
A
𝑛1
𝜃1
ซึ่งสมการข้างต้นนี้ เป็น สมการการหักเหของแสงตามกฏของ Snell’s นั่นเอง
สมการ (4.1)
4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat
B
𝜃2𝑛2
A
𝑛1
Δ𝑆2 = 𝑣2 𝑡2
Δ𝑆1 = 𝑣1 𝑡1
ตามแนวความคิด Fermat คิดว่าแสงจะเลือก
เดินทางจากจุด A ไปยังจุด B โดยเลือก
“เส้นทางที่ใช้เวลาน้อยที่สุด”
𝑡𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 = 𝑡1 + 𝑡2
จากความสัมพันธ์ระหว่าง เวลา ระยะทาง และ
ความเร็ว
𝑡𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 =
Δ𝑆1
𝑣1
+
Δ𝑆2
𝑣2
y
x
𝜃1𝑎
𝑏
𝑑
𝑥 𝑑 − 𝑥
𝑡𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 =
𝑎2 + 𝑥2
𝑣1
+
𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2
𝑣2
สมการ (4.2)
สมการ (4.3)
สมการ (4.4)
4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat
B
𝜃2𝑛2
A
𝑛1
จากตามแนวความคิด “เส้นทางที่ใช้เวลาน้อย
ที่สุด” ก็ต่อเมื่อ
𝑑𝑡 𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙
𝑑𝑥
= 0
y
x
𝜃1𝑎
𝑏
𝑑
𝑥 𝑑 − 𝑥
𝑑𝑡𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙
𝑑𝑥
=
𝑑
𝑑𝑥
𝑎2 + 𝑥2
𝑣1
+
𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2
𝑣2
0 =
1
2𝑣1
2𝑥
𝑎2 + 𝑥2
+
1
2𝑣2
2(𝑑 − 𝑥)(−1)
𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2
1
𝑣1
𝑥
𝑎2 + 𝑥2
=
1
𝑣2
(𝑑 − 𝑥)
𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2
Δ𝑆2 = 𝑣2 𝑡2
Δ𝑆1 = 𝑣1 𝑡1
สมการ (4.5)
สมการ (4.6)
สมการ (4.7)
4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat
B
𝜃2𝑛2
A
𝑛1
จากความสัมพันธ์ 𝑛1 =
𝑐0
𝑣1
และ 𝑛2 =
𝑐0
𝑣2
เมื่อ 𝑐0 ความเร็วของคลื่นแสงในสูญญากาศ
y
x
𝜃1𝑎
𝑏
𝑑
𝑥 𝑑 − 𝑥
𝑐0
𝑣1
sin 𝜃1 =
𝑐0
𝑣2
sin 𝜃2
𝑛1 sin 𝜃1 = 𝑛2 sin 𝜃2
ดังนั้นจะได้ กฎการหักเหแสง Snell’s คือ
Δ𝑆2 = 𝑣2 𝑡2
Δ𝑆1 = 𝑣1 𝑡1
1
𝑣1
sin 𝜃1 =
1
𝑣2
sin 𝜃2จาก (4.7) จะได้ว่า
สมการ (4.8)
สมการ (4.9)
5. การเคลื่อนที่ของวัตถุ ตามแนวคิดของ Hamilton
ในการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆนั้น Hamilton ตีพิมพ์ผลงาน 2 ฉบับในปี 1834 และ
1835 ซึ่งต่อมาภายหลังเป็นพื้นฐานของทฤษฏีในทางกลศาสตร์อีกหลายสาขา โดยมีใจความว่า
การที่วัตถุจะเคลื่อนที่จากจุด A ไปยังจุด B นั้น มันจะเลือกเส้นทางที่ 𝑡1
𝑡2
𝐿 𝑥𝑖, 𝑥𝑖 𝑑𝑡 มีค่าน้อยที่สุด
ซึ่งจะได้ขยายความดังต่อไปนี้
A
ยกตัวอย่าง
𝑇 =
1
2
𝑚𝑣2
𝑈 = 𝑚𝑔𝑦
1) เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ก็ย่อมจะมีพิกัด 𝑥𝑖 และ
ความเร็ว 𝑥𝑖 ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
2) ในขณะที่เคลื่อนไหววัตถุมีพลังงานจลย์ ซึ่งขึ้นอยู่กับ
ความเร็ว 𝑇 = 𝑇 𝑥𝑖
3) ถ้าวัตถุอยู่ท่ามกลางสนาม เช่น สนามโน้มถ่วงของ
โลก สนามไฟฟ้า มันก็ย่อมมีพลังงานศักย์ 𝑈 =
𝑈 𝑥𝑖
4) ให้คานิยามของผลต่างระหว่างพลังงานจลย์และ
พลังงานศักย์เป็น 𝐿 = 𝑇 𝑥𝑖 − 𝑈 𝑥𝑖
B
5) ถึงแม้ว่าการเคลื่อนที่จาก A ณ เวลา t1 ไปยัง B ณ เวลา t2 จะเป็นไปได้หลายเส้นทาง เส้นทาง
ที่จริงนั้นจะมีค่า 𝑡1
𝑡2
𝐿 𝑥𝑖, 𝑥𝑖 𝑑𝑡 น้อยที่สุดเสมอ
5. การเคลื่อนที่ของวัตถุ ตามแนวคิดของ Hamilton
ตัวอย่าง การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามแรงโน้มถ่วง บนพื้นผิวโลก
พลังงานจลย์ 𝑇 𝑥, 𝑦 = 1
2
𝑚 𝑥2 + 1
2
𝑚 𝑦2
พลังงานศักย์ 𝑈 𝑦 = 𝑚𝑔𝑦 𝑡
-4162 Js
X-Axis
A B
Y-Axis
100
0
𝑇
𝑑𝑡 1
2
𝑚 𝑥2 + 1
2
𝑚 𝑦2 − 𝑚𝑔𝑦 𝑡
𝑥 𝑡 = 𝑡
𝑦 𝑡 = 50𝑡 − 1
2 𝑔𝑡2
5 Js
𝑥 𝑡 = 𝑡
𝑦 𝑡 = 0
1548 Js
𝑥 𝑡 = 𝑡
𝑦 𝑡 = 40 sin
2𝜋
𝑇
𝑡
-2995 Js
𝑥 𝑡 = 𝑡
𝑦 𝑡 =
30𝑡
30 𝑇 − 𝑡
𝑡 < 𝑇 2
𝑡 ≥ 𝑇 2
2 4 6 8 10
6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation
สมมุติว่าเรามีค่าของ J ซึ่งอยู่ในรูปของ Integral J = 𝛼1
𝛼2
𝑑𝛼 𝑓 𝑞, 𝑞
โดยที่ 𝑓 𝑞, 𝑞 เป็นฟังชันส์ใดๆ 𝑞 ≡ 𝑞 𝛼 𝑞 ≡
𝑑𝑞
𝑑𝛼
ถ้าเราต้องการจะหา 𝑓 𝑞, 𝑞 ที่ทาให้ J มีค่าต่าที่สุด จะทาอย่างไร?
Euler ค้นพบวิธีเป็นครั้งแรกเมื่อปี 1774 โดยกล่าวว่า 𝑓 𝑞, 𝑞 ที่ทาให้ J มีค่าต่า
ที่สุดนั้น เป็นคาตอบของ สมการ
𝜕𝑓
𝜕𝑞
−
𝑑
𝑑𝛼
𝜕𝑓
𝜕 𝑞
= 0 สมการ (6.1)
6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation
ตัวอย่าง จงหาเส้นทางที่สั้นที่สุด ระหว่างจุดสองจุด โดยใช้สมการของ Euler
y
x
A (x1,y1)
y(x)
1) กาหนดให้ y(x) เป็นสมการของเส้นทางที่เชื่อม
ระหว่าง จุด A และ จุด B
2) ดังนั้นระยะทางทั้งหมดในการเคลื่อนที่เท่ากับ
จาก Pythagorean differential
B (x2,y2)
𝑑𝑠
𝑑𝑥
𝑑𝑦
𝑑𝑠 = 𝑑𝑥2 + 𝑑𝑦2
𝑑𝑠 = 𝑑𝑥 1 + 𝑑𝑦2
ระยะทางการเคลื่อนทั้งหมดคือ 𝑆 = 𝑥1
𝑥2
𝑑𝑥 1 + 𝑑𝑦2 และกาหนด 𝑑𝑦 เป็น 𝑦
เมื่อเขียนใหม่จะได้สมการ คือ 𝑆 = 𝑥1
𝑥2
𝑑𝑥 1 + 𝑦2
สมการ (6.2)
สมการ (6.3)
สมการ (6.4)
6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation
y
x
A (x1,y1)
y(x)
3) เมื่อเปรียบเทียบกับสมการของ Euler จะได้
ว่า
4) เมื่อสร้างสมการของ Euler ได้ดังนี้
แทนค่าฟังก์ชัน 𝑓 𝑦, 𝑦 ในสมการ Euler
B (x2,y2)
𝑑𝑠
𝑑𝑥
𝑑𝑦 J = 𝑥1
𝑥2
𝑓 𝑦, 𝑦 𝑑𝑥 จะได้ว่า 𝑓 𝑦, 𝑦 = 1 + 𝑦2
𝜕𝑓 𝑦, 𝑦
𝜕𝑦
−
𝑑
𝑑𝑥
𝜕𝑓 𝑦, 𝑦
𝜕 𝑦
= 0
𝜕 1 + 𝑦2
𝜕𝑦
−
𝑑
𝑑𝑥
𝜕 1 + 𝑦2
𝜕 𝑦
= 0
𝑑
𝑑𝑥
𝑦
1 + 𝑦2
= 0
เมื่อ
𝜕 1+ 𝑦2
𝜕𝑦
= 0 ดังนั้นจะได้ว่า
สมการ (6.5)
สมการ (6.6)
สมการ (6.7)
6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation
y
x
A (x1,y1)
y(x)
เมื่อพิจารณาสมการ (6.7) ที่ 𝑑
𝑑𝑥
𝑦
1+ 𝑦2
= 0
B (x2,y2)
𝑑𝑠
𝑑𝑥
𝑑𝑦
𝑦 = 𝑘 1 + 𝑦2
ดังนั้นจะได้สมการ คือ
𝑦
1+ 𝑦2
= 𝑘
ก็ต่อเมื่อ
𝑦
1+ 𝑦2
= ค่าคงที่
จัดรูปสมการใหม่ได้ว่า
𝑦2
= 𝑘2
1 + 𝑦2
𝑦2
= 𝑘2
+ 𝑘2
𝑦2
𝑦2 − 𝑘2 𝑦2 = 𝑘2
𝑦2
1 − 𝑘2
= 𝑘2
𝑦2 =
𝑘2
1 − 𝑘2
เมื่อ 𝑦 =
𝑘2
1−𝑘2 ซึ่งเทียบเท่า 𝑦 =
𝑑𝑦
𝑑𝑥
สมการ (6.8)
สมการ (6.9)
6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation
y
x
A (x1,y1)
B (x2,y2) เมื่อ 𝑦 =
𝑑𝑦
𝑑𝑥
= ค่าคงที่ ดังนั้นแทน 𝑚 ค่าคงที่
ใดๆ𝑑𝑦
𝑑𝑥
= 𝑚
𝑑𝑦 = 𝑚𝑑𝑥
𝑦 = 𝑚 𝑑𝑥
จะได้สมการเส้นทางที่สั้นที่สุดระหว่างจุดสองจุด คือ 𝑦 𝑥 = 𝑚𝑥 + 𝑐 ซึ่งเป็นเส้นตรง
เมื่อ 𝑚 คือ ค่าความชันของสมการเส้นตรง
𝑐 คือ ค่าคงที่ใดๆตามขอบเขตสมการ
𝑦 𝑥 = 𝑚𝑥 + 𝑐
สมการ (6.10)
สมการ (6.11)
สมการ (6.12)
7. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation แบบมี
เงื่อนไขในบางครั้ง การที่จะหาจุดสูงสุง หรือต่าสุดของฟังชันส์ ก็มีสมการของเงื่อนไข เข้ามาเกี่ยวข้อง
ข้อจากัด : ความยาวรอบรูป 2 เมตร
ฟังชันส์ที่ต้องการ Optimize : พื้นที่
ตัวอย่าง มีเชือกยาว 2 เมตร จะขดให้เป็นวงรูปทรงใด จึงจะได้พื้นที่สูงที่สุด
0 ) วาดรูปให้สวยงาม และ เลือกพิกัดที่
เหมาะสม
(r,q)
Polar Coordinate
r=r(q)
(x,y)
Cartesian
y=y(x) r
q
ในกรณีของรูปทรงข้างต้น
𝜃 ∈ 0,2𝜋
2) สร้างสมการเงื่อนไข 2) กาหนดให้สมการเงื่อนไข (Constraint Equations)
1) กาหนดสิ่งที่ต้องการ Optimize
Lagrange เผยแพร่วิธีการแก้เมื่อปี 1788 (44
ปีหลังจากสมการของ Euler ในข้างต้น)3) สร้างระบบของ Lagrange undetermined
multiplier และแก้สมการ
เรียกว่า Lagrange undetermined
multiplier ซึ่งเป็นค่าคงที่
กรณีตัวอย่าง กรณีใดๆ ในภาษาแบบ Euler-Lagrange
𝐽 =
𝛼1
𝛼2
𝑓 𝑞, 𝑞 𝑑𝛼𝐴 =
0
2𝜋
1
2
𝑟 𝜃 2
𝑑𝜃𝑑𝐴 =
1
2
𝑟 𝜃 2 𝑑𝜃
𝑑𝑆 = 𝑟 𝜃 𝑑𝜃
𝑆 =
0
2𝜋
𝑟 𝜃 𝑑𝜃 = 𝐿
0 =
0
2𝜋
𝑟 𝜃 𝑑𝜃 − 𝐿
0 = 𝑔 𝑞
𝑔 𝑞 →
0
2𝜋
𝑟 𝜃 𝑑𝜃 − 𝐿
𝑞 → 𝑟
𝛼 → 𝜃
𝑓 → 1
2
𝑟2
𝑞 → 𝑟 ≡
𝑑𝑟
𝑑𝜃
λ
𝜕𝑓
𝜕𝑞
−
𝑑
𝑑𝛼
𝜕𝑓
𝜕 𝑞
+ 𝜆
𝜕𝑔
𝜕𝑞
= 0
สมการ (7.1)
สมการ (7.2)
สมการ (7.3)
4) ตระเตรียมความพร้อมของเทอมต่างๆ
5) จากนั้นอ้างถึงสมการของ Lagrange
Undetermined Multiplier Equation
แล้วสร้างสมการของระบบที่กาลังศึกษาอยู่
6) ลุย! (โดยใช้ทักษะทาง
คณิตศาสตร์)
𝑔 𝑟 = 0
𝜕𝑓
𝜕𝑟
−
𝑑
𝑑𝜃
𝜕𝑓
𝜕 𝑟
+ 𝜆
𝜕𝑔
𝜕𝑟
= 0
𝜕𝑓
𝜕𝑟
=
𝜕
𝜕𝑟
1
2
𝑟2
= 𝑟
𝜕𝑓
𝜕 𝑟
=
𝜕
𝜕 𝑟
1
2
𝑟2
= 0
𝜕𝑔
𝜕𝑟
=
𝜕
𝜕𝑟
0
2𝜋
𝑟𝑑𝜃 − 𝐿
=
𝜕
𝜕𝑟
0
2𝜋
𝑟𝑑𝜃 −
𝜕
𝜕𝑟
𝐿
=
0
2𝜋
𝜕
𝜕𝑟
𝑟 𝑟𝑑𝜃
=
0
2𝜋
𝑑𝜃
𝜕𝑔
𝜕𝑟
= 2𝜋
𝑟 −
𝑑
𝑑𝜃
0 + λ2𝜋 = 0
0
2𝜋
𝑟𝑑𝜃 − 𝐿 = 0
สมการ (7.4)
สมการ (7.5)
สมการ (7.6)
สมการ (7.7)
สมการ (7.8)
สมการ (7.9)
จากสมการ Euler-Lagrange
ลดรูปให้ง่ายขึ้น
สมการ (7.10)
สมการ (7.11)
แทนค่าของ 𝑟 ในสมการ (7.10) เข้าไปในสมการ
(7.11)
แทนค่าของ λ คือเข้าไปในสมการ (7.10)
𝑟 −
𝑑
𝑑𝜃
0 + λ2𝜋 = 0
0
2𝜋
𝑟𝑑𝜃 − 𝐿 = 0
𝑟 = −λ2𝜋
0
2𝜋
𝑟𝑑𝜃 = 𝐿
0
2𝜋
−λ2𝜋 𝑑𝜃 = 𝐿 −λ2𝜋
0
2𝜋
𝑑𝜃 = 𝐿 𝑟 = − −
𝐿
4𝜋2
2𝜋
ซึ่งเป็นสมการของวงกลม ที่มีรัศมีเท่ากับ 𝐿
2𝜋
จึงจะเป็นรูปที่มีพื้นที่มากที่สุด
𝜆 = −
𝐿
4𝜋2
𝑟 𝜃 =
𝐿
2𝜋
สมการ (7.14)
สมการ (7.12)
สมการ (7.13)
8. โมเดลปัญหาแบบ “Catenary”
Catenary มีรากศัพท์มาจากคาภาษาลาตินว่า “Catena” ซึ่งแปลว่า โซ่ มีที่มาจากการศึกษา
ลักษณะความโค้งของโซ่ ที่ปลายทั้งสองข้างขึงอยู่ในระดับเดียวกัน
ปี1638 - Galileo “claims (ขี้เดา)” ว่าโซ่จะห้อยเป็นรูป Parabola
ปี1669 - Joachim Jungius พิสูจน์ให้เห็นจริงว่าไม่ใช่ Parabola แต่ทว่ารูปทรงจริงจะเป็นอย่างไร
นั้น ไม่ทราบ “แล้วรู้ได้ไงว่าไม่ Parabola”
ปี1671 - Robert Hook ประกาศอย่างเป็นทางการว่าต่อราชวงศ์อังกฤษว่า สามารถออกแบบ
รูปทรงของโดม ที่มีความแข็งแรงที่สุด แต่ไม่บอกวิธีการทา (ปล่อยให้งง…)
ปี 1697 - Jacob Bernoulli ” ถ้าลูกศิษย์ตัวเองให้แก้โจทย์ข้อนี้ “
- Leibneiz, Huygens และ Johann Bernoulli แก้สมการรูปทรงของโซ่ได้สาเหร็จ
3 ) Euler-Lagrange สาหรับการแก้ปัญหา
Isoperimetric กรณีที่ไม่มี 𝑥 ในสมการ 𝑈∗
1 ) กาหนดสิ่งที่ต้องการของ Euler-
Lagrange
x
y
(+a,0)(-a,0)
y(x) คืออะไร?
𝑈∗
= 𝑈 + 𝜆𝑔
𝑈∗
=
−𝑎
+𝑎
𝜌𝑔𝑦 1 + 𝑦 2 + 𝜆 1 + 𝑦 2 𝑑𝑥
ตัวอย่าง : Catenary
𝑈∗ =
−𝑎
+𝑎
𝐹 𝑦, 𝑥, 𝑦 𝑑𝑥
2 ) เขียนตามแบบ Euler-Lagrange
𝜕𝐹
𝜕𝑦
−
𝑑
𝑑𝑥
𝜕𝐹
𝜕 𝑦
= 0
𝐹 − 𝑦
𝜕𝐹
𝜕 𝑦
= 𝐷
𝐷 คือ เป็นค่าคงที่
ใดๆ


สมการ (8.2)
สมการ (8.2)
สมการ (8.1)
สมการ (8.3)
สมการ (8.4)
4) ตระเตรียมความพร้อมของเทอมต่างๆ
5) ลุย!! อีกแล้วครับ…(โดยใช้ทักษะทาง
คณิตศาสตร์)
𝐹 = 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 1 + 𝑦 2
𝑦
𝜕𝐹
𝜕 𝑦
= 𝑦
𝜕
𝜕 𝑦
𝑦 +
𝜆
𝜌𝑔
𝜌𝑔 1 − 𝑦 2
𝐹 − 𝑦
𝜕𝐹
𝜕 𝑦
= 𝐷
แทนค่าในสมการ Euler-Lagrange สาหรับ
การแก้ปัญหาแบบ Isoperimetric
𝐹 = 𝜌𝑔 𝑦 +
𝜆
𝜌𝑔
1 + 𝑦 2
𝑦
𝜕𝐹
𝜕 𝑦
= 𝑦 𝑦 +
𝜆
𝜌𝑔
𝜌𝑔 𝑦
1 + 𝑦 2
𝑦 +
𝜆
𝜌𝑔
𝜌𝑔 1 + 𝑦 2
− 𝑦 𝑦 +
𝜆
𝜌𝑔
𝜌𝑔 𝑦
1 + 𝑦 2
= D
𝜌𝑔 𝑦 +
𝜆
𝜌𝑔
1 + 𝑦 2 −
𝑦 2
1 + 𝑦 2
= D
𝜌𝑔𝑦 + 𝜆
1
1 + 𝑦 2
= D
สมการ (8.5)
สมการ (8.6)
สมการ (8.7)
สมการ (8.9)
สมการ (8.11)
สมการ (8.10)
6 ) แก้สมการในรูปของ 𝑦 จากสมการ 1
𝑦 =
1
𝐷2
𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 2 − 1
เมื่อความสัมพันธ์ของ 𝑦 =
𝑑𝑦
𝑑𝑥
ดังนั้น
𝑥 = 𝐷
𝑑𝑦
𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 2 − 1
𝑥 =
𝐷
𝜌𝑔
𝑙𝑛 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 + 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 2 − 1 + 𝐶
𝑥 =
𝐷
𝜌𝑔
cosh−1 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 + 𝐶
หรือในแบบของ cosh−1 𝜃
y(x) =
1
𝜌𝑔
cosh
𝜌𝑔 𝑥 − 𝐶
𝐷
−
𝜆
𝜌𝑔
สมการ (8.12)
สมการ (8.13)
จัดให้อยู่ในรูปของ y(x)
สมการ (8.15)
สมการ (8.14)
ลักษณะความโค้งแบบ Catenary เป็นความโค้งของโดมที่ให้ความ “แข็งแรงสูง
ที่สุด”
The Gateway ณ เมือง St.Louis, USA
สะพาน Golden Gate Bridge แบบ
Catenary
Why isn't Parabola?
9. สมการการเคลื่อนที่ของ Lagrange
ตามหลักการของ Hamilton วัตถุจะเคลื่อนที่ตามเส้นทางที่ทาให้ 𝑡1
𝑡2
𝐿 𝑞𝑖, 𝑞𝑖 𝑑𝑡 มีค่าน้อย
ที่สุด
โดยที่ 𝐿 𝑞𝑖, 𝑞𝑖 ก็คือผลต่างของพลังงานศักย์และพลังงานจลย์ หรือ 𝐿 𝑞𝑖, 𝑞𝑖 ≡ 𝑇 𝑞𝑖 −
𝑈 𝑞𝑖
คาถามก็คือว่า แล้วเส้นทางที่ว่านี้ จะหาได้อย่างไร?
คาตอบคือ เราสามารถใช้หลักการของ Euler มาแก้หาจุดต่าสุดได้ดังต่อไปนี้
ซึ่ง g 𝑞𝑖 คือ สมการข้อจากัด (equations of constraint) ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่า
พิกัดต่างๆ ที่เขียนให้อยุ่ในรูปมาตรฐาน g 𝑞𝑖 = 0
สมการนี้เรียกว่า Lagrange Equation
𝜕𝐿
𝜕𝑞𝑖
−
𝑑
𝑑𝑡
𝜕𝐿
𝜕 𝑞𝑖
+ 𝜆
𝜕𝑔
𝜕𝑞𝑖
= 0
ตัวอย่าง พิจารณาระบบที่มีพิกัดแบบทรงกระบอก ถ้าเรางอลวดเป็นทรงพาราโบล่า ที่มีสมการ
𝑧 = 𝑐𝑟2
จากนั้นนาลูกปัดมวล 𝑚 ไปเสียบไว้ที่ข้างไดข้างหนึ่ง เส้นลวดจะต้องหมุนด้วย
ความเร็วเชิงมุม 𝜔 เท่าได้ ลูดปัดจึงจะไม่หล่นลงพื้น แต่อยู่นิ่งกับที่?
วิธีทา พิจารณาพลังงานของระบบทั้งหมด
และ พร้อมพิจารณาเงื่อนไขการเคลื่อนที่
𝑇 = 1
2
𝑚 𝑟2 + 𝑟 𝜃2 + 𝑧2
𝑈 = 𝑚𝑔𝑧
𝑧 = 𝑐𝑟2
ตามแบบ Lagrange ได้ดังนี้
𝐿 = 𝑇 − 𝑈
𝑧 = 2𝑐 𝑟𝑟
𝜃 = 𝜔𝑡 𝜃 = 𝜔
𝐿 = 𝑚
2 𝑟2
+ 𝑟2
𝜔2
+ 4𝑐2
𝑟2
𝑟2
− 𝑚𝑔𝑐𝑟2
สมการ (9.5)
สมการ (9.4)
สมการ (9.3)
สมการ (9.2)
สมการ (9.1)
สมการ (9.6)
𝑧 = 𝑐𝑟2
𝜔
𝜃
𝑟
𝑧
𝑅
𝑥
𝑧
𝑦
จะได้สมการพลังงานของ Lagrange
𝜕𝐿
𝜕𝑟
= 𝑚 4𝑐2
𝑟 𝑟2
+ 𝑟𝜔2
− 2𝑔𝑐𝑟
แท่นค่าลงในสมการ Lagrange
𝐿 = 𝑚
2
𝑟2 + 𝑟2 𝜔2 + 4𝑐2 𝑟2 𝑟2 − 𝑚𝑔𝑐𝑟2
𝑑
𝑑𝑡
𝜕𝐿
𝜕 𝑟
=
𝑚
2
2 𝑟 + 16𝑐2
𝑟 𝑟2
+ 8𝑐2
𝑟2
𝑟
𝜕𝐿
𝜕 𝑟
=
𝑚
2
2 𝑟 + 8𝑐2
𝑟2
𝑟
𝜕𝐿
𝜕𝑟
−
𝑑
𝑑𝑡
𝜕𝐿
𝜕 𝑟
= 0
สมการ (9.6)
สมการ (9.7)
สมการ (9.8)
สมการ (9.9)
สมการ (9.10)
𝑧 = 𝑐𝑟2
𝜔
𝜃
𝑟
𝑧
𝑅
𝑥
𝑧
𝑦
จะได้สมการ สมการการเคลื่อนที่ในรูปทั่ว คือ
เมื่อพิจารณาที่ลูกปัดลอยนิ่งและไม่ตก จะเห็น
ได้ว่า 𝑟 = R = ค่าคงที่ ดังนั้น 𝑟 = 𝑟 = 0 จาก
สมการข้างต้นทาให้เราสามารถหาค่า 𝜔 ที่จะ
ลูกปัดลอยนิ่งและไม่ตก คือ
𝑟 1 − 4𝑐2
𝑟2
+ 𝑟2
4𝑐2
𝑟 + 𝑟 2𝑔𝑐 − 𝜔2
= 0
𝑅 2𝑔𝑐 − 𝜔2
= 0
𝜔 = 2𝑔𝑐
สมการ (9.11)
สมการ (9.11)
𝑧 = 𝑐𝑟2
𝜔
𝜃
𝑟
𝑧
𝑅
𝑥
𝑧
𝑦
จะได้ค่า 𝜔 ที่น้อยที่สุดลูกปัดลอยนิ่งได้ คือ 2𝑔𝑐
10. ความหมายของ 𝜆
𝜕𝑔
𝜕𝑞 𝑖
จากสมการของ Lagrange ในระบบแบบมีข้อจากัด
Force of Constrain แปลว่าแรง ที่มีผลทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามข้อจากัดนั้นๆ
ตัวอย่าง การเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวราบ กาหนดให้ตัวแปรอิสระเป็น 𝑥, 𝑦
จะได้ว่า 𝜆
𝜕𝑔
𝜕𝑞 𝑖
= 𝑚𝑔
𝜕𝐿
𝜕𝑞𝑖
−
𝑑
𝑑𝑡
𝜕𝐿
𝜕 𝑞𝑖
+ 𝜆
𝜕𝑔
𝜕𝑞𝑖
= 0
𝑚
เราสามารถที่จะตีความได้ว่า 𝝀
𝝏𝒈
𝝏𝒒 𝒊
ก็คือ Force of Constrain นั่นเอง
ตัวอย่าง วัตถุที่เคลื่อนที่บนทรงกลม จงหามุม 𝜃0 ที่วัตถุเริ่มเคลื่อนที่ออกจากพื้นผิว
สร้างสมการการ
เคลื่อนที่ได้ดังนี้
𝑔 𝑟, 𝜃 = 𝑟 − 𝑎 = 0𝑚
𝜃0
𝑟 = 𝑎
พิจารณาเงื่อนไขข้อจากัดวัตถุเคลื่อนที่มวล 𝑚 ในที่นี้
คือ
พิจารณาพลังงานจลน์ และ พลังงานศักดิ์
𝑇 =
𝑚
2
𝑟2 + 𝑟2 𝜃2
𝑈 = 𝑚𝑔𝑟 cos 𝜃
𝐿 = 𝑇 − 𝑈
𝐿 =
𝑚
2
𝑟2
+ 𝑟2
𝜃2
− 𝑚𝑔𝑟 cos 𝜃
𝜕𝐿
𝜕𝑟
−
𝑑
𝑑𝑡
𝜕𝐿
𝜕 𝑟
+ 𝜆
𝜕𝑔
𝜕𝑟
= 0
𝜕𝐿
𝜕𝜃
−
𝑑
𝑑𝑡
𝜕𝐿
𝜕 𝜃
+ 𝜆
𝜕𝑔
𝜕𝜃
= 0
𝜕𝑔
𝜕𝑟
= 1
𝜕𝑔
𝜕𝜃
= 0
สมการ (10.1)
สมการ (10.2)
สมการ (10.3)
สมการ (10.4)
สมการ (10.5)
สมการ (10.6)
สมการ (10.7)
สมการ (10.8)
สมการ (10.9)
𝑚
𝜃0
𝑟 = 𝑎
เมื่อแทนค่า 𝐿 ลงในสมการการเคลื่อนที่ของ Lagrange ได้ดังนี้
𝑚𝑟 𝜃2 − 𝑚𝑔 cos 𝜃 − 𝑚 𝑟 + 𝜆 = 0
𝑚𝑔𝑟 sin 𝜃 − 𝑚𝑟2
𝜃 − 2𝑚𝑟 𝑟 𝜃 = 0
เมื่อแทนค่า 𝑟 = 𝑎 ดังนั้น 𝑟 = 𝑟 = 0
𝑚𝑎 𝜃2 − 𝑚𝑔 cos 𝜃 + 𝜆 = 0
𝑚𝑔𝑎 sin 𝜃 − 𝑚𝑎2 𝜃 = 0
𝜃 =
𝑔
𝑎
sin 𝜃
จากสมการ (10.13) จะได้ว่า
จาก Chain rule จะได้ 𝜃 =
𝑑
𝑑𝑡
𝑑𝜃
𝑑𝑡
=
𝑑 𝜃
𝑑𝑡
=
𝑑 𝜃
𝑑𝜃
𝑑𝜃
𝑑𝑡
= 𝜃
𝑑 𝜃
𝑑𝜃
สมการ (10.10)
สมการ (10.11)
สมการ (10.12)
สมการ (10.13)
สมการ (10.14)
สมการ (10.15)
𝑚
𝜃0
𝑟 = 𝑎
จากเงื่อไขของการเคลื่อน 𝜃 = 0 ที่ t = 0 เมื่อ
𝜃 = 0 แทนค่า 𝜃 ในสมการของ 𝜆 ได้ดังนี้
1
2 𝑚𝑎 −
𝑔
𝑎
cos 𝜃 +
𝑔
𝑎
− 𝑚𝑔 cos 𝜃 + 𝜆 = 0
𝜃 𝑑 𝜃 =
𝑔
𝑎
sin 𝜃 𝑑𝜃
จะได้ว่า 𝜆 = 𝑚𝑔 3 cos 𝜃 − 2
เมื่อแทนค่า 𝜃 = 𝜃
𝑑 𝜃
𝑑𝜃
กลับไปในสมการ (10.14)
𝜃
2
= −
𝑔
𝑎
cos 𝜃 +
𝑔
𝑎
จากเงื่อไขมวลจะหลุดจากผิวโครงเมื่อ 𝜆 = 0 ดังนั้นจะค่า 𝜃 ที่มากที่สุดที่ คือ
𝜆 = 0 = 𝑚𝑔 3 cos 𝜃 − 2
𝜃0 = cos−1
2
3
สมการ (10.16)
สมการ (10.17)
สมการ (10.18)
สมการ (10.19)
สมการ (10.20)
ตัวอย่าง ที่นิยมกันในการแก้ปัญหาแบบ Lagrange
ตัวอย่าง 10.1
𝜃
𝑅
𝑦
𝛼
𝑔
𝑦
𝑥
𝑚1
𝑚1
ตัวอย่าง 10.2
𝜃1
𝜃2
𝑔
ตัวอย่าง ที่นิยมกันในการแก้ปัญหาแบบ Lagrange
ตัวอย่าง 10.3
𝑔
𝑚1
𝑚3𝑚3
𝛼
𝑔
𝑀
ตัวอย่าง 10.4
𝑣
1. Σ 𝐹 = 0
2. Σ 𝐹 = 𝑚 𝑥
3. 𝐹 = − 𝐹
Sir Isaac Newton
𝜕𝐿
𝜕𝑞𝑖
−
𝑑
𝑑𝑡
𝜕𝐿
𝜕 𝑞𝑖
+ 𝜆
𝜕𝑔
𝜕𝑞𝑖
= 0
Joseph-Louis Lagrange
สรุป : Newton’s Law และ Lagrange’s Equations
แรง พลังงาน
เวกเตอร์ สเกลาร์
ณภัทรษกร สารพัฒน์
E-Mail : napatsakons@nu.ac.th
Thank you for
your attention.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมWijitta DevilTeacher
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]Chanunya Chompoowong
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยsawed kodnara
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารพัน พัน
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิตบทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิตGawewat Dechaapinun
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 

Was ist angesagt? (20)

ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิตบทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 

Andere mochten auch

บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55yadanoknun
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
Lagrange's Theorem
Lagrange's TheoremLagrange's Theorem
Lagrange's Theoremjohn1129
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่Thepsatri Rajabhat University
 

Andere mochten auch (20)

Lecture lagrange[1]
Lecture lagrange[1]Lecture lagrange[1]
Lecture lagrange[1]
 
Lagrange
LagrangeLagrange
Lagrange
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
Graphs
GraphsGraphs
Graphs
 
โหลดPdf
โหลดPdfโหลดPdf
โหลดPdf
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
Lagrange's theorem
Lagrange's theoremLagrange's theorem
Lagrange's theorem
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Lagrange's Theorem
Lagrange's TheoremLagrange's Theorem
Lagrange's Theorem
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
 
Energy methods for damped systems
Energy methods for damped systemsEnergy methods for damped systems
Energy methods for damped systems
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
CHAPTER 4 Structure of the Atom
CHAPTER 4Structure of the AtomCHAPTER 4Structure of the Atom
CHAPTER 4 Structure of the Atom
 

Ähnlich wie กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations

ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมสุริยะ ไฝชัยภูมิ
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์Aey Usanee
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)Wichai Likitponrak
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53shanesha
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์guest52df33e
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์guest52df33e
 

Ähnlich wie กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations (20)

ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 

Mehr von Thepsatri Rajabhat University

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics IThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 

Mehr von Thepsatri Rajabhat University (20)

Timeline of atomic models
Timeline of atomic modelsTimeline of atomic models
Timeline of atomic models
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
CHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and SolidsCHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and Solids
 
Trm 7
Trm 7Trm 7
Trm 7
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
 
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum TheoryCHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 

กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations

  • 1. กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations ณภัทรษกร สารพัฒน์
  • 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการคานวณกลศาสตร์แบบลากรางจ์ 2. เพื่อนากลศาสตร์แบบลากรางจ์ ไปประยุกต์ใช้กับการเคลื่อนที่แบบ ต่างๆ ที่มีความซับซ้อนและแก้ปัญหาด้วยกลศาสตร์นิวตันได้ยาก For What !!!
  • 3. Outline : กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations • 1. บทนา • 2. Hamilton Principle • 3. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Alexander มหาราช • 4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat • 5. การเคลื่อนที่ของวัตถุ ตามแนวคิดของ Hamilton • 6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation • 7. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation แบบมีเงื่อนไข • 8. โมเดลปัญหาแบบ “Catenary” • 9. สมการการเคลื่อนที่ของ Lagrange • 10. ความหมายของ 𝝀 𝝏𝒈 𝝏𝒒 𝒊
  • 4. 1. บทนา ทบทวน กฎของนิวตัน (Newton’s laws) กฎข้อที่ 1 กฎของความเฉื่อย (Inertia) หรือ 𝜮𝑭 = 𝟎 “วัตถุที่หยุดนิ่งจะพยายามหยุดนิ่งอยู่กับที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทา ส่วนวัตถุที่ เคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทาเช่นกัน“ กฎข้อที่ 2 กฎของแรง (Force) หรือ 𝜮𝑭 = 𝒎𝒂 “ความเร่งของวัตถุจะแปรผันตามแรงที่กระทาต่อวัตถุ แต่จะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ” กฎข้อที่ 3 กฎของแรงปฏิกิริยา (Action = Reaction) หรือ 𝑭 = −𝑭 “แรงที่วัตถุที่หนึ่งกระทาต่อวัตถุที่สอง ย่อมเท่ากับ แรงที่วัตถุที่สองกระทาต่อวัตถุที่หนึ่ง แต่ ทิศทางตรงข้ามกัน” 𝑚 𝑭 𝟏𝑭 𝟐 𝜮𝑭 = 𝑭 𝟏 + 𝑭 𝟐 = 𝟎 𝑚 𝑭 𝟏𝑭 𝟐 𝜮𝑭 = 𝑭 𝟏 + 𝑭 𝟐 ≠ 𝟎 𝑚𝑭 −𝑭
  • 5. 1. บทนา จากที่ผ่านมา เราได้ศึกษาถึงกฏของนิวตัน (กฎข้อที่ 2ของนิวตัน) ซึ่งสามารถนามาใช้ใน การ ทานายการเคลื่อนที่ ของวัตถุต่างๆ ในกรณีที่ผู้สังเกตอยู่นิ่ง (หรือมีความเร็วคงที่) จะ ได้ว่า สมการ (1.1)Σ 𝐹 = 𝑚 𝑎 = 𝑚 𝑣 = 𝑚 𝑥 𝑥 = 𝑑 𝑑𝑡 𝑑𝑥 𝑑𝑡 = 𝑑 𝑥 𝑑𝑡 = 𝑑 𝑣 𝑑𝑡 = 𝑎 𝑥 คือ ระยะทางที่วัถุเคลื่อนที่ได้ 𝑣 คือ ความเร็วของวัตถุ 𝑎 คือ ความเร่งของวัตถุ
  • 6. 1. บทนา 𝑚 𝐹 เวลา 𝑡1 𝑚 𝐹 เวลา 𝑡2 ตาแหน่ง 𝑥1 ตาแหน่ง 𝑥2 𝑦 𝑥 ∆𝒙 = 𝒙 𝟐 − 𝒙 𝟏 ∆𝑡 = 𝒕 𝟐 − 𝒕 𝟏ความเร็ว 𝑣2 ความเร็ว 𝑣1  ระยะทางที่เปลี่ยนไปต่อเวลาก็คือ “ความเร็ว” เป็น 𝑣 = ∆ 𝑥 ∆𝑡 เมื่อ 𝑣 = lim ∆𝑡→0 ∆ 𝑥 ∆𝑡 = 𝑑 𝑥 𝑑𝑡  ระยะทางที่เปลี่ยนไปต่อเวลาก็คือ “ความเร่ง” เป็น 𝑎 = ∆𝑣 ∆𝑡 เมื่อ 𝑎 = lim ∆𝑡→0 ∆𝑣 ∆𝑡 = 𝑑𝑣 𝑑𝑡 ∆𝒗 = 𝒗 𝟐 − 𝒗 𝟏
  • 7. 1. บทนา ภาพที่ (1) ในขณะที่วัตถุกาลังเลื่อนลงมาก็ย่อม มีความเร่งในทิศขนานกับพื้นลาดหรืออีกนัย หนึ่ง Σ 𝐹 = 𝑇 + 𝑓𝑘 + 𝑚 𝑔 + 𝑁 สมการ (1.2) 𝑁 𝑓𝑘 𝑇 𝑚 𝑔 𝜃 𝜇 𝑘 𝑥 𝑦 หาสมการการเคื่อนที่ตามแบบของ กฎของนิวตัน ยกตัวอย่าง กล่องกระดาษที่เลื่อนลงมาตามพื้นลาด ดังจะเห็นในภาพที่ (1)
  • 8. 1. บทนา ถ้ากล่องเริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้นเป็นศูนย์ และสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน จลย์เป็น 𝜇 𝑘 จงทานายตาแหน่งของกล่อง ณ เวลาใดๆ เนื่องจากวัตถุไม่มีการเคลื่อนที่ตามแนวแกน 𝑦 𝑁 = 𝑚 𝑔 cos 𝜃 โดยธรรมชาติของแรงเสียดทานนั้น แปรผันตรง กับแรง 𝑁 𝑓𝑘 = 𝜇 𝑘 𝑁 = 𝜇 𝑘 𝑚 𝑔 cos 𝜃 แรงที่เกิดจากน้าหนักวัตถุตามแนวแกน 𝑥 𝑇 = 𝑚 𝑔 sin 𝜃 สมการ (1.3) สมการ (1.4) สมการ (1.5) 𝑁 𝑓𝑘 𝑇 𝑚 𝑔 𝜃 𝜇 𝑘 𝑥 𝑦
  • 9. 1. บทนา Σ𝐹𝑥 = 𝑇 − 𝑓𝑘 = 𝑚 𝑔 sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 𝑚 𝑔 cos 𝜃 = 𝑚 𝑔(sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 cos 𝜃) ดังนั้น แรงลัพท์ที่กระทากับวัตถุตามแนวแกน 𝑥 คือ จากสมการการเคลื่อนที่ของนิวตัน จะได้ว่า 𝑥 = Σ𝐹𝑥 𝑚 ตาแหน่งของกล่อง ณ เวลาใดๆ ก็คือ 𝑑 𝑑𝑡 𝑑 𝑥 𝑑𝑡 = 𝑔 sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 cos 𝜃 𝑥(𝑡) = 1 2 𝑔(sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 cos 𝜃)𝑡2 สมการ (1.7) สมการ (1.9) สมการ (1.6) 𝑑 𝑑 𝑥 = 𝑔 sin 𝜃 − 𝜇 𝑘 cos 𝜃 𝑑𝑡 𝑑 𝑡 𝑁 𝑓𝑘 𝑇 𝑚 𝑔 𝜃 𝜇 𝑘 𝑥 𝑦 สมการ (1.8)
  • 10. 1. บทนา 𝑚 𝑔 𝑚 𝑔 𝑁1 𝑁2 𝑁1 𝑁2 ภาพที่ (1.2) แสดงการเคลื่อนที่ของกล่องใน รางที่เป็นเส้นโค้ง เนื่องจากตัวกล่องมีจุดสัมผัส กับรางอยู่ 2 จุด แรงที่ตัวรางกระทากับกล่อง จึงมีความซับซ้อน อีกทั้งตัวรางที่โค้ง ทาให้ ทิศทางของแรง 𝑁1 และ 𝑁2 เปลี่ยนแปลงไป ตามแหน่งของกล่อง เมื่อการคานวนหาแรงลัพท์เป็นไปด้วยความลาบาก กฏ ของนิวตันตามสมการที่ (1.1) ในบางครั้งอาจไม่สามารถ นามาศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในระบบนั้นๆได้ ตามตัวอย่างข้างต้น จะเห็นว่า กลศาสตร์ของนิวตันนั้นมีหัวใจสาคัญ ก็คือการหา แรงลัพท์ที่กระทา กับวัตถุใดๆ แต่ในบางกรณี การคานวนหาแรงลัพท์ อาจจะกระทาได้ลาบาก ดังจะเห็นในภาพที่ (1.2)
  • 11. 1. บทนา กฏของ Hamilton เป็นอีกมุมมองหนึ่งที่สามารถใช้ในการทานาย การเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้ คล้ายๆ กับกฏของนิวตัน ซึ่งทั้ง 2 ทฤษฏีนี้ มีประวัติความเป็นมา ยาวนานไม่แพ้กัน Newton ริเริ่ม Calculus of Variations 1686 Johann and Jacob Bernoulli 1696 Euler 1744 ขยายขอบเขต Legendre 1786 Lagrange 1788 Hamilton 1833 Jacobi 1837 ต่อยอด อย่างไรก็ตาม กฏของ Hamilton นั้น นอกจากจะนามาใช้ในแง่ของกลศาสตร์ กล่าวคือ ว่าด้วย การเคลื่อนที่ของอนุภาค แล้วนั้น กฏของ Hamilton ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการศึกษา สาขาอื่นๆของฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น Optics สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ทฤษฏีสัมพัธภาพทั่วไป quantum electrodynamics และอื่นๆ
  • 12. 2. Hamilton Principle เพื่อที่จะหากฏเกณฑ์ทางฟิสิกส์ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ของธรรมชาตินั้น เริ่มมา ตั้งแต่อดีต นักวิทยาศาสตร์มีแนวความคิดเกี่ยวกับ Minimum Principle กล่าวคือ การ เคลื่อนไหวของสรรพสิ่งนั้น เกิดจากการที่ธรรมชาติพยามที่จะทาให้ปริมาณในทางฟิสิกส์ มีค่าต่า ที่สุด (หรือสูงที่สุด) ยกตัวอย่างเช่น (1) ลูกบอล พยามจะอยู่ใน สถานะที่มี “พลังงาน ต่าที่สุด” (2) นักธุรกิจวางแผนการตลาด เพื่อให้ได้ “กาไร สูงที่สุด” (3) การเดินทางไปยังที่ต่าง โดยเลือก “ระยะทางที่ สั้นที่สุด”
  • 13. 3. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Alexander มหาราช พระองค์ทรงสังเกตว่า มุมสะท้อนของแสงนั้น จะเท่ากับมุมตกทบ ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ สามารถอธิบายโดยหลักการที่ว่า การที่ แสงเดินทางจาก A ไป B โดยผ่านกระจกนั้น มันจะเลือก “เส้นทาง ที่สั้นที่สุด” เสมอ เมื่อกาหนดให้กระจกวางในแนวแกน x ดังภาพ สมมุติว่าแสงเริ่ม เดินทางออกจากจุด A กระทบกับกระจกที่จุด C และพุ่งมายังจุด B ตามลาดับ ดังนั้น ระยะทางทั้งหมดที่แสงจะต้องเดินทางนั้น มีค่า เป็น 𝑆 = 𝑎2 + 𝑥2 + 𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2 𝑏 𝑎 A B 𝜃 𝑟 𝜃𝑖 b a d d-xx C C C y x สมการ (3.1)
  • 14. 3. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Alexander มหาราช ทั้งนี้ พิสูจน์ได้ว่า ระยะทาง S จะมีค่าน้อยที่สุด ก็ต่อเมื่อ 𝑑𝑆 𝑑𝑥 = 0 สรุปได้ว่า ระยะทางที่แสงเดินทางจาก A  B “เป็นระยะทางสั้น ที่สุด” เมื่อ มุมตกกระทบ(𝜽𝒊) เท่ากับ มุมสะท้อน(𝜽 𝒓) 𝑑𝑆 𝑑𝑥 = 𝑑 𝑑𝑥 𝑎2 + 𝑥2 + 𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2A B y x 𝜃 𝑟 𝜃𝑖 b a d d-xx C C C ดังนั้น 𝑥 𝑎2+𝑥2 = (𝑑−𝑥) 𝑏2+ 𝑑−𝑥 2 0 = 1 2 2𝑥 𝑎2 + 𝑥2 + 1 2 2(𝑑 − 𝑥)(−1) 𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2 กล่าวคือ sin 𝜃𝑖 = sin 𝜃𝑟 หรือได้ว่า 𝜃𝑖 = 𝜃𝑟 ตามแนวคิดของ Alexander แสงเลือกที่จะเดินตามเส้นทางดังกล่าวนี้ ก็เพราะเป็น ระยะทางที่สั้นที่สุด นั่นเอง สมการ (3.4) สมการ (3.3) สมการ (3.2)
  • 15. 4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat B 𝜃2𝑛2 อย่างไรก็ตาม หลักการของ Alexander นั้น ไม่สามารถอธิบาย การหักเหของแสงได้ ดังจะเห็นในภาพ ถึงแม้ว่า เส้นทางที่สั้น ที่สุดจากจุด A ไปยัง B นั้น ก็คือเส้นตรงสีฟ้า แต่ในความเป็นจริงตามธรรมชาติแล้ว แสงจะมีการหักเหเมื่อมัน เดินทางผ่านรอยต่อของวัสดุต่างชนิดกัน กล่าวคือ แสงจะ เดินทางตามเส้นทางสีเขียวนั่นเอง Fermat มีแนวความคิดที่แตกต่างออกไป จาก Alexander กล่าวคือ Fermat คิดว่าแสงจะเลือก เดินทางจากจุด A ไปยังจุด B โดยเลือก “เส้นทางที่ใช้เวลาน้อยที่สุด” ถ้าสมมุติว่า ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางทั้งสองมีค่าเป็น 𝑛1 และ 𝑛1 ดังที่เห็นในภาพ เมื่อนา หลักการของ Fermat พิสูจน์ให้เห็นจริงว่า 𝑛1 sin 𝜃1 = 𝑛2 sin 𝜃2 A 𝑛1 𝜃1 ซึ่งสมการข้างต้นนี้ เป็น สมการการหักเหของแสงตามกฏของ Snell’s นั่นเอง สมการ (4.1)
  • 16. 4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat B 𝜃2𝑛2 A 𝑛1 Δ𝑆2 = 𝑣2 𝑡2 Δ𝑆1 = 𝑣1 𝑡1 ตามแนวความคิด Fermat คิดว่าแสงจะเลือก เดินทางจากจุด A ไปยังจุด B โดยเลือก “เส้นทางที่ใช้เวลาน้อยที่สุด” 𝑡𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 = 𝑡1 + 𝑡2 จากความสัมพันธ์ระหว่าง เวลา ระยะทาง และ ความเร็ว 𝑡𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 = Δ𝑆1 𝑣1 + Δ𝑆2 𝑣2 y x 𝜃1𝑎 𝑏 𝑑 𝑥 𝑑 − 𝑥 𝑡𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 = 𝑎2 + 𝑥2 𝑣1 + 𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2 𝑣2 สมการ (4.2) สมการ (4.3) สมการ (4.4)
  • 17. 4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat B 𝜃2𝑛2 A 𝑛1 จากตามแนวความคิด “เส้นทางที่ใช้เวลาน้อย ที่สุด” ก็ต่อเมื่อ 𝑑𝑡 𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 𝑑𝑥 = 0 y x 𝜃1𝑎 𝑏 𝑑 𝑥 𝑑 − 𝑥 𝑑𝑡𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 𝑑𝑥 = 𝑑 𝑑𝑥 𝑎2 + 𝑥2 𝑣1 + 𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2 𝑣2 0 = 1 2𝑣1 2𝑥 𝑎2 + 𝑥2 + 1 2𝑣2 2(𝑑 − 𝑥)(−1) 𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2 1 𝑣1 𝑥 𝑎2 + 𝑥2 = 1 𝑣2 (𝑑 − 𝑥) 𝑏2 + 𝑑 − 𝑥 2 Δ𝑆2 = 𝑣2 𝑡2 Δ𝑆1 = 𝑣1 𝑡1 สมการ (4.5) สมการ (4.6) สมการ (4.7)
  • 18. 4. การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat B 𝜃2𝑛2 A 𝑛1 จากความสัมพันธ์ 𝑛1 = 𝑐0 𝑣1 และ 𝑛2 = 𝑐0 𝑣2 เมื่อ 𝑐0 ความเร็วของคลื่นแสงในสูญญากาศ y x 𝜃1𝑎 𝑏 𝑑 𝑥 𝑑 − 𝑥 𝑐0 𝑣1 sin 𝜃1 = 𝑐0 𝑣2 sin 𝜃2 𝑛1 sin 𝜃1 = 𝑛2 sin 𝜃2 ดังนั้นจะได้ กฎการหักเหแสง Snell’s คือ Δ𝑆2 = 𝑣2 𝑡2 Δ𝑆1 = 𝑣1 𝑡1 1 𝑣1 sin 𝜃1 = 1 𝑣2 sin 𝜃2จาก (4.7) จะได้ว่า สมการ (4.8) สมการ (4.9)
  • 19. 5. การเคลื่อนที่ของวัตถุ ตามแนวคิดของ Hamilton ในการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆนั้น Hamilton ตีพิมพ์ผลงาน 2 ฉบับในปี 1834 และ 1835 ซึ่งต่อมาภายหลังเป็นพื้นฐานของทฤษฏีในทางกลศาสตร์อีกหลายสาขา โดยมีใจความว่า การที่วัตถุจะเคลื่อนที่จากจุด A ไปยังจุด B นั้น มันจะเลือกเส้นทางที่ 𝑡1 𝑡2 𝐿 𝑥𝑖, 𝑥𝑖 𝑑𝑡 มีค่าน้อยที่สุด ซึ่งจะได้ขยายความดังต่อไปนี้ A ยกตัวอย่าง 𝑇 = 1 2 𝑚𝑣2 𝑈 = 𝑚𝑔𝑦 1) เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ก็ย่อมจะมีพิกัด 𝑥𝑖 และ ความเร็ว 𝑥𝑖 ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา 2) ในขณะที่เคลื่อนไหววัตถุมีพลังงานจลย์ ซึ่งขึ้นอยู่กับ ความเร็ว 𝑇 = 𝑇 𝑥𝑖 3) ถ้าวัตถุอยู่ท่ามกลางสนาม เช่น สนามโน้มถ่วงของ โลก สนามไฟฟ้า มันก็ย่อมมีพลังงานศักย์ 𝑈 = 𝑈 𝑥𝑖 4) ให้คานิยามของผลต่างระหว่างพลังงานจลย์และ พลังงานศักย์เป็น 𝐿 = 𝑇 𝑥𝑖 − 𝑈 𝑥𝑖 B 5) ถึงแม้ว่าการเคลื่อนที่จาก A ณ เวลา t1 ไปยัง B ณ เวลา t2 จะเป็นไปได้หลายเส้นทาง เส้นทาง ที่จริงนั้นจะมีค่า 𝑡1 𝑡2 𝐿 𝑥𝑖, 𝑥𝑖 𝑑𝑡 น้อยที่สุดเสมอ
  • 20. 5. การเคลื่อนที่ของวัตถุ ตามแนวคิดของ Hamilton ตัวอย่าง การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามแรงโน้มถ่วง บนพื้นผิวโลก พลังงานจลย์ 𝑇 𝑥, 𝑦 = 1 2 𝑚 𝑥2 + 1 2 𝑚 𝑦2 พลังงานศักย์ 𝑈 𝑦 = 𝑚𝑔𝑦 𝑡 -4162 Js X-Axis A B Y-Axis 100 0 𝑇 𝑑𝑡 1 2 𝑚 𝑥2 + 1 2 𝑚 𝑦2 − 𝑚𝑔𝑦 𝑡 𝑥 𝑡 = 𝑡 𝑦 𝑡 = 50𝑡 − 1 2 𝑔𝑡2 5 Js 𝑥 𝑡 = 𝑡 𝑦 𝑡 = 0 1548 Js 𝑥 𝑡 = 𝑡 𝑦 𝑡 = 40 sin 2𝜋 𝑇 𝑡 -2995 Js 𝑥 𝑡 = 𝑡 𝑦 𝑡 = 30𝑡 30 𝑇 − 𝑡 𝑡 < 𝑇 2 𝑡 ≥ 𝑇 2 2 4 6 8 10
  • 21. 6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation สมมุติว่าเรามีค่าของ J ซึ่งอยู่ในรูปของ Integral J = 𝛼1 𝛼2 𝑑𝛼 𝑓 𝑞, 𝑞 โดยที่ 𝑓 𝑞, 𝑞 เป็นฟังชันส์ใดๆ 𝑞 ≡ 𝑞 𝛼 𝑞 ≡ 𝑑𝑞 𝑑𝛼 ถ้าเราต้องการจะหา 𝑓 𝑞, 𝑞 ที่ทาให้ J มีค่าต่าที่สุด จะทาอย่างไร? Euler ค้นพบวิธีเป็นครั้งแรกเมื่อปี 1774 โดยกล่าวว่า 𝑓 𝑞, 𝑞 ที่ทาให้ J มีค่าต่า ที่สุดนั้น เป็นคาตอบของ สมการ 𝜕𝑓 𝜕𝑞 − 𝑑 𝑑𝛼 𝜕𝑓 𝜕 𝑞 = 0 สมการ (6.1)
  • 22. 6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation ตัวอย่าง จงหาเส้นทางที่สั้นที่สุด ระหว่างจุดสองจุด โดยใช้สมการของ Euler y x A (x1,y1) y(x) 1) กาหนดให้ y(x) เป็นสมการของเส้นทางที่เชื่อม ระหว่าง จุด A และ จุด B 2) ดังนั้นระยะทางทั้งหมดในการเคลื่อนที่เท่ากับ จาก Pythagorean differential B (x2,y2) 𝑑𝑠 𝑑𝑥 𝑑𝑦 𝑑𝑠 = 𝑑𝑥2 + 𝑑𝑦2 𝑑𝑠 = 𝑑𝑥 1 + 𝑑𝑦2 ระยะทางการเคลื่อนทั้งหมดคือ 𝑆 = 𝑥1 𝑥2 𝑑𝑥 1 + 𝑑𝑦2 และกาหนด 𝑑𝑦 เป็น 𝑦 เมื่อเขียนใหม่จะได้สมการ คือ 𝑆 = 𝑥1 𝑥2 𝑑𝑥 1 + 𝑦2 สมการ (6.2) สมการ (6.3) สมการ (6.4)
  • 23. 6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation y x A (x1,y1) y(x) 3) เมื่อเปรียบเทียบกับสมการของ Euler จะได้ ว่า 4) เมื่อสร้างสมการของ Euler ได้ดังนี้ แทนค่าฟังก์ชัน 𝑓 𝑦, 𝑦 ในสมการ Euler B (x2,y2) 𝑑𝑠 𝑑𝑥 𝑑𝑦 J = 𝑥1 𝑥2 𝑓 𝑦, 𝑦 𝑑𝑥 จะได้ว่า 𝑓 𝑦, 𝑦 = 1 + 𝑦2 𝜕𝑓 𝑦, 𝑦 𝜕𝑦 − 𝑑 𝑑𝑥 𝜕𝑓 𝑦, 𝑦 𝜕 𝑦 = 0 𝜕 1 + 𝑦2 𝜕𝑦 − 𝑑 𝑑𝑥 𝜕 1 + 𝑦2 𝜕 𝑦 = 0 𝑑 𝑑𝑥 𝑦 1 + 𝑦2 = 0 เมื่อ 𝜕 1+ 𝑦2 𝜕𝑦 = 0 ดังนั้นจะได้ว่า สมการ (6.5) สมการ (6.6) สมการ (6.7)
  • 24. 6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation y x A (x1,y1) y(x) เมื่อพิจารณาสมการ (6.7) ที่ 𝑑 𝑑𝑥 𝑦 1+ 𝑦2 = 0 B (x2,y2) 𝑑𝑠 𝑑𝑥 𝑑𝑦 𝑦 = 𝑘 1 + 𝑦2 ดังนั้นจะได้สมการ คือ 𝑦 1+ 𝑦2 = 𝑘 ก็ต่อเมื่อ 𝑦 1+ 𝑦2 = ค่าคงที่ จัดรูปสมการใหม่ได้ว่า 𝑦2 = 𝑘2 1 + 𝑦2 𝑦2 = 𝑘2 + 𝑘2 𝑦2 𝑦2 − 𝑘2 𝑦2 = 𝑘2 𝑦2 1 − 𝑘2 = 𝑘2 𝑦2 = 𝑘2 1 − 𝑘2 เมื่อ 𝑦 = 𝑘2 1−𝑘2 ซึ่งเทียบเท่า 𝑦 = 𝑑𝑦 𝑑𝑥 สมการ (6.8) สมการ (6.9)
  • 25. 6. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation y x A (x1,y1) B (x2,y2) เมื่อ 𝑦 = 𝑑𝑦 𝑑𝑥 = ค่าคงที่ ดังนั้นแทน 𝑚 ค่าคงที่ ใดๆ𝑑𝑦 𝑑𝑥 = 𝑚 𝑑𝑦 = 𝑚𝑑𝑥 𝑦 = 𝑚 𝑑𝑥 จะได้สมการเส้นทางที่สั้นที่สุดระหว่างจุดสองจุด คือ 𝑦 𝑥 = 𝑚𝑥 + 𝑐 ซึ่งเป็นเส้นตรง เมื่อ 𝑚 คือ ค่าความชันของสมการเส้นตรง 𝑐 คือ ค่าคงที่ใดๆตามขอบเขตสมการ 𝑦 𝑥 = 𝑚𝑥 + 𝑐 สมการ (6.10) สมการ (6.11) สมการ (6.12)
  • 26. 7. คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation แบบมี เงื่อนไขในบางครั้ง การที่จะหาจุดสูงสุง หรือต่าสุดของฟังชันส์ ก็มีสมการของเงื่อนไข เข้ามาเกี่ยวข้อง ข้อจากัด : ความยาวรอบรูป 2 เมตร ฟังชันส์ที่ต้องการ Optimize : พื้นที่ ตัวอย่าง มีเชือกยาว 2 เมตร จะขดให้เป็นวงรูปทรงใด จึงจะได้พื้นที่สูงที่สุด 0 ) วาดรูปให้สวยงาม และ เลือกพิกัดที่ เหมาะสม (r,q) Polar Coordinate r=r(q) (x,y) Cartesian y=y(x) r q ในกรณีของรูปทรงข้างต้น 𝜃 ∈ 0,2𝜋
  • 27. 2) สร้างสมการเงื่อนไข 2) กาหนดให้สมการเงื่อนไข (Constraint Equations) 1) กาหนดสิ่งที่ต้องการ Optimize Lagrange เผยแพร่วิธีการแก้เมื่อปี 1788 (44 ปีหลังจากสมการของ Euler ในข้างต้น)3) สร้างระบบของ Lagrange undetermined multiplier และแก้สมการ เรียกว่า Lagrange undetermined multiplier ซึ่งเป็นค่าคงที่ กรณีตัวอย่าง กรณีใดๆ ในภาษาแบบ Euler-Lagrange 𝐽 = 𝛼1 𝛼2 𝑓 𝑞, 𝑞 𝑑𝛼𝐴 = 0 2𝜋 1 2 𝑟 𝜃 2 𝑑𝜃𝑑𝐴 = 1 2 𝑟 𝜃 2 𝑑𝜃 𝑑𝑆 = 𝑟 𝜃 𝑑𝜃 𝑆 = 0 2𝜋 𝑟 𝜃 𝑑𝜃 = 𝐿 0 = 0 2𝜋 𝑟 𝜃 𝑑𝜃 − 𝐿 0 = 𝑔 𝑞 𝑔 𝑞 → 0 2𝜋 𝑟 𝜃 𝑑𝜃 − 𝐿 𝑞 → 𝑟 𝛼 → 𝜃 𝑓 → 1 2 𝑟2 𝑞 → 𝑟 ≡ 𝑑𝑟 𝑑𝜃 λ 𝜕𝑓 𝜕𝑞 − 𝑑 𝑑𝛼 𝜕𝑓 𝜕 𝑞 + 𝜆 𝜕𝑔 𝜕𝑞 = 0 สมการ (7.1) สมการ (7.2) สมการ (7.3)
  • 28. 4) ตระเตรียมความพร้อมของเทอมต่างๆ 5) จากนั้นอ้างถึงสมการของ Lagrange Undetermined Multiplier Equation แล้วสร้างสมการของระบบที่กาลังศึกษาอยู่ 6) ลุย! (โดยใช้ทักษะทาง คณิตศาสตร์) 𝑔 𝑟 = 0 𝜕𝑓 𝜕𝑟 − 𝑑 𝑑𝜃 𝜕𝑓 𝜕 𝑟 + 𝜆 𝜕𝑔 𝜕𝑟 = 0 𝜕𝑓 𝜕𝑟 = 𝜕 𝜕𝑟 1 2 𝑟2 = 𝑟 𝜕𝑓 𝜕 𝑟 = 𝜕 𝜕 𝑟 1 2 𝑟2 = 0 𝜕𝑔 𝜕𝑟 = 𝜕 𝜕𝑟 0 2𝜋 𝑟𝑑𝜃 − 𝐿 = 𝜕 𝜕𝑟 0 2𝜋 𝑟𝑑𝜃 − 𝜕 𝜕𝑟 𝐿 = 0 2𝜋 𝜕 𝜕𝑟 𝑟 𝑟𝑑𝜃 = 0 2𝜋 𝑑𝜃 𝜕𝑔 𝜕𝑟 = 2𝜋 𝑟 − 𝑑 𝑑𝜃 0 + λ2𝜋 = 0 0 2𝜋 𝑟𝑑𝜃 − 𝐿 = 0 สมการ (7.4) สมการ (7.5) สมการ (7.6) สมการ (7.7) สมการ (7.8) สมการ (7.9)
  • 29. จากสมการ Euler-Lagrange ลดรูปให้ง่ายขึ้น สมการ (7.10) สมการ (7.11) แทนค่าของ 𝑟 ในสมการ (7.10) เข้าไปในสมการ (7.11) แทนค่าของ λ คือเข้าไปในสมการ (7.10) 𝑟 − 𝑑 𝑑𝜃 0 + λ2𝜋 = 0 0 2𝜋 𝑟𝑑𝜃 − 𝐿 = 0 𝑟 = −λ2𝜋 0 2𝜋 𝑟𝑑𝜃 = 𝐿 0 2𝜋 −λ2𝜋 𝑑𝜃 = 𝐿 −λ2𝜋 0 2𝜋 𝑑𝜃 = 𝐿 𝑟 = − − 𝐿 4𝜋2 2𝜋 ซึ่งเป็นสมการของวงกลม ที่มีรัศมีเท่ากับ 𝐿 2𝜋 จึงจะเป็นรูปที่มีพื้นที่มากที่สุด 𝜆 = − 𝐿 4𝜋2 𝑟 𝜃 = 𝐿 2𝜋 สมการ (7.14) สมการ (7.12) สมการ (7.13)
  • 30. 8. โมเดลปัญหาแบบ “Catenary” Catenary มีรากศัพท์มาจากคาภาษาลาตินว่า “Catena” ซึ่งแปลว่า โซ่ มีที่มาจากการศึกษา ลักษณะความโค้งของโซ่ ที่ปลายทั้งสองข้างขึงอยู่ในระดับเดียวกัน ปี1638 - Galileo “claims (ขี้เดา)” ว่าโซ่จะห้อยเป็นรูป Parabola ปี1669 - Joachim Jungius พิสูจน์ให้เห็นจริงว่าไม่ใช่ Parabola แต่ทว่ารูปทรงจริงจะเป็นอย่างไร นั้น ไม่ทราบ “แล้วรู้ได้ไงว่าไม่ Parabola” ปี1671 - Robert Hook ประกาศอย่างเป็นทางการว่าต่อราชวงศ์อังกฤษว่า สามารถออกแบบ รูปทรงของโดม ที่มีความแข็งแรงที่สุด แต่ไม่บอกวิธีการทา (ปล่อยให้งง…) ปี 1697 - Jacob Bernoulli ” ถ้าลูกศิษย์ตัวเองให้แก้โจทย์ข้อนี้ “ - Leibneiz, Huygens และ Johann Bernoulli แก้สมการรูปทรงของโซ่ได้สาเหร็จ
  • 31. 3 ) Euler-Lagrange สาหรับการแก้ปัญหา Isoperimetric กรณีที่ไม่มี 𝑥 ในสมการ 𝑈∗ 1 ) กาหนดสิ่งที่ต้องการของ Euler- Lagrange x y (+a,0)(-a,0) y(x) คืออะไร? 𝑈∗ = 𝑈 + 𝜆𝑔 𝑈∗ = −𝑎 +𝑎 𝜌𝑔𝑦 1 + 𝑦 2 + 𝜆 1 + 𝑦 2 𝑑𝑥 ตัวอย่าง : Catenary 𝑈∗ = −𝑎 +𝑎 𝐹 𝑦, 𝑥, 𝑦 𝑑𝑥 2 ) เขียนตามแบบ Euler-Lagrange 𝜕𝐹 𝜕𝑦 − 𝑑 𝑑𝑥 𝜕𝐹 𝜕 𝑦 = 0 𝐹 − 𝑦 𝜕𝐹 𝜕 𝑦 = 𝐷 𝐷 คือ เป็นค่าคงที่ ใดๆ   สมการ (8.2) สมการ (8.2) สมการ (8.1) สมการ (8.3) สมการ (8.4)
  • 32. 4) ตระเตรียมความพร้อมของเทอมต่างๆ 5) ลุย!! อีกแล้วครับ…(โดยใช้ทักษะทาง คณิตศาสตร์) 𝐹 = 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 1 + 𝑦 2 𝑦 𝜕𝐹 𝜕 𝑦 = 𝑦 𝜕 𝜕 𝑦 𝑦 + 𝜆 𝜌𝑔 𝜌𝑔 1 − 𝑦 2 𝐹 − 𝑦 𝜕𝐹 𝜕 𝑦 = 𝐷 แทนค่าในสมการ Euler-Lagrange สาหรับ การแก้ปัญหาแบบ Isoperimetric 𝐹 = 𝜌𝑔 𝑦 + 𝜆 𝜌𝑔 1 + 𝑦 2 𝑦 𝜕𝐹 𝜕 𝑦 = 𝑦 𝑦 + 𝜆 𝜌𝑔 𝜌𝑔 𝑦 1 + 𝑦 2 𝑦 + 𝜆 𝜌𝑔 𝜌𝑔 1 + 𝑦 2 − 𝑦 𝑦 + 𝜆 𝜌𝑔 𝜌𝑔 𝑦 1 + 𝑦 2 = D 𝜌𝑔 𝑦 + 𝜆 𝜌𝑔 1 + 𝑦 2 − 𝑦 2 1 + 𝑦 2 = D 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 1 1 + 𝑦 2 = D สมการ (8.5) สมการ (8.6) สมการ (8.7) สมการ (8.9) สมการ (8.11) สมการ (8.10)
  • 33. 6 ) แก้สมการในรูปของ 𝑦 จากสมการ 1 𝑦 = 1 𝐷2 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 2 − 1 เมื่อความสัมพันธ์ของ 𝑦 = 𝑑𝑦 𝑑𝑥 ดังนั้น 𝑥 = 𝐷 𝑑𝑦 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 2 − 1 𝑥 = 𝐷 𝜌𝑔 𝑙𝑛 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 + 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 2 − 1 + 𝐶 𝑥 = 𝐷 𝜌𝑔 cosh−1 𝜌𝑔𝑦 + 𝜆 + 𝐶 หรือในแบบของ cosh−1 𝜃 y(x) = 1 𝜌𝑔 cosh 𝜌𝑔 𝑥 − 𝐶 𝐷 − 𝜆 𝜌𝑔 สมการ (8.12) สมการ (8.13) จัดให้อยู่ในรูปของ y(x) สมการ (8.15) สมการ (8.14)
  • 34. ลักษณะความโค้งแบบ Catenary เป็นความโค้งของโดมที่ให้ความ “แข็งแรงสูง ที่สุด” The Gateway ณ เมือง St.Louis, USA สะพาน Golden Gate Bridge แบบ Catenary Why isn't Parabola?
  • 35. 9. สมการการเคลื่อนที่ของ Lagrange ตามหลักการของ Hamilton วัตถุจะเคลื่อนที่ตามเส้นทางที่ทาให้ 𝑡1 𝑡2 𝐿 𝑞𝑖, 𝑞𝑖 𝑑𝑡 มีค่าน้อย ที่สุด โดยที่ 𝐿 𝑞𝑖, 𝑞𝑖 ก็คือผลต่างของพลังงานศักย์และพลังงานจลย์ หรือ 𝐿 𝑞𝑖, 𝑞𝑖 ≡ 𝑇 𝑞𝑖 − 𝑈 𝑞𝑖 คาถามก็คือว่า แล้วเส้นทางที่ว่านี้ จะหาได้อย่างไร? คาตอบคือ เราสามารถใช้หลักการของ Euler มาแก้หาจุดต่าสุดได้ดังต่อไปนี้ ซึ่ง g 𝑞𝑖 คือ สมการข้อจากัด (equations of constraint) ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่า พิกัดต่างๆ ที่เขียนให้อยุ่ในรูปมาตรฐาน g 𝑞𝑖 = 0 สมการนี้เรียกว่า Lagrange Equation 𝜕𝐿 𝜕𝑞𝑖 − 𝑑 𝑑𝑡 𝜕𝐿 𝜕 𝑞𝑖 + 𝜆 𝜕𝑔 𝜕𝑞𝑖 = 0
  • 36. ตัวอย่าง พิจารณาระบบที่มีพิกัดแบบทรงกระบอก ถ้าเรางอลวดเป็นทรงพาราโบล่า ที่มีสมการ 𝑧 = 𝑐𝑟2 จากนั้นนาลูกปัดมวล 𝑚 ไปเสียบไว้ที่ข้างไดข้างหนึ่ง เส้นลวดจะต้องหมุนด้วย ความเร็วเชิงมุม 𝜔 เท่าได้ ลูดปัดจึงจะไม่หล่นลงพื้น แต่อยู่นิ่งกับที่? วิธีทา พิจารณาพลังงานของระบบทั้งหมด และ พร้อมพิจารณาเงื่อนไขการเคลื่อนที่ 𝑇 = 1 2 𝑚 𝑟2 + 𝑟 𝜃2 + 𝑧2 𝑈 = 𝑚𝑔𝑧 𝑧 = 𝑐𝑟2 ตามแบบ Lagrange ได้ดังนี้ 𝐿 = 𝑇 − 𝑈 𝑧 = 2𝑐 𝑟𝑟 𝜃 = 𝜔𝑡 𝜃 = 𝜔 𝐿 = 𝑚 2 𝑟2 + 𝑟2 𝜔2 + 4𝑐2 𝑟2 𝑟2 − 𝑚𝑔𝑐𝑟2 สมการ (9.5) สมการ (9.4) สมการ (9.3) สมการ (9.2) สมการ (9.1) สมการ (9.6) 𝑧 = 𝑐𝑟2 𝜔 𝜃 𝑟 𝑧 𝑅 𝑥 𝑧 𝑦
  • 37. จะได้สมการพลังงานของ Lagrange 𝜕𝐿 𝜕𝑟 = 𝑚 4𝑐2 𝑟 𝑟2 + 𝑟𝜔2 − 2𝑔𝑐𝑟 แท่นค่าลงในสมการ Lagrange 𝐿 = 𝑚 2 𝑟2 + 𝑟2 𝜔2 + 4𝑐2 𝑟2 𝑟2 − 𝑚𝑔𝑐𝑟2 𝑑 𝑑𝑡 𝜕𝐿 𝜕 𝑟 = 𝑚 2 2 𝑟 + 16𝑐2 𝑟 𝑟2 + 8𝑐2 𝑟2 𝑟 𝜕𝐿 𝜕 𝑟 = 𝑚 2 2 𝑟 + 8𝑐2 𝑟2 𝑟 𝜕𝐿 𝜕𝑟 − 𝑑 𝑑𝑡 𝜕𝐿 𝜕 𝑟 = 0 สมการ (9.6) สมการ (9.7) สมการ (9.8) สมการ (9.9) สมการ (9.10) 𝑧 = 𝑐𝑟2 𝜔 𝜃 𝑟 𝑧 𝑅 𝑥 𝑧 𝑦
  • 38. จะได้สมการ สมการการเคลื่อนที่ในรูปทั่ว คือ เมื่อพิจารณาที่ลูกปัดลอยนิ่งและไม่ตก จะเห็น ได้ว่า 𝑟 = R = ค่าคงที่ ดังนั้น 𝑟 = 𝑟 = 0 จาก สมการข้างต้นทาให้เราสามารถหาค่า 𝜔 ที่จะ ลูกปัดลอยนิ่งและไม่ตก คือ 𝑟 1 − 4𝑐2 𝑟2 + 𝑟2 4𝑐2 𝑟 + 𝑟 2𝑔𝑐 − 𝜔2 = 0 𝑅 2𝑔𝑐 − 𝜔2 = 0 𝜔 = 2𝑔𝑐 สมการ (9.11) สมการ (9.11) 𝑧 = 𝑐𝑟2 𝜔 𝜃 𝑟 𝑧 𝑅 𝑥 𝑧 𝑦 จะได้ค่า 𝜔 ที่น้อยที่สุดลูกปัดลอยนิ่งได้ คือ 2𝑔𝑐
  • 39. 10. ความหมายของ 𝜆 𝜕𝑔 𝜕𝑞 𝑖 จากสมการของ Lagrange ในระบบแบบมีข้อจากัด Force of Constrain แปลว่าแรง ที่มีผลทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามข้อจากัดนั้นๆ ตัวอย่าง การเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวราบ กาหนดให้ตัวแปรอิสระเป็น 𝑥, 𝑦 จะได้ว่า 𝜆 𝜕𝑔 𝜕𝑞 𝑖 = 𝑚𝑔 𝜕𝐿 𝜕𝑞𝑖 − 𝑑 𝑑𝑡 𝜕𝐿 𝜕 𝑞𝑖 + 𝜆 𝜕𝑔 𝜕𝑞𝑖 = 0 𝑚 เราสามารถที่จะตีความได้ว่า 𝝀 𝝏𝒈 𝝏𝒒 𝒊 ก็คือ Force of Constrain นั่นเอง
  • 40. ตัวอย่าง วัตถุที่เคลื่อนที่บนทรงกลม จงหามุม 𝜃0 ที่วัตถุเริ่มเคลื่อนที่ออกจากพื้นผิว สร้างสมการการ เคลื่อนที่ได้ดังนี้ 𝑔 𝑟, 𝜃 = 𝑟 − 𝑎 = 0𝑚 𝜃0 𝑟 = 𝑎 พิจารณาเงื่อนไขข้อจากัดวัตถุเคลื่อนที่มวล 𝑚 ในที่นี้ คือ พิจารณาพลังงานจลน์ และ พลังงานศักดิ์ 𝑇 = 𝑚 2 𝑟2 + 𝑟2 𝜃2 𝑈 = 𝑚𝑔𝑟 cos 𝜃 𝐿 = 𝑇 − 𝑈 𝐿 = 𝑚 2 𝑟2 + 𝑟2 𝜃2 − 𝑚𝑔𝑟 cos 𝜃 𝜕𝐿 𝜕𝑟 − 𝑑 𝑑𝑡 𝜕𝐿 𝜕 𝑟 + 𝜆 𝜕𝑔 𝜕𝑟 = 0 𝜕𝐿 𝜕𝜃 − 𝑑 𝑑𝑡 𝜕𝐿 𝜕 𝜃 + 𝜆 𝜕𝑔 𝜕𝜃 = 0 𝜕𝑔 𝜕𝑟 = 1 𝜕𝑔 𝜕𝜃 = 0 สมการ (10.1) สมการ (10.2) สมการ (10.3) สมการ (10.4) สมการ (10.5) สมการ (10.6) สมการ (10.7) สมการ (10.8) สมการ (10.9)
  • 41. 𝑚 𝜃0 𝑟 = 𝑎 เมื่อแทนค่า 𝐿 ลงในสมการการเคลื่อนที่ของ Lagrange ได้ดังนี้ 𝑚𝑟 𝜃2 − 𝑚𝑔 cos 𝜃 − 𝑚 𝑟 + 𝜆 = 0 𝑚𝑔𝑟 sin 𝜃 − 𝑚𝑟2 𝜃 − 2𝑚𝑟 𝑟 𝜃 = 0 เมื่อแทนค่า 𝑟 = 𝑎 ดังนั้น 𝑟 = 𝑟 = 0 𝑚𝑎 𝜃2 − 𝑚𝑔 cos 𝜃 + 𝜆 = 0 𝑚𝑔𝑎 sin 𝜃 − 𝑚𝑎2 𝜃 = 0 𝜃 = 𝑔 𝑎 sin 𝜃 จากสมการ (10.13) จะได้ว่า จาก Chain rule จะได้ 𝜃 = 𝑑 𝑑𝑡 𝑑𝜃 𝑑𝑡 = 𝑑 𝜃 𝑑𝑡 = 𝑑 𝜃 𝑑𝜃 𝑑𝜃 𝑑𝑡 = 𝜃 𝑑 𝜃 𝑑𝜃 สมการ (10.10) สมการ (10.11) สมการ (10.12) สมการ (10.13) สมการ (10.14) สมการ (10.15)
  • 42. 𝑚 𝜃0 𝑟 = 𝑎 จากเงื่อไขของการเคลื่อน 𝜃 = 0 ที่ t = 0 เมื่อ 𝜃 = 0 แทนค่า 𝜃 ในสมการของ 𝜆 ได้ดังนี้ 1 2 𝑚𝑎 − 𝑔 𝑎 cos 𝜃 + 𝑔 𝑎 − 𝑚𝑔 cos 𝜃 + 𝜆 = 0 𝜃 𝑑 𝜃 = 𝑔 𝑎 sin 𝜃 𝑑𝜃 จะได้ว่า 𝜆 = 𝑚𝑔 3 cos 𝜃 − 2 เมื่อแทนค่า 𝜃 = 𝜃 𝑑 𝜃 𝑑𝜃 กลับไปในสมการ (10.14) 𝜃 2 = − 𝑔 𝑎 cos 𝜃 + 𝑔 𝑎 จากเงื่อไขมวลจะหลุดจากผิวโครงเมื่อ 𝜆 = 0 ดังนั้นจะค่า 𝜃 ที่มากที่สุดที่ คือ 𝜆 = 0 = 𝑚𝑔 3 cos 𝜃 − 2 𝜃0 = cos−1 2 3 สมการ (10.16) สมการ (10.17) สมการ (10.18) สมการ (10.19) สมการ (10.20)
  • 43. ตัวอย่าง ที่นิยมกันในการแก้ปัญหาแบบ Lagrange ตัวอย่าง 10.1 𝜃 𝑅 𝑦 𝛼 𝑔 𝑦 𝑥 𝑚1 𝑚1 ตัวอย่าง 10.2 𝜃1 𝜃2 𝑔
  • 45. 1. Σ 𝐹 = 0 2. Σ 𝐹 = 𝑚 𝑥 3. 𝐹 = − 𝐹 Sir Isaac Newton 𝜕𝐿 𝜕𝑞𝑖 − 𝑑 𝑑𝑡 𝜕𝐿 𝜕 𝑞𝑖 + 𝜆 𝜕𝑔 𝜕𝑞𝑖 = 0 Joseph-Louis Lagrange สรุป : Newton’s Law และ Lagrange’s Equations แรง พลังงาน เวกเตอร์ สเกลาร์
  • 46. ณภัทรษกร สารพัฒน์ E-Mail : napatsakons@nu.ac.th Thank you for your attention.